วันพุธที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2561

นิพพาน ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

คำว่ำ นิพพาน สมเด็จพระมหำสมณเจ้ำฯ ทรงแสดงพระมติไว้ ๒ นัย ดังนี้
๑) นิพฺพาน แปลว่ำ ดับ มำจำก วา ธำตุ, มี นี เป็นบทหน้ำ, ยุ ปัจจัย, แปลง ยุ เป็น
อน, แปลง ว เป็น พ สำเร็จรูปเป็น นิพฺพาน
๒) นิพฺพาน แปลว่ำ หาของเสียบแทงมิได้ ออกจำก วาน ศัพท์ อันเป็นชื่อของ
ลูกศร มี นี เป็นบทหน้ำ ในควำมหมำยปฏิเสธ เข้ำรูปเป็นปัญจมีหรือฉัฏฐีพหุพพิหิสมำส
เทียบได้กับบทว่ำ “อพฺพุฬฺหสลฺโล : ผู้มีลูกศรอันถอนแล้ว” เป็นคุณบทของพระอรหันต์
นิพพาน มีความหมาย ๒ นัย
นัยที่ ๑ นิพพาน แปลว่ำ ธรรมหาเครื่องเสียบแทงมิได้ หมำยถึงภำวะที่จิต
ปรำศจำกตัณหำเครื่องเสียบแทง นิพพำนตำมควำมหมำยนี้ ตรงกับคำว่ำ สอุปาทิเสส-
นิพพาน คือภำวะที่จิตดับกิเลสตัณหำได้ แต่ยังมีเบญจขันธ์อยู่ หรือภำวะจิตของบุคคลที่สิ้น
กิเลสแล้วแต่ยังมีชีวิตอยู่
นัยที่ ๒ นิพพาน แปลว่ำ ความดับ หมำยถึงภำวะที่ดับกิเลส คือรำคะ โทสะ และ
โมหะได้อย่ำงเด็ดขำด หรือสภำพที่ดับกองทุกข์ในวัฏฏะทั้งมวลอันมี ชาติ ควำมเกิด ชรา
ควำมแก่ มรณะ ควำมตำยเป็นต้น ได้อย่ำงสิ้นเชิง นิพพำนตำมควำมหมำยนี้ ตรงกับคำว่ำ
อนุปาทิเสสนิพพาน คือภำวะที่ดับกิเลสไม่มีเบญจขันธ์เหลือ หรือภำวะที่สิ้นทั้งกิเลสทั้งชีวิต

ดุจประทีปสิ้นเชื้อดับไปฉะนั้น
พระพุทธพจน์ที่แสดงปฏิปทำแห่งนิพพำน มีนัยดังนี้
ภิกษุยินดีในความไม่ประมาทแล้ว หรือเห็นภัยในความประมาทโดยปกติ
ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อเสื่อมรอบ ย่อมปฏิบัติใกล้นิพพานเทียว.
อัปปมำทวรรค : ขุททกนิกำย ธรรมบท
ความไม่ประมาท ในที่นี้ คือกำรอยู่ไม่ปรำศจำกสติ เจริญสติปัฏฐำน ๔ อยู่เสมอ
ซึ่งเป็นหลักธรรมสำคัญที่ทำผู้ปฏิบัติให้บรรลุนิพพำนได้
ภิกษุหนักในพระศาสดา หนักในพระธรรม มีความเคารพกล้าใน
พระสงฆ์ มีความเพียร หนักในสมาธิ มีความเคารพกล้าในสิกขา หนัก
ในความไม่ประมาท และเคารพในปฏิสันถาร ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อ
เสื่อมรอบ ย่อมปฏิบัติใกล้นิพพานเทียว.
คำรวสูตร : อังคุตตรนิกำย สัตตกนิบำต
ความเคารพ ในที่นี้ คือควำมเอื้อเฟื้อตระหนักในพระรัตนตรัย ในกำรบำเพ็ญสมำธิ

ในกำรปฏิบัติตำมหลักไตรสิกขำ ในควำมไม่ประมำทต่อกำรเจริญสติปัฏฐำน ๔ และในธรรม
ปฏิสันถำร เมื่อผู้ใดมีควำมเคำรพดังกล่ำวมำนี้ ชื่อว่ำปฏิบัติตนเพื่อควำมเจริญ มุ่งตรงต่อกำร
บรรลุนิพพำนอย่ำงแน่แท้
ฌานและปัญญามีในผู้ใด ผู้นั้นปฏิบัติใกล้นิพพาน.
ภิกขุวรรค : ขุททกนิกำย ธรรมบท
ฌานและปัญญา ในที่นี้ คือ ฌาน ได้แก่จิตที่เป็นสมำธิแน่วแน่ สงบจำกนิวรณธรรม
ในภำคปฏิบัติ ได้แก่ การเจริญสมถกัมมัฏฐาน ส่วนปัญญา ได้แก่จิตที่รู้เท่ำทันควำมเป็นไป
ของสรรพสิ่งตำมเป็นจริง ในภำคปฏิบัติ ได้แก่ การเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน
ภิกษุ เธอจงวิดเรือนี้ เรืออันเธอวิดแล้ว จักพลันถึง
เธอตัดราคะและโทสะแล้ว แต่นั้นจักถึงนิพพาน.
ภิกขุวรรค : ขุททกนิกำย ธรรมบท
คำว่ำ เรือ หมำยถึง อัตภาพร่างกายของคนเรำ อันลอยอยู่ในแม่น้ำคือสังสำรวัฏ
เรืออันเธอวิดแล้ว หมำยถึงกำรบรรเทำกิเลสและบำปธรรมให้เบำบำงลงจนตัดได้เด็ดขำด
เมื่อตัดกิเลสและบำปธรรมได้แล้ว เรือคืออัตภำพนี้ก็จักแล่นไปถึงท่ำคือพระนิพพำนได้

ในที่สุด

วันจันทร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2561

สันติ ความสงบ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

สันติ ความสงบ หมำยถึงควำมสงบกำย วำจำ และใจ ในที่นี้ จำแนกเป็น ๒ คือ
ความสงบภายนอก ได้แก่ สงบกาย วาจา และ ความสงบภายใน ได้แก่ สงบใจ
ในอุทเทสที่ ๑ พระพุทธองค์ทรงสอนให้พอกพูนทางแห่งสันติ อันเป็นไปทำง
ไตรทวาร คือ กายทวาร วจีทวาร มโนทวาร ที่เป็นไปโดยสุจริต คือเว้นจำกพฤติกรรม
ที่เบียดเบียนตนและผู้อื่นให้เดือดร้อน โดยกำรไม่ประทุษร้ำย กำรไม่กล่ำวร้ำย และกำรไม่
คิดร้ำย เป็นต้น ดังที่ตรัสไว้ในสหัสสวรรค ขุททกนิกำย ธรรมบท ว่ำ “ผู้หลุดพ้นแล้วเพราะ
รู้ชอบ ผู้สงบระงับแล้ว ผู้คงที่นั้น มีใจสงบแล้ว วาจาและการกระทาก็สงบแล้ว”
จิตที่ประกอบด้วยมโนสุจริต ๓ คือ ไม่คิดโลภอยำกได้ ไม่คิดพยำบำทปองร้ำย
มีควำมเห็นชอบตำมคลองธรรม จัดเป็นความสงบภายใน กำรประกอบด้วยกำยสุจริต ๓
วจีสุจริต ๔ จัดเป็นความสงบภายนอก
คำว่ำ พูน ในอุทเทสที่ ๑ หมำยถึงทาให้มากขึ้น ทาให้เจริญขึ้น ในที่นี้มุ่งถึงพูนทำง
ที่ทำให้ถึงควำมดับทุกข์ อันเป็นทำงแห่งสันติที่แท้จริง ได้แก่ อริยมรรคมีองค์ ๘
คำว่ำ ความสงบ ในอุทเทสที่ ๒ ได้แก่ พระนิพพาน มีอธิบำยว่ำ ควำมสุขอย่ำงอื่น
แม้จะเป็นควำมสุขเหมือนกัน แต่ก็ไม่ใช่ควำมสุขที่แท้จริง ส่วนควำมสุขที่เกิดจำกกำรละกิเลส
ได้เด็ดขำด จัดเป็นควำมสุขที่แท้จริง
คำว่ำ อามิส ในอุทเทสที่ ๓ หมำยถึงเครื่องล่อใจให้ติดอยู่ในโลก ดุจเหยื่อที่เบ็ดเกี่ยว
ไว้สำหรับล่อปลำ ได้แก่ กามคุณ ๕ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่น่ำปรำรถนำ น่ำรักใคร่
น่ำพอใจกำรทำจิตมิให้ติดอยู่ในกำมคุณ ๕ จัดเป็นปฏิปทำของผู้รู้ ผู้สงบดีแล้ว ดังที่ตรัสไว้
ในชรำสูตร ขุททกนิกำย สุตตนิบำต ว่ำ “หยาดแห่งน้าย่อมไม่ติดในใบบัว แม้ฉันใด วารี
ย่อมไม่กาซาบในดอกปทุม ฉันใด มุนีย่อมไม่เข้าไปติดในอารมณ์อันเห็นแล้วก็ดี อันฟัง
แล้วก็ดี อันทราบแล้วก็ดี ฉันนั้น” ดังนั้น ผู้มุ่งสันติอันเป็นสุขอย่ำงแท้จริง พึงละโลกำมิสเสีย

วิสุทธิ ความหมดจด ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

วิสุทธิ ความหมดจด หมำยถึงควำมบริสุทธิ์ คือกำรชำระจิตของตนให้หมดจด
บริสุทธิ์ผ่องแผ้วจำกกิเลสำสวะทั้งปวง ควำมหมดจดนี้ย่อมเกิดได้ด้วยปัญญำ
หลักความหมดจดในลัทธิศาสนาอื่น : ลัทธิศำสนำพรำหมณ์ถือว่ำ ควำมหมดจด
จะมีได้ด้วยกำรชำระบำป โดยทำพิธีลอยบำปทิ้งเสียในแม่น้ำคงคำ (หรือเรียกว่ำอำบน้ำชำระ
บำปได้) ลัทธิศำสนำอื่นๆ เช่นคริสต์ศำสนำ ถือว่ำ ควำมหมดจดจะมีได้ด้วยกำรสวดมนต์
อ้อนวอนพระผู้เป็นเจ้ำเพื่อทรงยกโทษให้
หลักความหมดจดในพระพุทธศาสนา : พระพุทธศำสนำถือว่ำ ควำมหมดจดจะมี
ได้ด้วยปัญญำเท่ำนั้น จะมีด้วยเหตุอื่นหำได้ไม่ นั่นหมำยควำมว่ำ บุญบำปจะมีได้เพรำะ
ตนเองเป็นผู้ทำ ไม่มีใครมำช่วยทำให้บริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์ได้ ดังพระบำลีในขุททกนิกำย
ธรรมบท ว่ำ
“ทาบาปเอง ย่อมเศร้าหมองเอง ไม่ทาบาปเอง ย่อมหมดจดเอง ความหมดจด
และความเศร้าหมอง เป็นของเฉพาะตน คนอื่นยังคนอื่นให้หมดจดหาได้ไม่”
ความบริสุทธิ์ภายในย่อมมีด้วยปัญญา กล่ำวคือ ควำมหมดจดจำกกิเลสำสวะอัน
นอนเนื่องอยู่ภำยในขันธสันดำน จะต้องอำศัยปัญญาพิจารณาตามความเป็นจริง เรียกว่ำ
วิปัสสนาญาณ ๙ ซึ่งจัดเป็นขั้นๆ สูงขึ้นไปตำมลำดับ ๙ ขั้น ดังนี้
๑) อุทยัพพยญาณ หรือ อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ญาณหยั่งเห็นความเกิดและ
ความดับ คือปัญญำพิจำรณำควำมเกิดขึ้นและควำมดับไปแห่งสังขำรหรือเบญจขันธ์ จนเห็น
ประจักษ์ชัดว่ำสังขำรทั้งหลำยทั้งปวงเกิดขึ้นแล้วก็ต้องดับไป
๒) ภังคญาณ หรือ ภังคานุปัสสนาญาณ ญาณหยั่งเห็นความเสื่อมสลาย คือปัญญำ
พิจำรณำเห็นว่ำ สังขำรทั้งหลำยทั้งปวงมีกำรแตกสลำยย่อยยับไป
๓) อาทีนวญาณ หรือ อาทีนวานุปัสสนาญาณ ญาณหยั่งเห็นโทษ คือปัญญำ
พิจำรณำเห็นสังขำรทั้งหลำยทั้งปวงว่ำเป็นโทษ มีควำมบกพร่อง เจือปนด้วยทุกข์
๔) ภยตูปัฏฐานญาณ ญาณหยั่งเห็นสังขารปรากฏโดยเป็นของน่ากลัว คือปัญญำ
พิจำรณำเห็นสังขำรทั้งหลำยทั้งปวง ทั้งที่เป็นไปในอดีต ปัจจุบัน และอนำคต ล้วนปรำกฏ
เป็นของน่ำสะพรึงกลัว
๕) นิพพิทาญาณ หรือ นิพพิทานุปัสสนาญาณ ญาณหยั่งเห็นความหน่าย คือ
ปัญญำพิจำรณำเห็นสังขำรว่ำเป็นโทษน่ำกลัวเช่นนั้นแล้ว จึงเกิดควำมหน่ำยในสังขำร
๖) มุญจิตุกัมยตาญาณ ญาณหยั่งเห็นด้วยใคร่จะพ้นไปเสีย คือปัญญำพิจำรณำจน
เกิดควำมหน่ำยสังขำรทั้งหลำยแล้วเกิดควำมปรำรถนำที่จะพ้นไปเสียจำกสังขำรเหล่ำนั้น
๗) ปฏิสังขาญาณ ญาณพิจารณาหาทาง คือปัญญำพิจำรณำสังขำรทั้งหลำย โดย
ยกขึ้นสู่ไตรลักษณ์ เพื่อหำอุบำยที่จะปลดเปลื้องจิตออกไปจำกควำมหน่ำยนั้น
๘) สังขารุเปกขาญาณ ญาณวางเฉยในสังขาร คือปัญญำพิจำรณำรู้เห็นสังขำรตำม
ควำมเป็นจริงว่ำ มีควำมเป็นอยู่ เป็นไปอย่ำงนั้นเป็นธรรมดำ จึงวำงจิตเป็นกลำงในสังขำร
ทั้งหลำย จำกนั้นจึงละควำมเกี่ยวเกำะในสังขำรเสียได้
๙) สัจจานุโลมิกญาณ หรือ อนุโลมญาณ ญาณอันเป็นไปโดยอนุโลมแก่การหยั่งรู้
อริยสัจ คือเมื่อเกิดสังขำรุเปกขำญำณ จิตก็เป็นกลำงต่อสังขำรทั้งหลำย และญำณนั้นมุ่งตรง
ต่อนิพพำน จึงเกิดปัญญำที่สูงขึ้นอีกขั้นหนึ่ง เป็นขั้นสุดท้ำยของวิปัสสนำญำณ คือญำณอัน

คล้อยต่อกำรตรัสรู้อริยสัจ ย่อมเกิดขึ้นเป็นลำดับถัดมำ จำกนั้นก็จะเกิด โคตรภูญาณ ญาณ
วิสุทธิ ๗ คือทำงแห่งควำมหมดจดด้วยปัญญำที่อุดหนุนส่งเสริมกันให้สูงขึ้น
ไปเป็นขั้นๆ ไปตำมลำดับ ๗ ขั้น ดังนี้
๑) สีลวิสุทธิ ความหมดจดแห่งศีล หมำยถึงกำรรักษำศีลตำมภูมิชั้นของตนให้
บริสุทธิ์ และให้เป็นไปเพื่อสมำธิ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สงเคราะห์
เข้าในข้อนี้
๒) จิตตวิสุทธิ ความหมดจดแห่งจิต หมำยถึงควำมหมดจดแห่งจิตที่เกิดจำกกำร
บำเพ็ญสมำธิจิตจนได้บรรลุฌำนสมำบัติ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สงเคราะห์
เข้าในข้อนี้
๓) ทิฏฐิวิสุทธิ ความหมดจดแห่งทิฏฐิ หมำยถึงควำมหมดจดแห่งควำมคิดเห็นที่เกิด

จำกควำมรู้ควำมเข้ำใจ สำมำรถมองเห็นนำมรูปหรือเบญจขันธ์ตำมที่เป็นจริง
๔) กังขาวิตรณวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็นเหตุข้ามพ้นความสงสัย หมำยถึง
ควำมหมดจดแห่งปัญญำที่พิจำรณำเห็นควำมเป็นไปแห่งสังขำรอันเนื่องมำจำกเหตุปัจจัย
ปรุงแต่ง ดังพระพุทธพจน์ในพระไตรปิฎก ว่ำ “พืชอย่างใดอย่างหนึ่งที่บุคคลหว่านในนาย่อม
งอกขึ้นได้ เพราะอาศัยเหตุ ๒ อย่าง คือ รสในแผ่นดินและยางในพืช ฉันใด ขันธ์ ธาตุ และ
อายตนะ ๖ เหล่านี้ ก็เกิดขึ้นเพราะอาศัยเหตุปัจจัย ดับไปเพราะเหตุปัจจัยดับ ฉันนั้น” แล้ว
กำจัดควำมสงสัยทั้งปวงในนำมรูปเสียได้
๕) มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณที่รู้เห็นว่าเป็นทางหรือ
มิใช่ทาง หมำยถึงควำมหมดจดด้วยกำรเริ่มเจริญวิปัสสนำพิจำรณำสิ่งที่รวมกันอยู่เป็น
กลุ่มก้อน จนเห็นควำมเกิดขึ้นและควำมเสื่อมไปแห่งสังขำรทั้งหลำย แล้วเกิดวิปัสสนูปกิเลส
(สิ่งที่เป็นอุปสรรคขัดขวำงมิให้กำรเจริญวิปัสสนำรุดหน้ำไป) ๑๐ อย่ำง คือ โอภาส
แสงสว่ำง, ญาณ ควำมรู้, ปีติ ควำมอิ่มใจ, ปัสสัทธิ ควำมสงบ, สุข ควำมสบำย, อธิโมกข์
ควำมน้อมใจเชื่อ, ปัคคาหะ ควำมเพียรประคองจิต, อุปัฏฐาน ควำมปรำกฏชัดแห่งสติ,
อุเบกขำ ควำมวำงจิตเป็นกลำง และนิกันติ ควำมพอใจในวิปัสสนำ เมื่อวิปัสสนูปกิเลส
๑๐ อย่ำงนี้เกิดขึ้น ก็ใช้โยนิโสมนสิกำรกำหนดได้ว่ำมิใช่ทำง ส่วนวิปัสสนำที่เริ่มดำเนินเข้ำสู่
วิถีนั่นแหละเป็นทำงถูกต้อง แล้วเตรียมที่จะประคองจิตไว้ในวิปัสสนำญำณนั้นต่อไป
๖) ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณอันรู้เห็นทางดาเนิน หมำยถึง
ควำมหมดจดแห่งควำมรู้เห็นชัดในข้อปฏิบัติด้วยกำรประกอบควำมเพียรในวิปัสสนำญำณ ๙
ดังกล่ำว โดยเริ่มตั้งแต่ อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ที่พ้นจำกอุปกิเลสดำเนินเข้ำสู่วิถีทำงนั้น
เป็นต้นไปจนถึง สัจจานุโลมิกญาณ อันเป็นที่สุดแห่งวิปัสสนำ ต่อจำกนั้นก็จะเกิด โคตรภูญาณ
คั่นระหว่ำงวิสุทธิข้อนี้กับข้อสุดท้ำย เป็นรอยต่อแห่งควำมเป็นปุถุชนกับควำมเป็นอริยบุคคล
๗) ญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณทัสสนะ หมำยถึงควำมหมดจดที่เกิด
จำกควำมรู้เห็นด้วยปัญญำในอริยมรรค ๔ มีโสดำปัตติมรรคเป็นต้น อันเกิดถัดจำกโคตรภูญำณ
เป็นต้นไป เมื่อมรรคจิตเกิดขึ้นแล้ว ผลจิตย่อมเกิดขึ้น เป็นอันบรรลุจุดหมำยสูงสุด
ในพระพุทธศำสนำ
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สงเคราะห์เข้าในวิสุทธิทั้ง ๕ ข้อดังกล่าวมานี้ คือข้อ
๓ ถึง ข้อ ๗ โดยสัมมาสังกัปปะทำกิจพิจารณา สัมมาทิฏฐิทำกิจสันนิษฐาน คือความ

ตกลงใจ

วิมุตติ ความหลุดพ้น ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

วิมุตติ ๒ ตามนัยพระบาลี
๑) เจโตวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งใจ หมำยถึง ควำมหลุดพ้นจำก
กิเลสำสวะเครื่องร้อยรัดผูกพันทั้งปวงด้วยกำรฝึกจิต เป็นปฏิปทำข้อปฏิบัติของผู้บำเพ็ญเพียร
ที่เจริญสมถะและวิปัสสนำมำโดยลำดับจนสำเร็จเป็นพระอรหันต์
๒) ปัญญาวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งปัญญา หมำยถึง ควำมหลุดพ้น
ด้วยอำนำจปัญญำที่รู้เห็นตำมเป็นจริง หรือภำวะที่จิตใช้ปัญญำพิจำรณำอันเป็นเหตุให้
หลุดพ้นจำกเครื่องร้อยรัดผูกพันคือกิเลสและอวิชชำได้อย่ำงเบ็ดเสร็จเด็ดขำด เป็นปฏิปทำ
ข้อปฏิบัติของผู้บำเพ็ญเพียรที่มุ่งมั่นเจริญวิปัสสนำอย่ำงเดียวจนสำเร็จเป็นพระอรหันต์
วิมุตติทั้ง ๒ อย่ำงนี้เป็นเครื่องแสดงปฏิปทำที่ให้สำเร็จควำมหลุดพ้นของ
พระอรหันต์ ในพระบำลีจะมีคำว่ำ “อนาสวํ : อันหาอาสวะมิได้” กำกับเป็นคุณบทให้รู้ว่ำ
เป็นโลกุตตรธรรม เช่นพระบำลีว่ำ“อาสวานํ ขยา อนาสวํ เจโตวิมุตฺตึ ปญฺ าวิมุตฺตึ ... :
กระทาให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติอันหาอาสวะมิได้เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ”
ไว้เสมอ จึงเป็นเหตุให้วินิจฉัยว่ำ วิมุตติที่เป็นสำสวะคือมีอำสวะหรือเป็นโลกิยะก็มี
เมื่อกำหนดควำมในธัมมจักกัปปวัตตนสูตรที่ว่ำ “อกุปฺปา เม วิมุตฺติ : วิมุตติของเราไม่กาเริบ”
ก็เป็นเหตุให้วินิจฉัยว่ำ วิมุตติมีทั้งที่เป็น อกุปปธรรม ธรรมที่กาเริบไม่ได้ คือเป็นโลกุตตระ
และเป็น กุปปธรรม ธรรมที่กาเริบได้ คือเป็นโลกิยะ ด้วยเหตุนี้ ในคัมภีร์อรรถกถำ ท่ำนจึง
แบ่งวิมุตติเป็น ๕ อย่ำง
วิมุตติ ๕ ตามนัยอรรถกถา
๑) ตทังควิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยองค์นั้นๆ หมำยถึงภำวะที่จิตพ้นจำกกิเลสด้วย
อำศัยธรรมตรงกันข้ำมที่เป็นคู่ปรับกัน เช่น เกิดเมตตำ หำยโกรธ เกิดสังเวช หำยกำหนัด
เป็นต้น เป็นกำรหลุดพ้นชั่วครำวโดยระงับอกุศลเจตสิกได้เป็นครำวๆ จัดเป็นโลกิยวิมุตติ
๒) วิกขัมภนวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยข่มไว้ หมำยถึงควำมหลุดพ้นจำกกิเลสกำม
และอกุศลธรรมทั้งหลำยได้ด้วยกำลังฌาน อำจสะกดไว้ได้นำนกว่ำตทังควิมุตติ แต่เมื่อฌำน
เสื่อมแล้ว กิเลสอำจเกิดขึ้นอีก จัดเป็นโลกิยวิมุตติ
๓) สมุจเฉทวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยตัดขาด หมำยถึงควำมหลุดพ้นจำกกิเลสด้วย
อริยมรรค โดยที่กิเลสไม่สำมำรถเกิดขึ้นในจิตสันดำนได้อีก จัดเป็นโลกุตตรวิมุตติ
๔) ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยสงบราบ หมำยถึงควำมหลุดพ้นจำกกิเลส
ด้วยอริยผล จัดเป็นโลกุตตรวิมุตติ
๕) นิสสรณวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยสลัดออกได้ หมำยถึงภำวะที่จิตหลุดพ้นจำก
กิเลสเสร็จสิ้นแล้วดำรงอยู่ในภำวะที่หลุดพ้นจำกกิเลสนั้นตลอดไป ได้แก่ นิพพาน จัดเป็น
โลกุตตรวิมุตติ
กำรบัญญัติตทังควิมุตติ เป็นเกณฑ์กำหนดว่ำ วิมุตติที่เป็นของปุถุชนก็มี กำรบัญญัติ
วิกขัมภนวิมุตติ เป็นเกณฑ์กำหนดว่ำ เจโตวิมุตติที่เป็นสำสวะ คือมีอำสวะก็มี กำรบัญญัติ
สมุจเฉทวิมุตติและปฏิปัสสัทธิวิมุตติ เป็นเกณฑ์กำหนดว่ำ วิมุตติเป็นไ ด้ทั้งอริยมรรค
อริยผล กำรบัญญัตินิสสรณวิมุตติ เป็นเกณฑ์กำหนดว่ำ วิมุตติที่เป็นปรมัตถสัจจะนั้นได้แก่
พระนิพพำน หรือเป็นเกณฑ์กำหนดให้ครบโลกุตตรธรรม ๙ (มรรค ๔ ผล ๔ นิพพำน ๑)
สรุปความ
วิมุตติ หมำยถึงควำมที่จิตหลุดพ้นจำกอำสวะทั้งหลำย ในพระบำลีจำแนกเป็น ๒
คือ เจโตวิมุตติ และ ปัญญาวิมุตติ ส่วนในอรรถกถำจำแนกเป็น ๕ คือ ตทังควิมุตติ
วิกขัมภนวิมุตติ สมุจเฉทวิมุตติ ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ และนิสสรณวิมุตติ โดย ๒ ข้อแรก
จัดเป็นโลกิยะ ส่วน ๓ ข้อหลัง จัดเป็นโลกุตตระ
วิมุตติของพระอรหันต์ มีไตรสิกขำ คือ ศีล สมำธิ ปัญญำสมบูรณ์ ส่วนผู้แรกปฏิบัติ
ธรรม กำรหัดทำจิตให้ปลอดจำกกิเลสกำมและอกุศลวิตกอย่ำงอื่นได้ ก็นับว่ำได้รับประโยชน์
จำกกำรศึกษำเรื่องวิมุตติในเบื้องต้นนี้แล้ว

วิราคะ ความสิ้นกำหนัด ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

วิราคะ ความสิ้นกาหนัด หมำยถึงภำวะที่จิตปรำศจำกควำมกำหนัดยินดีในกำม
ควำมสำรอกจิตจำกกิเลสกำม หรือสภำวธรรมใดๆ ที่เป็นไปเพื่อควำมสิ้นกำหนัด หำยรัก
หำยอยำกในกำมสุขทั้งปวง
ไวพจน์แห่งวิราคะ ๘ อย่าง
ในอัคคัปปสำทสูตร อังคุตตรนิกำย จตุกกนิบำต พระพุทธองค์ทรงแสดงวิรำคะว่ำ
เป็นยอดแห่งธรรมทั้งปวง ทั้งที่เป็นสังขตธรรมและอสังขตธรรม แล้วทรงแจกไวพจน์แห่ง
วิราคะ คากาหนดใช้เรียกแทนวิราคะ เป็น ๘ อย่าง คือ
๑. มทนิมฺมทโน ธรรมยังควำมเมำให้สร่ำง
๒. ปิปาสวินโย ธรรมนำเสียซึ่งควำมระหำย
๓. อาลยสมุคฺฆาโต ควำมถอนขึ้นด้วยดีซึ่งอำลัย
๔. ควำมเข้ำไปตัดเสียซึ่งวัฏฏะ
๕. ตณฺหกฺขโย ควำมสิ้นตัณหำ
๖. วิราโค ควำมสิ้นกำหนัด
๗. นิโรโธ ควำมดับ
๘. นิพฺพานํ ธรรมชำติหำเครื่องเสียบแทงมิได้
       วิราคะ ที่มำในลำดับแห่งนิพพิทำ ตำมอุทเทสว่ำ “นิพฺพินฺทํ วิรชฺชติ : เมื่อเบื่อ
หน่าย ย่อมสิ้นกาหนัด” จัดเป็นอริยมรรค คือญำณอันให้สำเร็จควำมเป็นพระอริยะ
มี ๔ อย่ำง คือ โสดำปัตติมรรค สกทำคำมิมรรค อนำคำมิมรรค และอรหัตตมรรค
วิรำคะในอุทเทสว่ำ วิราโค เสฏโฐ ธมฺมานํ : วิราคะ เป็นประเสริฐแห่งธรรมทั้งหลาย
เป็นไวพจน์ของนิพพำน ส่วนวิรำคะ ที่แปลว่ำ สิ้นกาหนัด ในอุทเทสแห่งวิมุตติที่ว่ำ วิราคา
วิมุจฺจติ : เพราะสิ้นกาหนัด ย่อมหลุดพ้น เป็นชื่อของอริยมรรค
วิราคะ เป็นได้ทั้งอริยมรรคและอริยผล คือ ถ้ำมำหรือปรำกฏในลำดับแห่งนิพพิทำ

หรือมำคู่กับวิมุตติ จัดเป็นอริยมรรค ถ้ำมำตำมลำพัง จัดเป็นอริยผล

วันอาทิตย์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2561

หมวด ๑๐ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท

บารมี ๑๐
๑. ทาน การให้ การเสียสละ
๒. สีล การรักษากาย วาจา ให้เรียบร้อย
๓. เนกขัมมะ การออกบวช การปลีกตนออกจากกาม
๔. ปัญญา ความรอบรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล เข้าใจสภาวธรรมทั้งหลาย
ตามความเป็นจริง
๕. วิริยะ ความเพียร ความแกล้วกล้า ไม่เกรงกลัวอุปสรรค
ก้าวหน้าเรื่อยไปไม่ทอดธุระ
๖. ขันติ ความอดทนอดกลั้น สามารถใช้สติปัญญาควบคุมตน
ให้อยู่ในอำนาจเหตุผล ไม่ลุอำนาจกิเลส
๗. สัจจะ ความสัตย์ความจริง มีความตั้งใจจริง คือ พูดจริง ทำจริง
และจริงใจ
๘. อธิษฐาน ความตั้งใจมั่น วางจุดมุ่งหมายไว้แน่นอน แล้วทำไปตามนั้น
อย่างแน่วแน่
๙. เมตตา ความรักใคร่ปรารถนาดี มีจิตเกื้อกูลต่อมนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย
ให้มีสุขทั่วหน้ากัน
๑๐. อุเบกขา ความวางใจเป็นกลาง ไม่เอนเอียงไปเพราะความรัก ความชัง
ความหลง และความกลัว มีความเที่ยงธรรม

บารมี แปลว่า คุณสมบัติ หรือปฏิปทาอันยวดยิ่ง หมำยถึง คุณธรรมที่ประพฤติ
ปฏิบัติอย่ำงยิ่งยวด หรือควำมดีที่บำเพ็ญอย่ำงพิเศษ เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมำยอันสูงสุด หรือปฏิปทำส่งให้บรรลุถึงฝั่ง คือ นิพพำน ควำมเป็นพระพุทธเจ้ำ ควำมเป็นพระมหำสำวก
เป็นต้น ต้องบำเพ็ญบำรมีมำทั้งนั้น พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำทุกพระองค์ ได้ทรงบำเพ็ญมำตั้งแต่
ครั้งยังเป็นพระโพธิสัตว์ เมื่อบำรมีเหล่ำนี้เต็มแล้วจึงได้ตรัสรู้
บุญกิริยาวัตถุ ๑๐
บุญกิริยาวัตถุ คือสิ่งเป็นที่ตั้งแห่งการบำเพ็ญบุญ มี ๑๐ อย่าง คือ
๑. ทานมัย บุญสำเร็จด้วยการบริจาคทาน
๒. สีลมัย บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล
๓. ภาวนามัย บุญสำเร็จด้วยการเจริญภาวนา
๔. อปจายนมัย บุญสำเร็จด้วยการประพฤติถ่อมตนแก่ผู้ใหญ่
๕. เวยยาวัจจมัย บุญสำเร็จด้วยการช่วยขวนขวายในกิจที่ชอบ

๖. ปัตติทานมัย บุญสำเร็จด้วยการให้ส่วนบุญ
๗. ปัตตานุโมทนามัย บุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนาส่วนบุญ
๘. ธัมมัสสวนมัย บุญสำเร็จด้วยการฟังธรรม
๙. ธัมมเทสนามัย บุญสำเร็จด้วยการแสดงธรรม

๑๐. ทิฏฐุชุกัมม์ การทำความเห็นให้ตรง
บุญ แปลว่ำ สิ่งที่ชำระจิตสันดำนให้หมดจด ได้แก่ ควำมดี, ควำมถูกต้อง, ควำม
สะอำด บุญกิริยาวัตถุ แปลว่ำ เหตุเป็นที่ตั้งแห่งกำรทำบุญ, หลักกำรทำควำมดี, หรือ
วิธีกำรทำควำมดี เมื่อทำแล้วจะได้รับผล คือควำมสุข โดยย่อมี ๓ อย่ำง คือ ทำนมัย สีลมัย

และภำวนำมัย แต่โดยพิสดำรมี ๑๐ อย่ำง

หมวด ๙ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท

พุทธคุณ ๙
อิติปิ โส ภควา แม้เพรำะเหตุนี้ๆ พระผู้มีพระภำคเจ้ำนั้น
๑. อรหํ เป็นพระอรหันต์
๒. สมฺมาสมฺพุทฺโธ เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
๓. วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชำและจรณะ
๔. สุคโต เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว
๕. โลกวิทู เป็นผู้รู้แจ้งโลก
๖. อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ เป็นสำรถีแห่งบุรุษพึงฝึกได้ ไม่มีบุรุษอื่น
ยิ่งไปกว่ำ
๗. สตฺถา เทวมนุสฺสานํ เป็นศำสดำ คือครู ของเทวดำและมนุษย์
ทั้งหลำย
๘. พุทฺโธ เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบำนแล้ว
๙. ภควา เป็นผู้มีโชค
พุทธคุณ แปลว่ำ คุณของพระพุทธเจ้ำ หมำยถึง พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำได้รับกำรยก
ย่องสรรเสริญจำก มนุษย์ เทวดำ มำร พรหม ด้วยพระคุณ ๙ ประกำร เรียกว่ำ นวำรหำทิคุณ
หรือนวหรคุณ แปลว่ำ คุณของพระพุทธเจ้ำ ๙ ประกำร มี อรห เป็นต้น แปลว่ำ คุณของ

พระพุทธเจ้ำผู้เป็นพระอรหันต์ ๙ ประกำร
สังฆคุณ ๙
ภควโต สาวกสงฺโฆ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
๑. สุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว
๒. อุชุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว
๓. ายปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติเป็นธรรม
๔. สามีจิปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติสมควร
ยทิทํ นี้คือใคร
จตฺตาริ ปุริสยุคานิ คู่แห่งบุรุษ ๔
อฏฐปุริสปุคฺคลา บุรุษบุคคล ๘
เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ นี่พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
๕. อาหุเนยฺโย เป็นผู้ควรของคำนับ
๖. ปาหุเนยฺโย เป็นผู้ควรของต้อนรับ
๗. ทกฺขิเณยฺโย เป็นผู้ควรของทำบุญ
๘. อญฺชลิกรณีโย เป็นผู้ควรทำอัญชลี
(ประนมมือไหว้)
๙. อนุตฺตรํ ปุญฺ กฺเขตฺตํ โลกสฺส เป็นนาบุญของโลก

ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า
สังฆคุณ แปลว่ำ คุณของพระสงฆ์ หมำยควำมว่ำ ควำมดีที่มีอยู่ในพระสงฆ์สำวก
ของพระผู้มีพระภำคเจ้ำ ผู้ประพฤติดีปฏิบัติชอบ เป็นอริยบุคคล คือ บุคคลผู้ปรำศจำกกิเลส
ดุจข้ำศึก ๔ คู่ ๘ ประเภท (คู่ที่ ๑ ผู้ดำรงอยู่ในโสดำปัตติมรรค และในโสดำปัตติผล,
คู่ที่ ๒ ผู้ดำรงอยู่ในสกทำคำมิมรรค และในสกทำมิผล, คู่ที่ ๓ ผู้ดำรงอยู่ในอนำคำมิมรรค

และในอนำคำมิผล, คู่ที่ ๔ ผู้ดำรงอยู่ในอรหัตตมรรคและในอรหัตตผล) มี ๙ ประกำร

หมวด ๘ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท

มรรคมีองค์ ๘
๑. สัมมาทิฏฐิ ปัญญาความเห็นชอบ ได้แก่ เห็นอริยสัจ ๔
๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ได้แก่ ดำริในการออกจากกาม ดำริในการ-
ไม่พยาบาท ดำริในการไม่เบียดเบียน จัดเป็นกุศลวิตก ๓
๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ ได้แก่ วจีสุจริต ๔
๔. สัมมากัมมันตะ การงานชอบ ได้แก่ กายสุจริต ๓
๕. สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ ได้แก่ เว้นมิจฉาชีพ ประกอบสัมมาชีพ
๖. สัมมาวายามะ เพียรชอบ หรือ พยายามชอบ ได้แก่ ปธาน หรือ สัมมัปปธาน
คือ ความเพียร ๔ อย่าง
๗. สัมมาสติ ระลึกชอบ ได้แก่ ระลึกในสติปัฏฐานทั้ง ๔
๘. สัมมาสมาธิ ตั้งใจมั่นชอบ ได้แก่ เจริญฌานทั้ง ๔
มรรค แปลว่ำ ทำง หมำยถึง ข้อปฏิบัติ มรรคมีองค์ ๘ เรียกเต็มว่ำ “อริย-
อัฏฐังคิกมรรค” แปลว่ำ ทำงมีองค์ ๘ ประกำรอันประเสริฐ เป็นอริยสัจข้อที่ ๔ และได้ชื่อ
ว่ำ มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่ำ ทำงสำยกลำง เพรำะเป็นข้อปฏิบัติอันพอดีที่จะนำไปสู่จุดหมำย
แห่งควำมหลุดพ้น เป็นอิสระ ดับทุกข์ ไม่ติดข้องในที่สุดโต่ง ๒ อย่ำง คือ กามสุขัลลิกานุโยค
ประพฤติตนหมกมุ่นอยู่ในกำมคุณ และ อัตตกิลมถานุโยค ประพฤติทรมำนตนให้ลำบำก

แล้วปฏิบัติในทำงสำยกลำง ๘ ประกำร

หมวด ๗ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท

อปริหานิยธรรม ๗
(สำหรับคฤหัสถ์)
๑. หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์ หมั่นประชุมกันมาก
๒. เมื่อประชุมก็พร้อมเพรียงกันประชุม เมื่อเลิกประชุมก็พร้อมเพรียงกันเลิก
๓. ไม่บัญญัติสิ่งที่มิได้บัญญัติไว้ ไม่เพิกถอนหรือยกเลิกสิ่งที่บัญญัติไว้แล้ว
ประพฤติมั่นอยู่ในธรรมเนียมเก่าตามที่บรรพบุรุษบัญญัติไว้แล้ว
๔. สักการะ เคารพ นับถือ บูชา ผู้ใหญ่ทั้งหลาย สำคัญถ้อยคำของท่านเหล่านั้น
ว่าเป็นถ้อยคำที่ต้องเชื่อฟัง
๕. ไม่ข่มขืนบังคับสตรีในตระกูล และกุมารีในตระกูลให้อยู่ร่วมด้วย
๖. สักการะ เคารพ นับถือ บูชาเจติยสถานของชาวเมืองทั้งหลายทั้งภายในภายนอก
ไม่ลบล้างพลีกรรมอันชอบธรรมซึ่งเคยให้เคยทำแก่เจติยสถานเหล่านั้น
๗. ถวายอารักขา คุ้มครองป้องกันโดยชอบธรรมในพระอรหันต์ทั้งหลายเป็นอย่างดี
ธรรม ๗ อย่างนี้ มีอยู่ในผู้ใด ผู้นั้นไม่มีความเสื่อมเลย มีแต่ความเจริญอย่างเดียว
อปริหานิยธรรม แปลว่ำ ธรรมไม่เป็นที่ตั้งแห่งควำมเสื่อม หมำยถึง คนที่อยู่รวมกัน
เป็นจำนวนมำก จำต้องมีกฎระเบียบปฏิบัติเป็นแนวทำงเดียวกัน ไม่ประพฤตินอกกฎระเบียบ

ที่มีอยู่ ไม่ทำอะไรตำมอำเภอใจ เพื่อให้เกิดควำมสำมัคคี และมีแต่ควำมเจริญ มี ๗ อย่ำง

หมวด ๖ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท

จริต ๖
ราคจริต มีราคะเป็นปกติ
โทสจริต มีโทสะเป็นปกติ
โมหจริต มีโมหะเป็นปกติ
วิตักกจริต มีวิตกเป็นปกติ
สัทธาจริต มีศรัทธาเป็นปกติ
พุทธิจริต มีความรู้เป็นปกติ

จริต แปลว่ำ ควำมประพฤติ หมำยถึง ควำมประพฤติคุ้นเคยซึ่งหนักไปทำงใดทำงหนึ่ง
อันเป็นปกติประจำอยู่ในสันดำน หรือพฤติกรรมที่แสดงออกมำเป็นควำมชอบควำมเคยชิน
เป็นลักษณะเด่นชัดในด้ำนนั้น ๆ ควำมประพฤติหรือลักษณะนิสัย เรียกอีกอย่ำงว่ำ จริยำ
มี ๖ อย่ำง คือ
๑. ราคจริต มีราคะเป็นปกติ หรือ มีรำคะเป็นเจ้ำเรือน หมำยถึงคนที่มีลักษณะ
นิสัยหนักไปทำงรำคะ รักสวยรักงำม ละมุนละไม ชอบควำมเอำอกเอำใจ ควำมอ่อนโยน
หรือชอบเรื่องบันเทิงเจริญใจ แสดงออกให้เห็นในลักษณะต่ำงๆ เช่น มีอิริยำบถเรียบร้อย
สวยงำมทำกำรงำนละเอียดประณีต นิยมรสอำหำรที่กลมกล่อม มักติดใจพอใจอย่ำงลึกซึ้ง
ในสิ่งที่ตนเกิดควำมรักควำมยินดี เป็นคนเจ้ำเล่ห์ โอ้อวด ถือตัว มีควำมต้องกำรทำงกำมและ
เกียรติมำก เช่น ต้องกำรเป็นใหญ่ให้คนยกย่องสรรเสริญ ไม่ค่อยสันโดษ มักโลเล พิถีพิถัน
ในเรื่องอำหำร กำรแต่งตัว และกำรทำงำน เป็นต้น คนราคจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญ
อสุภกัมมัฏฐำน ๑๐ และกำยคตำสติ
๒. โทสจริต มีโทสะเป็นปกติ หรือ มีโทสะเป็นเจ้ำเรือน หมำยถึงคนที่มีลักษณะ
นิสัยหนักไปทำงโทสะ ประพฤติหนักไปทำงใจร้อนหงุดหงิดรุนแรง ฉุนเฉียวโกรธง่ำย
ชอบควำมรุนแรง ชอบกำรต่อสู้เอำชนะระรำนผู้อื่นด้วยกำลัง อำจสังเกตได้จำกอิริยำบถที่
พรวดพรำดรีบร้อน กระด้ำง ทำกำรงำนรวดเร็วแต่ไม่ค่อยเรียบร้อย ไม่สำรวม ชอบบริโภค
อำหำรรสจัด กินเร็ว มักโกรธง่ำย ลบหลู่คุณท่ำน ตีเสมอ และมักริษยำ คนโทสจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญกัมมัฏฐำน ประเภทวัณณกสิณ ๔ คือ นีลกสิณ ปีตกสิณ โลหิตกสิณ
โอทำตกสิณ และเจริญพรหมวิหำร ๔ คือ เมตตำ กรุณำ มุทิตำ อุเบกขำ
๓. โมหจริต มีโมหะเป็นปกติ หรือ มีโมหะเป็นเจ้ำเรือน หมำยถึงคนที่มีลักษณะ
นิสัยหนักไปทำงโมหะ ประพฤติหนักไปทำงเขลำ เหงำซึม ขี้หลงขี้ลืม เลื่อนลอยไปตำมกระแส
สังคม ขำดเหตุผล ชอบเรื่องไร้สำระ อำจสังเกตได้จำกอิริยำบถที่เซื่องซึมเหม่อลอย ทำกิจกำร
งำนหยำบ ไม่ถี่ถ้วน คั่งค้ำง ขำดควำมเรียบร้อย เอำดีไม่ค่อยได้ ไม่เลือกอำหำรกำรกิน อย่ำงไร
ก็ได้ มักมีควำมเห็นคล้อยตำมคนอื่นง่ำยๆ ใครว่ำอย่ำงไร ก็ว่ำตำมเขำ มักชอบง่วงนอน ขี้สงสัย
เข้ำใจอะไรยำก เป็นต้น คนโมหจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญอำนำปำนสติกัมมัฏฐำน หรือ
เพ่งกสิณ และพึงเสริมปัญญำด้วยกำรจัดให้มีกำรเรียน กำรไต่ถำม กำรฟังธรรม กำรสนทนำ
ธรรมตำมกำล หรือกำรให้อยู่กับครูอำจำรย์
๔. วิตักกจริต มีวิตกเป็นปกติ หรือ มีควำมวิตกเป็นเจ้ำเรือน หมำยถึงคนที่มี
ลักษณะนิสัยควำมประพฤติหนักไปทำงชอบครุ่นคิดวกวน นึกคิดฟุ้งซ่ำน ย้ำคิดย้ำทำ ขำดควำม
มั่นใจในตนเอง ชอบวิตกกังวลเรื่องไม่เป็นเรื่อง คิดตรึกตรองไปเรื่อยๆ ไม่ค่อยแน่นอนอะไร
นัก เข้ำใจอะไรไม่ตลอดสำย อำจสังเกตได้จำกอิริยำบถที่เชื่องช้ำ คล้ำยพวกโมหจริต ทำกำร
งำนจับจดไม่เป็นหลัก แต่เป็นคนช่ำงพูด อำหำรที่บริโภคไม่ค่อยพิถีพิถันมำกนัก อย่ำงไรก็ได้
มักเห็นตำมคล้อยตำมผู้คนหมู่มำก ประเภทพวกมำกลำกไป เป็นคนโลเลเดี๋ยวดีเดี๋ยวร้ำย
คนวิตักกจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญอำนำปำนสติกัมมัฏฐำน
๕. สัทธาจริต มีศรัทธาเป็นปกติ หรือ มีควำมเชื่อง่ำยเป็นเจ้ำเรือน หมำยถึงคนที่มี
ลักษณะนิสัยมำกด้วยศรัทธำ ประพฤติหนักไปทำงถือมงคลตื่นข่ำว เชื่อง่ำยโดยปรำศจำก
เหตุผล ไว้ใจทุ่มเทใจให้ผู้อื่นได้ง่ำย ชอบเรื่องไสยศำสตร์หรืออำนำจลึกลับ สังเกตได้จำก
อิริยำบถที่แช่มช้อยละมุนละม่อม ทำกำรงำนอะไรจะมีควำมเรียบร้อย ชอบสวยงำมแบบ
เรียบร้อย ชอบสวยงำมแบบเรียบๆ ไม่ฉูดฉำด ไม่โลดโผน ชอบอำหำรรสมัน มีจิตใจเบิกบำน
ในเรื่องที่เป็นกุศล แต่ไม่ชอบโอ้อวด คนสัทธาจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญกัมมัฏฐำน
ประเภทอนุสสติ ๖ ประกำร คือ พุทธำนุสสติ ธัมมำนุสสติ สังฆำนุสสติ สีลำนุสสติ
จำคำนุสสติ และเทวตำนุสสติ นอกจำกนี้ พึงชักนำไปในสิ่งที่ควรแก่ควำมเลื่อมใสและควำม
เชื่อที่มีเหตุผล
๖. พุทธิจริต มีความรู้เป็นปกติ มีพุทธิปัญญำเป็นเจ้ำเรือนหมำยถึงคนที่มีลักษณะ
นิสัยควำมประพฤติหนักไปทำงใช้ควำมคิดพิจำรณำและมองไปตำมควำมจริง มีปัญญำเฉียบแหลม ว่องไว ได้ยินได้ฟังอะไรมักจำได้เร็ว อำจสังเกตได้จำกอิริยำบถที่ว่องไวและเรียบร้อย
ทำกิจกำรงำนอะไรมักเป็นประโยชน์ ทำได้เรียบร้อยสวยงำมมีระเบียบ ชอบบริโภคอำหำร
รสไม่จัด มองอะไรด้วยควำมพินิจพิเครำะห์ คนพุทธิจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญกัมมัฏฐำน
๔ ประกำร คือ มรณัสสติ อุปสมำนุสสติ อำหำเรปฏิกูลสัญญำ และจตุธำตุววัตถำน นอกจำกนี้
พึงส่งเสริมแนะนำให้ใช้ควำมคิดพิจำรณำสภำวธรรมและสิ่งดีงำมที่ให้เจริญปัญญำ
จริตหรือจริยำ ๖ อย่ำงนี้ ในบุคคลคนเดียว แม้จะเป็นผู้มีลักษณะเด่นไปในจริตใด
จริตหนึ่งดังกล่ำวมำ แต่บำงครั้งอำจมีจริตระคนกันเกิดขึ้นพร้อมกันหลำยจริตก็มี เช่น
ในกรณีเมื่อผู้น้อยไม่ได้สิ่งที่ตนปรำรถนำจึงโกรธนินทำผู้ใหญ่ เช่นนี้ท่ำนว่ำมีทั้งรำคจริต
โทสจริต และโมหจริตระคนกัน
ธรรมคุณ ๖
สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว
สนฺทิฏฐิ โก อันผู้ได้บรรลุจะพึงเห็นเอง
อกาลิโก ไม่ประกอบด้วยกาล
เอหิปสฺสิโก ควรเรียกให้มาดู
โอปนยิโก ควรน้อมเข้ามา
ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญฺญูหิ อันวิญญูชนพึงรู้เฉพาะตน
ธรรมคุณ แปลว่ำ คุณของพระธรรม หมำยถึง คำสอนทำงพระพุทธศำสนำที่บุคคล
ประพฤติปฏิบัติดีแล้ว จะได้ผลคือควำมดี เพรำะพระธรรมมีควำมดีรอบด้ำน โดยสมควรแก่
กำรปฏิบัติที่เรียกว่ำ ธัมมำนุธัมมปฏิบัติ คุณของพระธรรมท่ำนจำแนกไว้ ๖ ประกำร

หมวด ๕ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท

อนุปุพพีกถา ๕
ทานกถา กล่าวถึงทาน
สีลกถา กล่าวถึงศีล
สัคคกถา กล่าวถึงสวรรค์
กามาทีนวกถา กล่าวถึงโทษแห่งกาม
เนกขัมมานิสังสกถา กล่าวถึงอานิสงส์แห่งความออกจากกาม
อนุปุพพีกถา แปลว่ำ ถ้อยคำที่พรรณนำควำมโดยลำดับ หมำยถึง พระธรรมเทศนำ
ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงไปโดยลำดับเพื่อฟอกจิตของเวไนยสัตว์ผู้มีอุปนิสัยสำมำรถจะบรรลุ
ธรรมพิเศษ ให้หมดจดเป็นชั้นๆ จำกง่ำยไปหำยำก ซึ่งเป็นกำรเตรียมจิตของผู้ฟังให้พร้อมที่
จะรับฟังอริยสัจต่อไป มี ๕ อย่ำง
มัจฉริยะ ๕
อาวาสมัจฉริยะ ตระหนี่ที่อยู่
กุลมัจฉริยะ ตระหนี่สกุล
ลาภมัจฉริยะ ตระหนี่ลาภ
วัณณมัจฉริยะ ตระหนี่วรรณะ
ธัมมมัจฉริยะ ตระหนี่ธรรม
มัจฉริยะ แปลว่ำ ควำมตระหนี่ หมำยถึง ควำมหวงแหนกีดกันไม่ให้ผู้อื่นได้ดีหรือมี
ส่วนร่วม คือ ควำมไม่พอใจที่จะให้สิ่งของของตนแก่ผู้อื่นด้วยอำกำรที่หวงแหนเหนียวแน่น

โดยมีควำมโลภเป็นสมุฏฐำน
มาร ๕
ขันธมาร มารคือปัญจขันธ์
กิเลสมาร มารคือกิเลส
อภิสังขารมาร มารคืออภิสังขาร
มัจจุมาร มารคือมรณะ
เทวปุตตมาร มารคือเทวบุตร
มาร แปลว่ำ สภำพที่ทำให้ตำย หมำยถึง สิ่งที่ฆ่ำบุคคลให้ตำยจำกคุณควำมดีและ

ผลที่คำดหวัง หรือสิ่งที่ล้ำงผลำญคุณควำมดี ตัวกำรที่กำจัดขัดขวำงบุคคลมิให้บรรลุผลสำเร็จ
นิวรณ์ ๕
ธรรมอันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี เรียก นิวรณ์ มี ๕ อย่าง
๑. ความพอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจ มีรูป เป็นต้น เรียกกามฉันท์
๒. ปองร้ายผู้อื่น เรียกพยาบาท
๓. ความที่จิตหดหู่และเคลิบเคลิ้ม เรียกถีนมิทธะ
๔. ฟุ้งซ่านและรำคาญ เรียกอุทธัจจกุกกุจจะ
๕. ลังเลไม่ตกลงใจได้ เรียกวิจิกิจฉา
นิวรณ์ แปลว่ำ กิเลสหรืออกุศลธรรมที่ครอบงำจิต หรือปิดกั้นจิตไม่ให้บรรลุควำมดี
ไม่ให้ก้ำวขึ้นสู่ธรรมเบื้องสูงขึ้นไป ควำมดีในที่นี้ หมำยถึง สมำธิ ฌำน สมำบัติ เช่น ในกำร
เจริญสมถกัมมัฏฐำน หรือเจริญวิปัสสนำกัมมัฏฐำนก็ตำม หำกกิเลสเหล่ำนี้อย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง

เกิดขึ้นแล้วจะไม่สำมำรถเจริญกัมมัฏฐำนให้ก้ำวหน้ำได้
ขันธ์ ๕
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
กำยกับใจนี้ แบ่งออกเป็น ๕ กอง เรียกว่ำ ขันธ์ ๕ คือ
๑. รูป ๒. เวทนำ ๓. สัญญำ
๔. สังขำร ๕. วิญญำณ
ธำตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม ประชุมกันเป็นกำย นี้ เรียกว่ำ รูป
ควำมรู้สึกอำรมณ์ว่ำ เป็นสุข คือสบำยกำยสบำยใจ หรือเป็นทุกข์ คือไม่สบำยกำย
ไม่สบำยใจ หรือเฉยๆ คือไม่ทุกข์ไม่สุข เรียกว่ำ เวทนา
ควำมจำได้หมำยรู้ คือ จำรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อำรมณ์ที่เกิดกับใจได้
เรียกว่ำ สัญญา
เจตสิกธรรม คืออำรมณ์ที่เกิดกับใจ เป็นส่วนดีเรียกกุศล เป็นส่วนชั่วเรียกอกุศล
เป็นส่วนกลำงๆ ไม่ดีไม่ชั่วเรียกอัพยำกฤต เรียกว่ำ สังขาร
ควำมรู้อำรมณ์ ในเวลำที่รูปมำกระทบตำ เป็นต้น เรียกว่ำ วิญญาณ
ขันธ์ ๕ นี้ย่อลง เรียกว่ำ นามรูป เวทนำ สัญญำ สังขำร วิญญำณ รวมเข้ำเป็นนำม,

รูปคงเป็นรูป.
ขันธ์ แปลว่ำ กอง หมำยควำมว่ำ แบ่งกำยกับใจออกเป็น ๕ กอง ได้แก่ รูปขันธ์
เวทนำขันธ์ สัญญำขันธ์ สังขำรขันธ์ และวิญญำณขันธ์ ดังนี้
๑. รูปร่ำงกำยอันประกอบด้วยธำตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม รวมตัวกันเข้ำ เกิดใน
ครรภ์มำรดำ มีอวิชชำ ตัณหำ อุปำทำน กรรม และอำหำรเป็นเหตุ เป็น ๑ กอง เรียกว่ำ
รูปขันธ์ แปลว่ำ กองรูป,
๒. ส่วนใจ แบ่งออกเป็น ๔ กอง คือ
๑) เมื่ออำยตนะภำยในอำยตนะภำยนอก และวิญญำณ ๓ อย่ำง ประชุมกัน
ก็เกิดผัสสะ ผัสสะเป็นปัจจัยให้เกิดควำมสุขบ้ำง ควำมทุกข์บ้ำง กลำงๆ ไม่สุขไม่ทุกข์บ้ำง
เป็นเวทนำขันธ์ แปลว่ำ กองเวทนา
๒) ควำมจำได้หมำยรู้สิ่งที่มำกระทบทำงทวำรทั้ง ๖ ที่ล่วงมำแล้วแม้นำนได้
กล่ำวคือ เมื่อรูป เสียง เป็นต้น แม้ผ่ำนพ้นไปแล้ว และเวทนำดับไปแล้วก็ยังจำได้ ควำมจำ
ได้นี้ เป็นสัญญำขันธ์ แปลว่ำ กองสัญญา
๓) อำรมณ์ที่เกิดกับใจ ทั้งอิฏฐำรมณ์และอนิฏฐำรมณ์ ทั้งที่เป็นกุศลหรืออกุศล
หรือที่เป็นกลำงๆ กล่ำวคือ เมื่อจำได้ ก็คิดปรุงแต่งหรือปรุงแต่งควำมคิด ดีบ้ำง ชั่วบ้ำง ไม่ดี
ไม่ชั่วบ้ำง ควำมคิดปรุงแต่งจิตให้มีอำกำรต่ำงๆ นี้ เป็นสังขำรขันธ์ แปลว่ำ กองสังขาร
๔) ควำมรู้อำรมณ์ในรูปขันธ์ที่กรรมตกแต่งให้มีอำยตนะภำยใน ๖ คือ ตำ หู
จมูก ลิ้น กำย ใจ, เมื่ออำยตนะภำยนอกมีรูปกระทบตำ เสียงกระทบหู กลิ่นกระทบจมูก
รสกระทบลิ้น โผฏฐัพพะกระทบกำย อำรมณ์ต่ำงๆ กระทบใจ ก็เกิดควำมรู้ขึ้น เป็นวิญญำณขันธ์
แปลว่ำ กองวิญญาณ
ขันธ์ ๕ นี้ เป็นสภำวธรรม มีกำรเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ไม่ควรเข้ำไปยึดถือว่ำ เป็นเรำ
เป็นของเรำ เป็นตัวตน เพรำะตกอยู่ในไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ไม่เที่ยง ทุกขัง ทนได้ยำก หรือ

ไม่อยู่ในสภำพเดิม อนัตตา ไม่มีตัวตน ไม่อยู่ในบังคับบัญชำของใคร สรุปเรียกว่ำ กาย ใจ,หรือ รูป นาม ก็ได้
เวทนา ๕
สุข ทุกข์ โสมนัส โทมนัส อุเบกขา

เวทนา แปลว่ำ ควำมเสวยอำรมณ์ หมำยถึง ภำวะจิตที่เกิดควำมรู้สึก เมื่อรับอำรมณ์
ต่ำงๆ จำแนกโดยรวมทั้งกำยและจิตไว้ ๕ ประกำร คือ
๑. สุข หรือ สุขเวทนา ควำมรู้สึกสุข หมำยถึง ควำมรู้สึกสบำย ในที่นี้ มำคู่กับ
โสมนัส จึงหมำยเอำเฉพำะควำมรู้สึกสุขทำงกำย หรือควำมรู้สึกสบำยกำยอย่ำงเดียว
๒. ทุกข์ หรือ ทุกขเวทนา ควำมรู้สึกทุกข์ หมำยถึง ควำมรู้สึกไม่สบำย ในที่นี้มำคู่
กับโทมนัสจึงหมำยเอำเฉพำะควำมรู้สึกทุกข์กำยหรือควำมรู้สึกไม่สบำยกำยอย่ำงเดียว
๓. โสมนัส หรือ โสมนัสสเวทนา ควำมรู้สึกสุขใจ หมำยถึงควำมรู้สึกสบำยใจ
๔. โทมนัส หรือ โทมนัสสเวทนา ควำมรู้สึกทุกข์ใจ หมำยถึงควำมรู้สึกเสียใจ
๕. อุเบกขา หรือ อุเปกขาเวทนา ควำมรู้สึกเฉยๆ หมำยถึงควำมที่จิตมีควำมรู้สึก
เป็นกลำงระหว่ำงสุขกับทุกข์ ไม่ดีใจไม่เสียใจ เป็นได้เฉพำะทำงใจ เพรำะอุเบกขำทำงกำย
ไม่มี แต่ควำมเฉยๆ แห่งกำย คือกำยเป็นปกติอยู่นั้น ท่ำนจัดว่ำเป็นสุขเวทนำ
เวทนำ ๕ อย่ำงนี้ ย่อมบังเกิดมีแก่บุคคล สัตว์ ทุกประเภท ในส่วนปุถุชน เมื่อเกิดขึ้น
แล้วย่อมทำให้จิตหวั่นไหวมำก หำกเป็นสุขกำยหรือสุขเวทนำก็จะตื่นเต้นยินดีมำก หำกเป็น
ทุกข์กำยหรือทุกขเวทนำก็จะดิ้นรนกระสับกระส่ำยมำก อุเบกขำเวทนำไม่สำมำรถดำรงมั่น
อยู่ในจิตได้ หรือได้ก็เป็นเพียงชั่วครู่เท่ำนั้น ซึ่งต่ำงจำกพระอริยบุคคล เมื่อกระทบกับเวทนำ
ส่วนใดก็มักไม่หวั่นไหวไปตำม จิตจะตั้งมั่นอยู่ในอุเบกขำเวทนำเป็นส่วนใหญ่ ในเวทนำ ๕ นี้
หำกสรุปลงเป็น ๓ คือ สุขเวทนำ ทุกขเวทนำ อุเบกขำเวทนำ คือ สุขกับโสมนัส จัดเป็นสุขเวทนำ

ทุกข์กับโทมนัส จัดเป็นทุกขเวทนำ ส่วนอุเบกขำเวทนำคงเดิม

หมวด ๔ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท

อปัสเสนธรรม ๔
พิจารณาแล้วเสพของอย่างหนึ่ง
พิจารณาแล้วอดกลั้นของอย่างหนึ่ง
พิจารณาแล้วเว้นของอย่างหนึ่ง
พิจารณาแล้วบรรเทาของอย่างหนึ่ง
อปัสเสนธรรม แปลว่ำ ธรรมดุจพนักพิง หมำยถึงธรรมเป็นที่อิงหรือพึ่งอำศัย
ของผู้มีปัญญำที่รู้จักพิจำรณำปฏิบัติต่อสิ่งต่ำงๆ ให้ถูกต้อง เพื่อไม่ให้เกิดทุกข์โทษแก่ตน เป็น
ทำงป้องกันไม่ให้อกุศลเกิดขึ้น และให้กุศลเจริญยิ่งขึ้น
อัปปมัญญา ๔

เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
อัปปมัญญา แปลว่ำ ภำวะจิตที่แผ่ไปโดยไม่มีประมำณ หมำยถึง กำรแผ่คุณธรรม คือ
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ไปในหมู่มนุษย์และสัตว์หำประมำณมิได้ คือไม่จำกัดขอบเขต
แต่ถ้ำแผ่ไปโดยเจำะจงตัวบุคคล หรือโดยไม่เจำะจงตัวบุคคลแต่ยังมุ่งจำกัดเอำหมู่คนหรือสัตว์
เรียกว่ำ พรหมวิหาร แปลว่ำ ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพรหม หรือธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่ำง

ประเสริฐ หมำยถึง พรหมโดยสมมติ คือ ท่ำนผู้เป็นใหญ่
พระอริยบุคคล ๔
๑. พระโสดาบัน
๒. พระสกทาคามี
๓. พระอนาคามี

๔. พระอรหันต์
อริยบุคคล แปลว่ำ บุคคลผู้ประเสริฐ หมำยถึง บุคคลผู้ได้บรรลุอริยผลอันเป็น
โลกุตระ จึงจัดเป็นผู้ประเสริฐในพระพุทธศำสนำ เพรำะสำมำรถละสังโยชน์กิเลสได้เด็ดขำด

ตำมภูมิธรรมของตน
สัมปรายิกัตถประโยชน์ คือประโยชน์ภายหน้า ๔
๑. สัทธาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศรัทธา คือเชื่อสิ่งที่ควรเชื่อ เช่นเชื่อว่า
ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นต้น
๒. สีลสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศีล คือรักษากายวาจาเรียบร้อยดี ไม่มีโทษ
๓. จาคสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการบริจาคทานเป็นการเฉลี่ยสุขให้แก่ผู้อื่น
๔. ปัญญาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยปัญญา รู้จักบาปบุญ คุณโทษ

ประโยชน์ มิใช่ประโยชน์ เป็นต้น
สัมปรายิกัตถประโยชน์ แปลว่ำ ประโยชน์ในภำยหน้ำหรือประโยชน์ในภพหน้ำ

ชำติหน้ำ หมำยถึง คุณธรรมที่เป็นเหตุให้มีควำมสุขในภพหน้ำ
มรรค ๔
โสดาปัตติมรรค
สกทาคามิมรรค
อนาคามิมรรค

อรหัตตมรรค
มรรค แปลว่ำ ทำง หมำยถึง ทำงเข้ำถึงควำมเป็นพระอริยบุคคล ได้แก่ ญำณคือ

ควำมรู้ที่เป็นเหตุให้ผู้ปฏิบัติสำมำรถละสังโยชน์ได้เด็ดขำดเป็นชั้น ๆ
ผล ๔
โสดาปัตติผล
สกทาคามิผล
อนาคามิผล

อรหัตตผล
ผล เป็นธรรมำรมณ์สืบเนื่องมำจำกมรรค เป็นผลที่เกิดจำกกำรละกิเลสได้ด้วยมรรค

หรือธรรมำรมณ์อันพระอริยบุคคลพึงเสวยเป็นชื่อของโลกุตรธรรมที่ใช้คู่กับมรรค

หมดว ๓ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท

อกุศลวิตก ๓
๑. กามวิตก ความตริในทางกาม
๒. พยาบาทวิตก ความตริในทางพยาบาท
๓. วิหิงสาวิตก ความตริในทางเบียดเบียน
กุศลวิตก ๓
๑. เนกขัมมวิตก ความตริในทางพรากจากกาม
๒. อพยาบาทวิตก ความตริในทางไม่พยาบาท

๓. อวิหิงสาวิตก ความตริในทางไม่เบียดเบียน
อัคคิ (ไฟ) ๓
๑. ราคัคคิ ไฟคือราคะ
๒. โทสัคคิ ไฟคือโทสะ

๓. โมหัคคิ ไฟคือโมหะ
อธิปเตยยะ ๓
๑. อัตตาธิปเตยยะ ความมีตนเป็นใหญ่
๒. โลกาธิปเตยยะ ความมีโลกเป็นใหญ่

๓. ธัมมาธิปเตยยะ ความมีธรรมเป็นใหญ่
ญาณ ๓
๑. สัจจญาณ ปรีชาหยั่งรู้อริยสัจ
๒. กิจจญาณ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันควรทำ

๓. กตญาณ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันทำแล้ว
ตัณหา ๓
๑. กามตัณหา ตัณหาในกาม
๒. ภวตัณหา ตัณหาในภพ

๓. วิภวตัณหา ตัณหาในปราศจากภพ
ปิฎก ๓
๑. พระวินัยปิฎก หมวดพระวินัย
๒. พระสุตตันตปิฎก หมวดพระสุตตันตะ (หรือพระสูตร)

๓. พระอภิธรรมปิฎก หมวดพระอภิธรรม
พุทธจริยา ๓
๑. โลกัตถจริยา ทรงประพฤติเป็นประโยชน์แก่โลก
๒. ญาตัตถจริยา ทรงประพฤติเป็นประโยชน์แก่พระญาติหรือโดยฐานเป็น
พระญาติ
๓. พุทธัตถจริยา ทรงประพฤติเป็นประโยชน์โดยฐานเป็นพระพุทธเจ้า
วัฏฏะ (วน) ๓
๑. กิเลสวัฏฏะ วนคือกิเลส
๒. กัมมวัฏฏะ วนคือกรรม

๓. วิปากวัฏฏะ วนคือวิบาก
สิกขา ๓
๑. อธิสีลสิกขา สิกขาคือศีลยิ่ง
๒. อธิจิตตสิกขา สิกขาคือจิตยิ่ง

๓. อธิปัญญาสิกขา สิกขาคือปัญญายิ่ง
สามัญญลักษณะ ๓
๑. อนิจจตา ความเป็นของไม่เที่ยง
๒. ทุกขตา ความเป็นทุกข์

๓. อนัตตตา ความเป็นของไม่ใช่ตน

วันศุกร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2561

ส่วนปรมัตถปฎิปทา นิพพิทา ความหน่าย

๑. นิพพิทา ความหน่าย
อุทเทส
๑. เอถ ปสฺสถิมํ โลกํ จิตฺตํ ราชรถูปมํ
ยตฺถ พาลา วิสีทนฺติ นตฺถิ สงฺโค วิชานตํ.
สูทั้งหลำยจงมำดูโลกนี้ อันตระกำรดุจรำชรถ
ที่พวกคนเขลำหมกอยู่ แต่พวกผู้รู้หำข้องอยู่ไม่.
โลกวรรค : ขุททกนิกำย ธรรมบท
๒. เย จิตฺตํ สญฺ เมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา.
ผู้ใดจักระวังจิต ผู้นั้นจักพ้นจำกบ่วงแห่งมำร.
จิตตวรรค : ขุททกนิกำย ธรรมบท
พรรณนาความ
นิพพิทา ความหน่าย หมำยถึง ควำมเบื่อหน่ำยที่เกิดจำกกำรใช้ปัญญำพิจำรณำ
เห็นควำมจริง ได้แก่ควำมเบื่อหน่ำยในกองทุกข์ ควำมเบื่อหน่ำยในเบญจขันธ์ซึ่งเกิดจำก
ปัญญำที่พิจำรณำเห็นว่ำสังขำรทั้งปวงไม่เที่ยง สังขำรทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวงเป็น
อนัตตำ เมื่อพิจำรณำได้ดังนี้ ย่อมเกิดควำมเบื่อหน่ำยในทุกขขันธ์ (กองทุกข์) ไม่มัวเมำ
เพลิดเพลินยึดมั่นในสังขำรอันยั่วยวนชวนเสน่หำ เป็นควำมเบื่อหน่ำยที่เกิดจำกปัญญำ
พิจำรณำเข้ำใจสภำพควำมเป็นจริงของสังขำร ไม่ใช่ควำมเบื่อหน่ำยเพรำะแรงผลักดันแห่ง
กำมตัณหำ เช่น กรณีที่หญิงกับชำยรักกันจนถึงขั้นอยู่กินเป็นสำมีภรรยำกันแล้วเบื่อหน่ำยจน
เลิกร้ำงกันไปเพรำะควำมประพฤติไม่ดีต่อกันหรือเอือมระอำในพฤติกรรมของกันและกัน
แล้วต่ำงคนต่ำงไปแสวงหำกำมำรมณ์เสพสุขทำงเพศกับชำย-หญิงอื่น เช่นนี้ไม่จัดเป็นนิพพิทำ
คำว่ำ โลก ในอุทเทสที่ ๑ จำแนกควำมหมำยเป็น ๒ อย่ำง คือ (๑) โลกโดยตรง
ได้แก่แผ่นดินเป็นที่อำศัย (๒) โลกโดยอ้อม ได้แก่หมู่สัตว์ผู้อำศัย
โลกทั้งโดยตรงและโดยอ้อมนี้มีสิ่งต่างๆ รวมกันอยู่ ๓ อย่าง คือ
๑. สิ่งอันให้โทษโดยส่วนเดียว เปรียบด้วยยำพิษ
๒. สิ่งอันให้โทษในเมื่อเกินพอดี เปรียบด้วยของมึนเมำ
๓. สิ่งอันเป็นอุปกำระเปรียบด้วยอำหำรและเภสัช (ยำรักษำโรค) ที่ให้ควำมสบำย
ผู้หมกอยู่ในโลก
เหล่ำคนเขลำผู้ไร้ปัญญำพิจำรณำไม่สำมำรถหยั่งรู้เห็นโลกได้โดยถ่องแท้ จึงชื่อว่า
หมกอยู่ในโลกโดยอาการ ๓ อย่าง คือ
๑. เพลิดเพลินในสิ่งที่เป็นโทษ
๒. ระเริงหลงเกินพอดีในสิ่งอันอำจให้โทษ
๓. ติดอยู่ในสิ่งที่เป็นอุปกำระล่อใจ
เมื่อเป็นเช่นนี้ ย่อมได้รับสุขบ้ำง ทุกข์บ้ำง คละเคล้ำกันไปตำมแต่สิ่งนั้นๆ จะอำนวย
ให้ แม้สุขที่ได้รับนั้น ก็เป็นอามิสสุข สุขอิงอามิส คือสุขที่คล้ำยเหยื่อล่อให้ลุ่มหลงติดข้อง
ไม่ใช่ควำมสุขที่แท้จริง ซึ่งมีอำกำรดุจเหยื่อที่เบ็ดเกี่ยวไว้ อำจถูกชักจูงไปได้ตำมปรำรถนำ
ผู้ไม่ข้องอยู่ในโลก
ฝ่ำยท่ำนผู้รู้ มีปัญญำฉลำดสำมำรถพิจำรณำเห็นควำมเป็นจริงของสิ่งสมมติเป็นโลก
นั้นๆ ว่ำจะต้องเปลี่ยนแปลงไปตำมเหตุปัจจัยอย่ำงแน่นอนแล้วไม่ติดข้องพัวพันในสิ่งอันเป็น
อุปกำระล่อใจ โดยที่ไม่มีผู้ใดหรือสิ่งใดยั่วให้ติดอยู่ได้ ย่อมเป็นอิสระด้วยตนเอง เมื่อเป็น
เช่นนี้ ย่อมได้รับนิรามิสสุข สุขปราศจากอามิส คือควำมสุขที่หำเหยื่อล่อมิได้ อันเป็น
ควำมสุขที่แท้จริง ผู้รู้เช่นนี้ ชื่อว่ำ ผู้ไม่ข้องอยู่ในโลก
พุทธประสงค์ในการตรัสให้ดูโลก
พระพุทธองค์ตรัสชักชวนเหล่ำพุทธบริษัทมำดูโลกอันวิจิตรตระกำรตำเปรียบด้วย
รำชรถครั้งโบรำณที่ประดับด้วยเครื่องอลังกำรอย่ำงงดงำม มิใช่เพื่อให้หลงเพลิดเพลิน ดุจดู
หนังดูละครที่มุ่งควำมบันเทิงแต่อย่ำงใดไม่ แต่ทรงประสงค์ให้ใช้ปัญญำพิจำรณำเห็นคุณ
โทษ ประโยชน์ และมิใช่ประโยชน์ของสิ่งนั้นๆ ที่รวมกันเข้ำเป็นโลก
อาการสำรวมจิต
ผู้สำรวมจิต ไม่ปล่อยจิตให้เพลิดเพลินระเริงหลงในโลกอันมีสิ่งล่อใจต่ำงๆ ชื่อว่ำพ้น

จากบ่วงแห่งมาร ด้วยอาการสำรวมจิต ๓ อย่าง คือ
๑. สำรวมอินทรีย์ (อินทรียสังวร) หมำยถึง ควำมสำรวมระวังตำ หู จมูก ลิ้น กำย
ใจ มิให้อำนำจควำมกำหนัดยินดีครอบงำได้ในเมื่อตำได้เห็นรูป หูได้ยินเสียง จมูกดมกลิ่น ลิ้น
ลิ้มรส กำยถูกต้องโผฏฐัพพะ (สัมผัสทำงกำย) อันน่ำปรำรถนำ ชักให้ใคร่ พำใจให้กำหนัด
๒. มนสิการกัมมัฏฐาน (สมถกัมมัฏฐำน) หมำยถึง ควำมใฝ่ใจในอุบำยฝึกอบรมจิต
เพื่อลดละบรรเทำกำมฉันทะ ควำมพอใจรักใคร่ในกำม ได้แก่ ความใฝ่ใจในอสุภกัมมัฏฐาน
คือกัมมัฏฐำนที่พิจำรณำดูควำมไม่งำมของร่ำงกำยตอนเป็นซำกศพที่แปรสภำพเปื่อยเน่ำไป
ตำมลำดับ ความใฝ่ใจในกายคตาสติกัมมัฏฐาน คือกัมมัฏฐำนที่ใช้สติกำหนดพิจำรณำกำยให้
เห็นเป็นของไม่งำมเป็นอำรมณ์ หรือ ความใฝ่ใจในมรณัสสติกัมมัฏฐาน คือกัมมัฏฐำนที่
ระลึกพิจำรณำถึงควำมตำยเนืองๆ เป็นอำรมณ์
๓. เจริญวิปัสสนา (วิปัสสนำกัมมัฏฐำน) หมำยถึง ควำมหมั่นฝึกจิตให้เกิดปัญญำ
พิจำรณำสังขำรโดยแยกออกเป็นขันธ์ ๕ หรือนำมรูปให้เห็นไตรลักษณ์คือเป็นสภำพไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตำ
ทั้ง ๓ อย่ำงนี้เป็นอำกำรสำรวมจิตเพื่อให้หลุดพ้นจำกบ่วงแห่งมำร คือไม่ตกไปตำม
กระแสกิเลส จิตจะหลุดพ้นจากบ่วงแห่งมาร ต้องดาเนินการควบคุมตามอาการครบทั้ง
๓ อย่างนี้ โดยเฉพำะการเจริญวิปัสสนา นับว่าสำคัญที่สุด เพรำะบ่วงแห่งมำรนั้นมีฤทธำนุภำพ
สำมำรถคล้องสรรพสัตว์ได้อย่ำงแน่นหนำ เหนือกำลังจะต้ำนทำน เหลือวิสัยที่จะปลดเปลื้อง
ให้หลุดพ้นได้โดยง่ำย ดังนั้น ต้องใช้กำรเจริญวิปัสสนำเท่ำนั้น จึงจะสำมำรถเอำชนะมำรและ
บ่วงแห่งมำรได้เด็ดขำด ดังจะกล่ำวต่อไปนี้
มารและบ่วงแห่งมาร
มาร แปลว่ำ ผู้ฆ่า ผู้ทาลาย ในที่นี้หมำยถึง โทษล้างผลาญคุณความดีและทาให้
เสียคน โดยเป็นสิ่งที่ฆ่ำบุคคลให้ตำยจำกคุณควำมดี และจัดเป็นตัวกำรที่กำจัดหรือขัดขวำง
จิตคนเรำไม่ให้บรรลุคุณธรรมควำมดี ได้แก่ กิเลสกาม กิเลสเป็นเหตุใคร่ ซึ่งจัดเป็นเจตสิก
(องค์ประกอบภำยในของจิต, สิ่งที่เกิดภำยในใจ) อันเศร้ำหมอง (อกุศลเจตสิก) ที่มีอยู่ภำยใน
จิตใจของคนเรำ โดยคอยรุมเร้ำจิตให้คิดโลภ โกรธ หลง มีชื่อเรียกต่ำงๆ เช่น ตัณหา ควำม
ทะยำนอยำก ราคะ ควำมกำหนัด อรติ ควำมขึ้งเคียด อิสสา ควำมริษยำ หรือหึงหวง เป็นต้น

กิเลสเหล่ำนี้เมื่อมีในจิตสันดำนของบุคคลใด ย่อมเป็นเหตุยังจิตของบุคคลนั้นให้มีควำมยินดี
รักใคร่ ปรำรถนำ ไขว่คว้ำเพื่อให้ได้มำซึ่งสิ่งต่ำงๆ และเศร้ำหมองเป็นไปตำมอำนำจของกิเลส
นั้นๆ เพรำะฉะนั้น ท่ำนจึงเรียกว่ำ กิเลสเป็นเหตุใคร่ เปรียบดังพืชที่มียำง เป็นเหตุให้เกิดรำก
ลำต้น กิ่งก้ำนต่อไปฉะนั้น กิเลสกามนี้ท่านจัดว่าเป็นมาร เพรำะเป็นโทษล้ำงผลำญคุณควำม
ดีและทำให้เสียคน คือทำให้มีสภำพจิตที่ไม่ดี
บ่วงแห่งมาร หมำยถึง อำรมณ์เครื่องผูกจิตให้ติดแห่งมำร เหมือนเนื้อเหยื่อล่อที่ถูก
เบ็ดเกี่ยวไว้ ได้แก่ วัตถุกาม วัตถุอันน่าใคร่ คือสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งควำมใคร่ ซึ่งเรียกว่ำ
กามคุณ ๕ คือ รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ อันเป็นอิฏฐำรมณ์ (อำรมณ์ที่น่ำปรำรถนำ)
บ่วงแห่งมำรนี้ไม่อำจคล้องบุคคลผู้ไม่ติดข้องอยู่ในโลกดังกล่ำวได้
สรุปความ
โลก คือแผ่นดินเป็นที่อำศัยและหมู่สัตว์ผู้อำศัย เป็นศูนย์รวมไว้ทั้งสิ่งที่มีโทษ สิ่งที่
อำจให้โทษในเมื่อลุ่มหลงเกินพอดี และสิ่งที่เป็นอุปกำระล่อใจ พวกคนเขลำไร้ปัญญำ
ไม่สำมำรถพิจำรณำเห็นโลกได้ตำมสภำพเป็นจริง ย่อมเพลิดเพลินในสิ่งที่เป็นโทษ ระเริงหลง
เกินพอดีในสิ่งอันอำจให้โทษ และติดอยู่ในสิ่งที่เป็นอุปกำระล่อใจ ชื่อว่ำหมกอยู่ในโลก
จึงไม่ได้รับควำมสุขที่แท้จริง ตรงกันข้ำมกับท่ำนผู้รู้คือบัณฑิตผู้ไม่ข้องอยู่ในโลก ย่อม
พิจำรณำเห็นควำมเป็นจริงในสิ่งสมมติว่ำโลกนั้นมีควำมเปลี่ยนแปลงไปตำมเหตุปัจจัยแล้ว
ไม่พัวพันในสิ่งอันเป็นอุปกำระล่อใจ ย่อมได้รับควำมสุขที่แท้จริง พระพุทธองค์ตรัสชักชวน
พุทธบริษัทมำดูโลกอันตระกำรตำดุจรำชรถนี้ มิใช่ให้เพลิดเพลินเหมือนดูละครที่มุ่ง
กำรบันเทิง แต่ทรงมีพระประสงค์ให้พิจำรณำหยั่งซึ้งถึงสภำพควำมเป็นจริงของสรรพสิ่งในโลก
เพื่อสำมำรถควบคุมจิตให้พ้นจำกมำร คือกิเลสกำม และจำกบ่วงแห่งมำร คือวัตถุกำม ซึ่ง
เรียกว่ำกำมคุณ ๕ โดยทรงแนะนำวิธีกำรสำรวมจิต ๓ วิธี คือ (๑) กำรควบคุมอินทรีย์ ๖
มิให้ยินดีในอำรมณ์ที่น่ำปรำรถนำ (๒) กำรเจริญสมถกัมมัฏฐำน คือกำรพิจำรณำดูควำมไม่
งำมของร่ำงกำยเป็นต้น และ (๓) กำรเจริญวิปัสสนำกัมมัฏฐำน คือกำรฝึกจิตให้เกิดปัญญำ

พิจำรณำโลกคือเบญจขันธ์โดยควำมเป็นไตรลักษณ์ ซึ่งนับเป็นวิธีที่ดีที่สุด ฉะนี้แล
สพฺเพ  สงฺขารา  อนิจฺจาติ

            สพฺเพ  สงฺขารา  ทุกฺขาติ

            สพฺเพ  ธมฺมา  อนตฺตาติ      ยทา  ปญฺญาย  ปสฺสติ

            อถ  นิพฺพินฺทติ  ทุกฺเข        เอส  มคฺโค  วิสุทฺธิยา

          เมื่อใด  เห็นด้วยปัญญาว่า  สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง  เป็นทุกข์  ธรรมทั้งหลายทั้งปวงเป็นอนัตตา  เมื่อนั้น  ย่อมหน่ายในทุกข์  นั่นทางแห่งวิสุทธิ

มัคควัคค    ธัมมบท


          สังขาร  ในพระพุทธพจน์นี้  ได้แก่  ขันธ์  ๕  คือ  รูป  เวทนา  สัญญา     สังขาร  วิญญาณ  (มีความหมายว่า  ถูกปัจจัย  คือ  กรรม  จิต  อุตุ  อาหาร  ปรุงแต่ง)

          สังขารในเบญจขันธ์  ได้แก่  อารมณ์อันเกิดกับจิต  เช่น  รัก  ชัง  วิตก  วิจาร     เป็นต้น  (มีความหมายว่า  เครื่องปรุงจิต)

        สังขารมีลักษณะเสมอกันเป็น  ๓  คือ

          ๑.  อนิจจตา  ความไม่เที่ยง

          ๒.  ทุกขตา  ความเป็นทุกข์

          ๓.  อนัตตตา  ความเป็นอนัตตา

อนิจจตา  ความไม่เที่ยง  กำหนดรู้ได้  ๓  ทาง
          ๑.  ความเกิดขึ้นในเบื้องต้น  และความสิ้นไปในเบื้องปลาย  ได้ในบาลีว่า

                        อนิจฺจา  วต  สงฺขารา  อุปฺปาทวยธมฺมิโน

                        อุปฺปชฺชิตฺวา  นิรุชฺฌนฺติ

            สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงหนอ  มีความเกิดขึ้นและความสิ้นไปเป็นธรรมดา  เกิดขึ้นแล้วย่อมดับไป

          ๒.  ความแปรในระหว่างเกิดและดับ  ได้ในบาลีว่า

                        อจฺเจนฺติ  กาลา  ตรยนฺติ  รตฺติโย

                              วโยคุณา  อนุปุพฺพํ  ชหนฺติ.

          กาลย่อมล่วงไป  ราตรีย่อมผ่านไป  ชั้นแห่งวัยย่อมละลำดับไป

          ระยะเวลาในระหว่างเกิดและดับ  เรียกว่า  วัย  แบ่งออกเป็น  ๓  คือ

              ๑.  ปฐมวัย      ระยะเวลาไม่เกิน  ๒๕  ปี

              ๒.  มัชฌิมวัย   ระยะเวลาอยู่ใน  ๕๐  ปี

              ๓.  ปัจฉิมวัย    ระยะเวลาพ้น  ๕๐  ปี  ออกไปจนตลอดอายุ

              ความแปรแห่งสังขารผ่านวัยทั้ง  ๓  นั้นเปรียบด้วยเดินข้ามสะพานสูงขึ้น  (ปฐมวัย)  แล้วราบ  (มัชฌิมวัย)  แล้วต่ำลง  ๆ  (ปัจฉิมวัย)         

          ๓.  ความแปรแห่งสังขารในชั่วขณะหนึ่ง  ๆ  คือ  ไม่คงที่อยู่นาน  เพียงในระยะกาลนิดเดียวก็แปรแล้ว  ได้ในคาถามาในวิสุทธิมรรค  ว่า

                        ชีวิตํ  อตฺตภาโว  จ       สุขทุกฺขา  จ  เกวลา

                              เอกจิตฺตสมา  ยุตฺตา       ลหุโส  วตฺตเต  ขโณ
          ชีวิต  อัตตภาพ  และสุขทุกข์ทั้งมวลประกอบกัน  เป็นธรรมเสมอด้วยจิตดวงเดียว  ขณะย่อมเป็นไปพลัน


          ความแปรเร็วอย่างนี้  ย่อมกำหนดเห็นชัดในนามกาย  (จิตใจ)  เช่น  บางขณะนึกอารมณ์อย่างนั้น  บางขณะนึกอารมณ์อย่างนี้  บางขณะสุข  บางขณะทุกข์  เป็นต้น

ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

ส่วนปรมัตถปฎิปทา
1.นิพพิทา ความเบื่อหน่าย
2.วิราคะ ความสิ้นกำหนัด
3.วิมุตติ ความหลุดพ้น
4.วิสุทธิ ความหมดจด
5.สันติ ความสงบ
6.นิพพาน
ส่วนสังสารวัฎฎ์
7.คติ ๒
8.กรรม ๑๒
9.หัวใจสมถกัมมัฎฐาน
10.สมถกัมมัฎฐาน
11.พุทธคุรกถา
12.วิปัสสนากัมมัฎฐาน

วันอังคารที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2561

หมวด ๒ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท

กัมมัฏฐาน 2
กัมมัฏฐาน แปลว่า การงานที่ควรทำในด้านจิตใจ เป็นที่ตั้งแห่งการปฏิบัติธรรม แบ่งเป็น 2 คือ
สมถกัมมัฏฐาน เป็นวิธีการปฏิบัติให้จิตใจสงบจากนิวรณ์ 5 ด้วยการบริกรรม
วิปัสสนากัมมัฏฐาน เป็นวิธีการปฏิบัติโดยการใช้ปัญญาพิจารณาดูธรรม
กาม 2
กาม หมายถึง ความรัก ความใคร ความพึงพอใจ ความต้องการ  กามมีสอง ได้แก่
กิเลสกาม  เป็นกิเลสที่อยู่ในจิตใจทำให้เกิดความอยากได้ เช่น ราคะ โลภะ อิจฉา อิสสา  อรติ
วัตถุกาม คือวัตถุอันน่าใคร่ อันได้แก่ กามคุณ 5 รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส
เกี่ยวเนื่องกันคือกิเลสกามเป็นตัวใคร่ วัตถุกามเป็นตัวที่ถูกใคร่
บูชา 2
บูชา คือ การเคารพนับถือบุคคลที่ควรยกย่อง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
อามิสบูชา คือ การบูชาสักการะด้วยวัตถุสิ่งของ
ปฏิปัตติบูชา คือ การบูชาด้วยการปฏิบัติตามคำสอน
ปฏิสันถาร 2
ปฏิสันถาร หมายถึง การต้อนรับกันฉันมิตร การรับแขกด้วยความเต็มใจ วิธีปฏิบัติรับแขกมี 2 วิธี คือ
อามิสปฏิสันถาร การรับแขกด้วยสิ่งของเครื่องบริโภคด้วยอัธยาศัยไมตรีที่งดงามให้สมกับเจ้าของบ้านหรือเจ้าถิ่น
ธัมมปฏิสันถาร  การรับแขกด้วยธรรม ด้วยกิริยาท่าทางที่แช่มชื่น ด้วยถ้อยคำทักทายที่เหมาะสมกับฐานะของแขก เช่น ลุกขึ้นยืนต้อนรับ เชิญให้นั่ง แสดงความเป็นกันเอง แนะนำให้รู้จักกันเพื่อความคุ้นเคย
สุข 2
สุข คือ ความสะดวกสบาย อารมณ์ที่ปรารถนา  ในที่นี้หมายถึงส่วนที่เป็นผลของความสุขอย่างเดียว ได้รับผล 2 ทาง คือ
กายิกสุข   คือ สุขทางกาย หมายถึง การมีสภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ไม่พิกลพิการ การทำงานหาเลี้ยงชีพได้อย่างเป็นปกติสุข
เจตสิกสุข  คือ สุขทางใจ หมายถึง ใจที่เป็นปกติสุขเพราะไม่ทุกข์ทางกาย  เป็นใจที่เบิกบานด้วยอำนาจแห่งปีติสุขและโสมนัส อันเป็นผลจากการระงับกิเลส
สุข ในแง่ของเหตุที่ทำให้เกิดสุข มี 2 อย่างเช่นกัน คือ
สามิสสุข  คือ สุขอิงอามิส หมายถึง สุขที่เกิดขึ้นได้เพราะมีเหยื่อล่อ โดยอาศัยผลประโยชน์หรือความต้องการของตนเป็นตัวก่อ เป็นความสุขเพราะการยึดถือซึ่งสิ่งที่ตนชอบใจ มักมีทุกข์ก่อนเกิดสุข คือเป็นทุกข์ในตอนอยาก เมื่อได้มาจึงจะสุข ในทางธรรมเรียกว่ากามคุณ คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส โผฏฐัพพะ

นิรามิสสุข  สุขไม่อิงอามิส หมายถึง สุขที่เกิดได้เพระาอาศัยความหลุดพ้นจากเหยื่อล่อ  สุขด้วยใจที่ปลอดโปร่ง ไม่ยึดติดกับสิ่งที่เป็นสุขหรือทุกข์ที่ประสบ เพราะรู้ว่าสิ่งเหล่านี้เป็นโลกธรรม  ทางธรรมเรียกว่าสุขที่เกิดขึ้นด้วยอาศัยเนกขัมมะ คือ ห้ามจิตไม่ให้เกี่ยวกับกามคุณและอาสวกิเลส

ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท

ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท
หมวด ๒(มี ๕ หัวข้อ)
หมวด ๓(มี  ๑๑ หัวข้อ)
หมวด ๔(มี ๖ หัวข้อ)
หมวด ๕(มี ๖ หัวข้อ)
หมวด ๖(มี ๒ หัวข้อ)
หมวด ๗(มี ๑ หัวข้อ)
หมวด ๘(มี ๑ หัวข้อ)

วันจันทร์ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2561

คิหิปฏิบัติ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 312) ชั้นตรี

กรรมกิเลส คือ กรรมเครื่องเศร้าหมอง ๔ อย่าง

๑. ปาณาติบาต ทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วง.
๒. อทินนาทาน ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ ด้วยอาการแห่งขโมย.
๓. กาเมสุ มิจฉาจาร ประพฤติผิดในกาม.
๔. มุสาวาท พูดเท็จ.
กรรม ๔ อย่างนี้ นักปราชญ์ไม่สรรเสริญเลย.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๙๕.

ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ คือ ประโยชน์ในปัจจุบัน ๔ อย่าง (๑)

๑. อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น ในการประกอบกิจเครื่องเลี้ยงชีวิตก็ดี ในการศึกษาเล่าเรียนก็ดี ในการทำธุระหน้าที่ของตนก็ดี.
๒. อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา คือรักษาทรัพย์ที่แสวงหามาได้ด้วยความหมั่น ไม่ให้เป็นอันตรายก็ดี รักษาการงานของตน ไม่ให้เสื่อมเสียไปก็ดี.
๓. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็นคนดี ไม่คบคนชั่ว.
๔. สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กำลังทรัพย์ที่หาได้ ไม่ให้ฝืดเคืองนัก ไม่ให้ฟูมฟายนัก.
องฺ. อฏฺฐก. ๒๓/๒๙๔.

มิตรแท้ ๔ จำพวก[แก้ไข]

๑. มิตรมีอุปการะ.
๒. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์.
๓. มิตรแนะประโยชน์.
๔. มิตรมีความรักใคร่.
มิตร ๔ จำพวกนี้ เป็นมิตรแท้ ควรคบ.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๑.
๑. มิตรมีอุปการะ มีลักษณะ ๔
(๑) ป้องกันเพื่อนผู้ประมาทแล้ว.
(๒) ป้องกันทรัพย์สมบัติของเพื่อนผู้ประมาทแล้ว.
(๓) เมื่อมีภัย เป็นที่พึ่งพำนักได้.
(๔) เมื่อมีธุระ ช่วยออกทรัพย์ให้เกินกว่าที่ออกปาก.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๑.
๒. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ มีลักษณะ ๔
(๑) ขยายความลับของตนแก่เพื่อน.
(๒) ปิดความลับของเพื่อนไม่ให้แพร่งพราย.
(๓) ไม่ละทิ้งในยามวิบัติ.
(๔) แม้ชีวิตก็อาจสละแทนได้.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๑.
๓. มิตรแนะประโยชน์ มีลักษณะ ๔
(๑) ห้ามไม่ให้ทำความชั่ว.
(๒) แนะนำให้ตั้งอยู่ในความดี.
(๓) ให้ฟังสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง.
(๔) บอกทางสวรรค์ให้.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๑.

๔. มิตรมีความรักใคร่ มีลักษณะ ๔
(๑) ทุกข์ ๆ ด้วย.
(๒) สุข ๆ ด้วย.
(๓) โต้เถียงคนที่พูดติเตียนเพื่อน.
(๔) รับรองคนที่พูดสรรเสริญเพื่อน.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๒.

สังคหวัตถุ ๔ อย่าง

๑. ทาน ให้ปันสิ่งของของตนแก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน.
๒. ปิยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน.
๓. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น.
๔. สมานัตตตา ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว.
คุณทั้ง ๔ อย่างนี้ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจของผู้อื่นไว้ได้.
องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๔๒.

ธรรมของฆราวาส ๔

๑. สัจจะ สัตย์ซื่อต่อกัน.
๒. ทมะ รู้จักข่มจิตของตน.
๓. ขันติ อดทน.
๔. จาคะ สละให้ปันสิ่งของของตนแก่ตนที่ควรให้ปัน.
สํ. ส. ๑๕/๓๑๖.

มิจฉาวณิชชา คือการค้าขายไม่ชอบธรรม ๕ อย่าง

๑. ค้าขายเครื่องประหาร.
๒. ค้าขายมนุษย์.
๓. ค้าขายสัตว์เป็นสำหรับฆ่าเพื่อเป็นอาหาร.
๔. ค้าขายน้ำเมา.
๕. ค้าขายยาพิษ.
การค้าขาย ๕ อย่างนี้ เป็นข้อห้ามอุบาสกไม่ให้ประกอบ.
องฺ. ปญฺจก. ๒๒/๒๓๒.

สมบัติของอุบาสก ๕ ประการ

๑. ประกอบด้วยศรัทธา.
๒. มีศีลบริสุทธิ์.
๓. ไม่ถือมงคลตื่นข่าว คือเชื่อกรรม ไม่เชื่อมงคล.
๔. ไม่แสวงหาเขตบุญนอกพุทธศาสนา.
๕. บำเพ็ญบุญแต่ในพุทธศาสนา.
อุบาสกพึงตั้งอยู่ในสมบัติ ๕ ประการ และเว้นจากวิบัติ ๕ ประการ ซึ่งวิปริตจากสมบัตินั้น.
องฺ. ปญฺจก. ๒๒/๒๓๐.

ทิศ ๖

๑. ปุรัตถิมทิส คือทิศเบื้องหน้า มารดาบิดา.
๒. ทักขิณทิส คือทิศเบื้องขวา อาจารย์.
๓. ปัจฉิมทิศ คือทิศเบื้องหลัง บุตรภรรยา.
๔. อุตตรทิส คือทิศเบื้องซ้าย มิตร.
๕. เหฏฐิมทิส คือทิศเบื้องต่ำ บ่าว.
๖. อุปริมทิส คือทิศเบื้องต้น สมณพราหมณ์.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๓.
๑. ปุรัตถิมทิส คือทิศเบื้องหน้า มารดาบิดา บุตรพึงบำรุงด้วยสถาน ๕
(๑) ท่านได้เลี้ยงมาแล้ว เลี้ยงท่านตอบ.
(๒) ทำกิจของท่าน.
(๓) ดำรงวงศ์สกุล.
(๔) ประพฤติตนให้เป็นคนควรรับทรัพย์มรดก.
(๕) เมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ทำบุญอุทิศให้ท่าน.
ที. ปาฏิ. ๑๐/๒๐๓.
มารดาบิดาได้รับบำรุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์บุตรด้วยสถาน ๕
(๑) ห้ามไม่ให้ทำความชั่ว.
(๒) ให้ตั้งอยู่ในความดี.
(๓) ให้ศึกษาศิลปวิทยา.
(๔) หาภรรยาที่สมควรให้.
(๕) มอบทรัพย์ให้ในสมัย.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๓.
๒. ทักขิณทิส คือทิศเบื้องขวา อาจารย์ ศิษย์พึงบำรุงด้วยสถาน ๕
(๑) ด้วยลุกขึ้นยืนรับ.
(๒) ด้วยเข้าไปยืนคอยรับใช้.
(๓) ด้วยเชื่อฟัง.
(๔) ด้วยอุปัฏฐาก.
(๕) ด้วยเรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๓.
อาจารย์ได้รับบำรุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์ศิษย์ด้วยสถาน ๕
(๑) แนะนำดี.
(๒) ให้เรียนดี.
(๓) บอกศิลปให้สิ้นเชิง ไม่ปิดบังอำพราง.
(๔) ยกย่องให้ปรากฏในเพื่อนฝูง.
(๕) ทำความป้องกันในทิศทั้งหลาย (คือจะไปทางทิศไหนก็ไม่อดอยาก).
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๔.
๓. ปัจฉิมทิส คือทิศเบื้องหลัง ภรรยา สามีพึงบำรุงด้วยสถาน ๕
(๑) ด้วยยกย่องนับถือว่าเป็นภรรยา.
(๒) ด้วยไม่ดูหมิ่น.
(๓) ด้วยไม่ประพฤติล่วงใจ.
(๔) ด้วยมอบความเป็นใหญ่ให้.
(๕) ด้วยให้เครื่องแต่งตัว.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๔.
ภรรยาได้รับบำรุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์สามีด้วยสถาน ๕
(๑) จัดการงานดี.
(๒) สงเคราะห์คนข้างเคียงของผัวดี.
(๓) ไม่ประพฤติล่วงใจผัว.
(๔) รักษาทรัพย์ที่ผัวหามาได้ไว้.
(๕) ขยันไม่เกียจคร้านในกิจการทั้งปวง.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๔.
๔. อุตตรทิส คือทิศเบื้องซ้าย มิตร กุลบุตรพึงบำรุงด้วยสถาน ๕
(๑) ด้วยให้ปัน.
(๒) ด้วยเจรจาถ้อยคำไพเราะ.
(๓) ด้วยประพฤติประโยชน์.
(๔) ด้วยความเป็นผู้มีตนเสมอ.
(๕) ด้วยไม่แกล้งกล่าวให้คลาดจากความเป็นจริง.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๔.
มิตรได้รับบำรุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์กุลบุตรด้วยสถาน ๕
(๑) รักษามิตรผู้ประมาทแล้ว.
(๒) รักษาทรัพย์ของมิตรผู้ประมาทแล้ว.
(๓) เมื่อมีภัย เอาเป็นที่พึ่งพำนักได้.
(๔) ไม่ละทิ้งในยามวิบัติ.
(๕) นับถือตลอดถึงวงศ์ของมิตร.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๕.
๕. เหฏฐิมทิส คือทิศเบื้องต่ำ บ่าว นายพึงบำรุงด้วยสถาน ๕
(๑) ด้วยจัดการงานให้ทำตามสมควรแก่กำลัง.
(๒) ด้วยให้อาหารและรางวัล.
(๓) ด้วยรักษาพยาบาลในเวลาเจ็บไข้.
(๔) ด้วยแจกของมีรสแปลกประหลาดให้กิน.
(๕) ด้วยปล่อยในสมัย.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๕.
บ่าวได้รับบำรุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์นายด้วยสถาน ๕
(๑) ลุกขึ้นทำการงานก่อนนาย.
(๒) เลิกการงานทีหลังนาย.
(๓) ถือเอาแต่ของที่นายให้.
(๔) ทำการงานให้ดีขึ้น.
(๕) นำคุณของนายไปสรรเสริญในที่นั้น ๆ.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๕.
๖. อุปริมทิส คือทิศเบื้องบน สมณพราหมณ์ กุลบุตรพึงบำรุงด้วยสถาน ๕
(๑) ด้วยกายกรรม คือทำอะไร ๆ ประกอบด้วยเมตตา.
(๒) ด้วยวจีกรรม คือพูดอะไร ๆ ประกอบด้วยเมตตา.
(๓) ด้วยมโนกรรม คือคิดอะไร ๆ ประกอบด้วยเมตตา.
(๔) ด้วยความเป็นผู้ไม่ปิดประตู คือมิได้ห้ามเข้าบ้านเรือน.
(๕) ด้วยให้อามิสทาน.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๕.
สมณพราหมณ์ได้รับบำรุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์กุลบุตรด้วยสถาน ๖
(๑) ห้ามไม่ให้กระทำความชั่ว.
(๒) ให้ตั้งอยู่ในความดี.
(๓) อนุเคราะห์ด้วยน้ำใจอันงาม.
(๔) ให้ได้ฟังสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง.
(๕) ทำสิ่งที่เคยฟังแล้วให้แจ่ม.
(๖) บอกทางสวรรค์ให้.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๖.

อบายมุข คือเหตุเครื่องฉิบหาย ๖

(๑) ดื่มน้ำเมา.
(๒) เที่ยวกลางคืน.
(๓) เที่ยวดูการเล่น.
(๔) เล่นการพนัน.
(๕) คบคนชั่วเป็นมิตร.
(๖) เกียจคร้านทำการงาน.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๙๖.
๑. ดื่มน้ำเมา มีโทษ ๖
(๑) เสียทรัพย์.
(๒) ก่อการทะเลาะวิวาท.
(๓) เกิดโรค.
(๔) ต้องติเตียน.
(๕) ไม่รู้จักอาย.
(๖) ทอนกำลังปัญญา.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๙๖.
๒. เที่ยวกลางคืน มีโทษ ๖
(๑) ชื่อว่าไม่รักษาตัว.
(๒) ชื่อว่าไม่รักษาลูกเมีย.
(๓) ชื่อว่าไม่รักษาทรัพย์สมบัติ.
(๔) เป็นที่ระแวงของคนทั้งหลาย.
(๕) มักถูกใส่ความ.
(๖) ได้ความลำบากมาก.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๙๗.
๓. เที่ยวดูการเล่น มีโทษตามวัตถุที่ไปดู ๖
(๑) รำที่ไหนไปที่นั้น.
(๒) ขับร้องที่ไหนไปที่นั้น.
(๓) ดีดสีตีเป่าที่ไหนไปที่นั้น.
(๔) เสภาที่ไหนไปที่นั้น.
(๕) เพลงที่ไหนไปที่นั้น.
(๖) เถิดเทิงที่ไหนไปที่นั้น.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๙๗.
๔. เล่นการพนัน มีโทษ ๖
(๑) เมื่อชนะย่อมก่อเวร.
(๒) เมื่อแพ้ย่อมเสียดายทรัพย์ที่เสียไป.
(๓) ทรัพย์ย่อมฉิบหาย.
(๔) ไม่มีใครเชื่อถือถ้อยคำ.
(๕) เป็นที่หมิ่นประมาทของเพื่อน.
(๖) ไม่มีใครประสงค์จะแต่งงานด้วย.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๙๗.
๕. คบคนชั่วเป็นมิตร มีโทษตามบุคคลที่คบ ๖
(๑) นำให้เป็นนักเลงการพนัน.
(๒) นำให้เป็นนักเลงเจ้าชู้.
(๓) นำให้เป็นนักเลงเหล้า.
(๔) นำให้เป็นคนลวงเขาด้วยของปลอม.
(๕) นำให้เป็นคนลวงเขาซึ่งหน้า
(๖) นำให้เป็นคนหัวไม้.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๙๗.
๖. เกียจคร้านทำการงาน มีโทษ ๖
(๑) มักให้อ้างว่า หนาวนัก แล้วไม่ทำการงาน.
(๒) มักให้อ้างว่า ร้อนนัก แล้วไม่ทำการงาน.
(๓) มักให้อ้างว่า เวลาเย็นแล้ว แล้วไม่ทำการงาน.
(๔) มักให้อ้างว่า ยังเช้าอยู่ แล้วไม่ทำการงาน.
(๕) มักให้อ้างว่า หิวนัก แล้วไม่ทำการงาน.
(๖) มักให้อ้างว่า ระหายนัก แล้วไม่ทำการงาน.
ผู้หวังความเจริญด้วยโภคทรัพย์ พึงเว้นเหตุเครื่องฉิบหาย ๖ ประการนี้เสีย.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๙๗.