วันจันทร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2561

วิสุทธิ ความหมดจด ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

วิสุทธิ ความหมดจด หมำยถึงควำมบริสุทธิ์ คือกำรชำระจิตของตนให้หมดจด
บริสุทธิ์ผ่องแผ้วจำกกิเลสำสวะทั้งปวง ควำมหมดจดนี้ย่อมเกิดได้ด้วยปัญญำ
หลักความหมดจดในลัทธิศาสนาอื่น : ลัทธิศำสนำพรำหมณ์ถือว่ำ ควำมหมดจด
จะมีได้ด้วยกำรชำระบำป โดยทำพิธีลอยบำปทิ้งเสียในแม่น้ำคงคำ (หรือเรียกว่ำอำบน้ำชำระ
บำปได้) ลัทธิศำสนำอื่นๆ เช่นคริสต์ศำสนำ ถือว่ำ ควำมหมดจดจะมีได้ด้วยกำรสวดมนต์
อ้อนวอนพระผู้เป็นเจ้ำเพื่อทรงยกโทษให้
หลักความหมดจดในพระพุทธศาสนา : พระพุทธศำสนำถือว่ำ ควำมหมดจดจะมี
ได้ด้วยปัญญำเท่ำนั้น จะมีด้วยเหตุอื่นหำได้ไม่ นั่นหมำยควำมว่ำ บุญบำปจะมีได้เพรำะ
ตนเองเป็นผู้ทำ ไม่มีใครมำช่วยทำให้บริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์ได้ ดังพระบำลีในขุททกนิกำย
ธรรมบท ว่ำ
“ทาบาปเอง ย่อมเศร้าหมองเอง ไม่ทาบาปเอง ย่อมหมดจดเอง ความหมดจด
และความเศร้าหมอง เป็นของเฉพาะตน คนอื่นยังคนอื่นให้หมดจดหาได้ไม่”
ความบริสุทธิ์ภายในย่อมมีด้วยปัญญา กล่ำวคือ ควำมหมดจดจำกกิเลสำสวะอัน
นอนเนื่องอยู่ภำยในขันธสันดำน จะต้องอำศัยปัญญาพิจารณาตามความเป็นจริง เรียกว่ำ
วิปัสสนาญาณ ๙ ซึ่งจัดเป็นขั้นๆ สูงขึ้นไปตำมลำดับ ๙ ขั้น ดังนี้
๑) อุทยัพพยญาณ หรือ อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ญาณหยั่งเห็นความเกิดและ
ความดับ คือปัญญำพิจำรณำควำมเกิดขึ้นและควำมดับไปแห่งสังขำรหรือเบญจขันธ์ จนเห็น
ประจักษ์ชัดว่ำสังขำรทั้งหลำยทั้งปวงเกิดขึ้นแล้วก็ต้องดับไป
๒) ภังคญาณ หรือ ภังคานุปัสสนาญาณ ญาณหยั่งเห็นความเสื่อมสลาย คือปัญญำ
พิจำรณำเห็นว่ำ สังขำรทั้งหลำยทั้งปวงมีกำรแตกสลำยย่อยยับไป
๓) อาทีนวญาณ หรือ อาทีนวานุปัสสนาญาณ ญาณหยั่งเห็นโทษ คือปัญญำ
พิจำรณำเห็นสังขำรทั้งหลำยทั้งปวงว่ำเป็นโทษ มีควำมบกพร่อง เจือปนด้วยทุกข์
๔) ภยตูปัฏฐานญาณ ญาณหยั่งเห็นสังขารปรากฏโดยเป็นของน่ากลัว คือปัญญำ
พิจำรณำเห็นสังขำรทั้งหลำยทั้งปวง ทั้งที่เป็นไปในอดีต ปัจจุบัน และอนำคต ล้วนปรำกฏ
เป็นของน่ำสะพรึงกลัว
๕) นิพพิทาญาณ หรือ นิพพิทานุปัสสนาญาณ ญาณหยั่งเห็นความหน่าย คือ
ปัญญำพิจำรณำเห็นสังขำรว่ำเป็นโทษน่ำกลัวเช่นนั้นแล้ว จึงเกิดควำมหน่ำยในสังขำร
๖) มุญจิตุกัมยตาญาณ ญาณหยั่งเห็นด้วยใคร่จะพ้นไปเสีย คือปัญญำพิจำรณำจน
เกิดควำมหน่ำยสังขำรทั้งหลำยแล้วเกิดควำมปรำรถนำที่จะพ้นไปเสียจำกสังขำรเหล่ำนั้น
๗) ปฏิสังขาญาณ ญาณพิจารณาหาทาง คือปัญญำพิจำรณำสังขำรทั้งหลำย โดย
ยกขึ้นสู่ไตรลักษณ์ เพื่อหำอุบำยที่จะปลดเปลื้องจิตออกไปจำกควำมหน่ำยนั้น
๘) สังขารุเปกขาญาณ ญาณวางเฉยในสังขาร คือปัญญำพิจำรณำรู้เห็นสังขำรตำม
ควำมเป็นจริงว่ำ มีควำมเป็นอยู่ เป็นไปอย่ำงนั้นเป็นธรรมดำ จึงวำงจิตเป็นกลำงในสังขำร
ทั้งหลำย จำกนั้นจึงละควำมเกี่ยวเกำะในสังขำรเสียได้
๙) สัจจานุโลมิกญาณ หรือ อนุโลมญาณ ญาณอันเป็นไปโดยอนุโลมแก่การหยั่งรู้
อริยสัจ คือเมื่อเกิดสังขำรุเปกขำญำณ จิตก็เป็นกลำงต่อสังขำรทั้งหลำย และญำณนั้นมุ่งตรง
ต่อนิพพำน จึงเกิดปัญญำที่สูงขึ้นอีกขั้นหนึ่ง เป็นขั้นสุดท้ำยของวิปัสสนำญำณ คือญำณอัน

คล้อยต่อกำรตรัสรู้อริยสัจ ย่อมเกิดขึ้นเป็นลำดับถัดมำ จำกนั้นก็จะเกิด โคตรภูญาณ ญาณ
วิสุทธิ ๗ คือทำงแห่งควำมหมดจดด้วยปัญญำที่อุดหนุนส่งเสริมกันให้สูงขึ้น
ไปเป็นขั้นๆ ไปตำมลำดับ ๗ ขั้น ดังนี้
๑) สีลวิสุทธิ ความหมดจดแห่งศีล หมำยถึงกำรรักษำศีลตำมภูมิชั้นของตนให้
บริสุทธิ์ และให้เป็นไปเพื่อสมำธิ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สงเคราะห์
เข้าในข้อนี้
๒) จิตตวิสุทธิ ความหมดจดแห่งจิต หมำยถึงควำมหมดจดแห่งจิตที่เกิดจำกกำร
บำเพ็ญสมำธิจิตจนได้บรรลุฌำนสมำบัติ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สงเคราะห์
เข้าในข้อนี้
๓) ทิฏฐิวิสุทธิ ความหมดจดแห่งทิฏฐิ หมำยถึงควำมหมดจดแห่งควำมคิดเห็นที่เกิด

จำกควำมรู้ควำมเข้ำใจ สำมำรถมองเห็นนำมรูปหรือเบญจขันธ์ตำมที่เป็นจริง
๔) กังขาวิตรณวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็นเหตุข้ามพ้นความสงสัย หมำยถึง
ควำมหมดจดแห่งปัญญำที่พิจำรณำเห็นควำมเป็นไปแห่งสังขำรอันเนื่องมำจำกเหตุปัจจัย
ปรุงแต่ง ดังพระพุทธพจน์ในพระไตรปิฎก ว่ำ “พืชอย่างใดอย่างหนึ่งที่บุคคลหว่านในนาย่อม
งอกขึ้นได้ เพราะอาศัยเหตุ ๒ อย่าง คือ รสในแผ่นดินและยางในพืช ฉันใด ขันธ์ ธาตุ และ
อายตนะ ๖ เหล่านี้ ก็เกิดขึ้นเพราะอาศัยเหตุปัจจัย ดับไปเพราะเหตุปัจจัยดับ ฉันนั้น” แล้ว
กำจัดควำมสงสัยทั้งปวงในนำมรูปเสียได้
๕) มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณที่รู้เห็นว่าเป็นทางหรือ
มิใช่ทาง หมำยถึงควำมหมดจดด้วยกำรเริ่มเจริญวิปัสสนำพิจำรณำสิ่งที่รวมกันอยู่เป็น
กลุ่มก้อน จนเห็นควำมเกิดขึ้นและควำมเสื่อมไปแห่งสังขำรทั้งหลำย แล้วเกิดวิปัสสนูปกิเลส
(สิ่งที่เป็นอุปสรรคขัดขวำงมิให้กำรเจริญวิปัสสนำรุดหน้ำไป) ๑๐ อย่ำง คือ โอภาส
แสงสว่ำง, ญาณ ควำมรู้, ปีติ ควำมอิ่มใจ, ปัสสัทธิ ควำมสงบ, สุข ควำมสบำย, อธิโมกข์
ควำมน้อมใจเชื่อ, ปัคคาหะ ควำมเพียรประคองจิต, อุปัฏฐาน ควำมปรำกฏชัดแห่งสติ,
อุเบกขำ ควำมวำงจิตเป็นกลำง และนิกันติ ควำมพอใจในวิปัสสนำ เมื่อวิปัสสนูปกิเลส
๑๐ อย่ำงนี้เกิดขึ้น ก็ใช้โยนิโสมนสิกำรกำหนดได้ว่ำมิใช่ทำง ส่วนวิปัสสนำที่เริ่มดำเนินเข้ำสู่
วิถีนั่นแหละเป็นทำงถูกต้อง แล้วเตรียมที่จะประคองจิตไว้ในวิปัสสนำญำณนั้นต่อไป
๖) ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณอันรู้เห็นทางดาเนิน หมำยถึง
ควำมหมดจดแห่งควำมรู้เห็นชัดในข้อปฏิบัติด้วยกำรประกอบควำมเพียรในวิปัสสนำญำณ ๙
ดังกล่ำว โดยเริ่มตั้งแต่ อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ที่พ้นจำกอุปกิเลสดำเนินเข้ำสู่วิถีทำงนั้น
เป็นต้นไปจนถึง สัจจานุโลมิกญาณ อันเป็นที่สุดแห่งวิปัสสนำ ต่อจำกนั้นก็จะเกิด โคตรภูญาณ
คั่นระหว่ำงวิสุทธิข้อนี้กับข้อสุดท้ำย เป็นรอยต่อแห่งควำมเป็นปุถุชนกับควำมเป็นอริยบุคคล
๗) ญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณทัสสนะ หมำยถึงควำมหมดจดที่เกิด
จำกควำมรู้เห็นด้วยปัญญำในอริยมรรค ๔ มีโสดำปัตติมรรคเป็นต้น อันเกิดถัดจำกโคตรภูญำณ
เป็นต้นไป เมื่อมรรคจิตเกิดขึ้นแล้ว ผลจิตย่อมเกิดขึ้น เป็นอันบรรลุจุดหมำยสูงสุด
ในพระพุทธศำสนำ
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สงเคราะห์เข้าในวิสุทธิทั้ง ๕ ข้อดังกล่าวมานี้ คือข้อ
๓ ถึง ข้อ ๗ โดยสัมมาสังกัปปะทำกิจพิจารณา สัมมาทิฏฐิทำกิจสันนิษฐาน คือความ

ตกลงใจ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น