๑.ให้รู้จักสังเกตคำถามว่า ระบุลักษณะมีเจตนาเป็นต้นชัดเจนหรือเคลือบคลุม เช่น ถามว่าภิกษุดื่มน้ำมีตัวสัตว์ต้องอาบัติอะไร เช่นนี้เป็นคำถามอันเคลือบคลุม ไม่ได้ระบุเจตนาและไม่ได้ระบุชนิดสัตว์ อันจะปรับเป็นปาจิตตียได้ ต่อเมื่อได้ความว่าเป็นสัตว์ที่อาศัยน้ำ และภิกษุรู้ว่าในน้ำนั้นมีสัตว์ชนิดนั้น
๒.ให้รู้จักเทียบเคียงสิกขาบทอันละม้ายกัน มีอนิยตสองเป็นตัวอย่าง
๓.ให้รู้จักสังเกตว่า บางสิ่งบางอย่าง กล่าวในหลายสิกขาบท เช่น การทำจีวร เป็นเหตุให้ได้รับยกเว้นต่าง ๆ
๕.ให้รู้จักใช้ความจำ เช่นลำดับแห่งสิกขาบทเป็นต้น
๖.ให้รู้จักยันหลักของตนให้มั่น อย่าให้น้อมใจไปตามคำถาม
๗.ให้รู้จักวางบทตัดสิน
๘.ให้รู้จักสันนิษฐานความให้เข้าหลัก เช่น อย่างไร เป็นมุสาวาท อย่างไร เป็นฆ่าสัตว์
๙.ให้รู้จักสันนิษฐานว่าถึงที่สุดหรือยัง
๑๐.ให้รู้จักความมุ่งหมายเป็นเหตุบัญญัติสิกขาบท
๑๑.ให้รู้จักกำหนดสิกขาบทอันเป็นเหตุสมมุ่งหมาย หรืออันกลายไปเสียแล้ว
หนังสือนักธรรมชั้นตรี,นักธรรมตรีpdf,นักธรรมตรี,สรุปนักธรรมตรี,ข้อสอบนักธรรมตรี,เก็งข้อสอบนักธรรมตรี
- หน้าแรก
- พุทธประวัติ
- ธรรมวิภาค
- เบญจศีล-เบญจธรรม
- แบบกระทู้ธรรมชั้นตรี
- แบบกระทู้ธรรมชั้นโท
- แบบกระทู้ธรรมชั้นเอก
- หมวด พุทธศาสนสุภาษิต
- อนุพุทธประวัติชั้นโท
- ดาวโหลดหนังสือธรรมศึกษาชั้นตรี โท เอก
- Download ข้อสอบนักธรรมและธรรมศึกษา ปี 2559-2563
- ประวัตินักธรรม-ธรรมศึกษา โดยสังเขป
- ขอบข่ายการเรียนการสอนธรรมศึกษา 2561
- ขอบข่ายธรรมศึกษา ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป
- ข้อสอบนักธรรมตรี-โท-เอก[ย้อนหลัง]
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ คำแนะนำในการแต่งปัญหาวินัยบัญญัติ แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ คำแนะนำในการแต่งปัญหาวินัยบัญญัติ แสดงบทความทั้งหมด
วันอาทิตย์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2560
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)