ตอบ อยู่ด้วยกัน ๕ รูปพึงท˚าปวารณาเป็นการสงฆ์
อยู่ด้วยกัน ๔ รูป ๓ รูป ๒ รูป พึงท˚าปวารณาเป็นการคณะ อยู่รูปเดยว พึงอธิษฐานเป็นการบุคคล ฯ
(ปี 51) ในวัดหนึ่งมีภิกษุจ˚าพรรษา ๔ รูป เมื่อถึงวันปวารณาออกพรรษาพึงท˚าอย่างไร? ถ้ามีภิกษุอาคันตุกะสตตาหะมาสมทบอีก ๕ รูป จะพึง ปฏิบัติอย่างไร? ตอบ ในวันมหาปวารณาพึงท˚าคณะปวารณา โดยรูปหนึ่งตั้งญัตติแล้วกล่าวปวารณาตามล˚าดับพรรษา ฯ ถ้ามีภิกษุอาคันตุกะสัตตาหะมาเพิ่มอีก ๕ รูป พึงท˚าปวารณาเป็นสังฆปวารณา แล้วกล่าวปวารณาตามล˚าดับพรรษา ฯ
(ปี 48) การอธิษฐานเข้าพรรษา กับการปวารณาออกพรรษา ทั้ง ๒ นี้ อย่างไหนก˚าหนดด้วยสงฆ์เท่าไร? และก˚าหนดเขตอย่างไร?
ตอบ การอธิษฐานเข้าพรรษาไม่เป็นสังฆกรรมจึงไม่ก˚าหนดด้วยสงฆ์ แต่เป็นธรรมเนียมปฏิบัติอธิษฐานเข้าพรรษาพร้อมๆ กัน จะอธิษฐานที่ไหนก็ได แต่ท่านห้ามไม่ให้จ˚าพรรษาในที่ไม่สมควรเท่านั้น เช่น ในโพรงไม้ บนค่าคบไม้ ในตุ่ม หรือในกระท่อมผี เป็นต้น ฯ และให้ก˚าหนดบริเวณอาวาสเป็น เขต ฯ ส่วนการปวารณาออกพรรษาเป็นสังฆกรรม ก˚าหนดด้วยสงฆ์ตั้งแต่ ๕ รูปขึ้นไป ฯ
และก˚าหนดให้ท˚าภายในเขตสมา ถ้าต˚่ากว่า ๕ รูป ท่านให้ปวารณาเป็นการคณะถ้ารูปเดียวให้อธิษฐานเป็นการบุคคล ฯ
(ปี 47) ในอาวาสแห่งหนึ่งมีภิกษจ˚าพรรษาแรก ๔ รูป พรรษาหลัง ๒ รูป เมื่อถึงวันปวารณาแรก (เพ็ญเดือน ๑๑) และวันปวารณาหลัง (เพ็ญเดือน
๑๒) เธอทั้ง ๖ รูปนั้น จะปฏิบัติอย่างไร?
ตอบ เมื่อถึงวันปวารณาแรก พึงประชุมกันทั้ง ๖ รูปแล้ว ตั้งสังฆญต ริสุทธิอุโบสถในส˚านักภิกษุ ๔ รูปนั้น
ติ ภิกษุผู้จ˚าพรรษาแรก ๔ รูปพึงปวารณา เมื่อเสร็จแล้วภิกษุอีก ๒ รูปพึงท˚าปา
เมื่อถึงวันปวารณาหลัง พึงประชุมกัน ๖ รูปเช่นเดยวกันแล้ว ภิกษุผจ˚าพรรษาแรก ๔ รูป พึงตั้งญัตติสวดปาฏิโมกข์ เมื่อจบแล้วภิกษุ ๒ รูป พึง ปวารณาในส˚านักภิกษุ ๔ รูปนั้น ฯ
(ปี 45) วันปวารณา และอาการที่กระท˚า คืออะไรบ้าง? การตั้งญัตตในสังฆปวารณามีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?
ตอบ วันปวารณามี ๓ คือ จาตุททสี ที่ ๑๔ ค˚่า ๑ ปัณณรสี ที่ ๑๕ ค˚่า ๑ สามัคคีวันที่ภิกษุสงฆ์พร้อมเพรียงกัน ๑ ฯ อาการที่กระท˚ามี ๓ คือ ปวารณาต่อที่ประชุม ๑ ปวารณากันเอง ๑ อธิษฐานใจ ๑ ฯ
มี ๕ อย่าง คือ เตวาจิกาญัตติ ๑ เทววาจิกาญัตติ ๑ เอกวาจิกาญัตติ ๑ สมานวัสสิกาญัตติ ๑ สัพพสังคาหิกาญัตติ ๑ ฯ
(ปี 44) ภิกษุจ˚าพรรษา ๑ รูป ๒, ๓, ๔, ๕ รูป เมื่อถึงวันปวารณาพึงปฏิบัติอย่างไร? เหตุที่ท˚าให้เลื่อนปวารณาได้มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? ตอบ พึงปฏิบัติอย่างนี้ ภิกษุ ๑ รูป พึงอธิษฐานเป็นการบุคคล, ภิกษุ ๒, ๓, ๔ รูป พึงท˚าคณะปวารณา, ภิกษุ ๕ รูปขึ้นไปพึงท˚าสังฆปวารณา มี ๒ อย่างคือ ๑. ภิกษุจะเข้ามาสมทบปวารณาด้วย ด้วยหมายจะคัดค้านผู้นั้นผู้นี้ ท˚าให้เกิดอธิกรณ์ขึ้น
๒. อยู่ด้วยกันเป็นผาสุก ปวารณาแล้วต่างจะจากกันจาริกไปเสีย
อุปปถกิริยา
การประพฤตินอกลู่นอกทางของสมณะ
๑. อนาจาร ความประพฤติไม่ดีไม่งามและการเล่นต่างๆ ที่ไม่เหมาะสมแก่ความเป็นบรรชิต ท่านปรับอาบัติทุกกฏ
๒. ปาปสมาจาร การประทุษร้ายตระกูล หมายถึง การประพฤติตัวไม่เหมาะสมของภิกษุสามเณรต่อชาวบ้านที่ตนคบค้าสมาคมด้วยอาการ
๒ อย่างคือ ๑.อาการที่เนื่องด้วยการสมาคม ๒.อาการที่เนื่องด้วยการรุกรานหรือตัดรอน
๓. อเนสนา การหาเลยงชีพในทางที่ไม่เหมาะสมของภิกษุสามเณร เป็นการกระท˚าทไี่ ม่บริสุทธิ์น่าติเตียน และน่ารังเกียจ มี ๒ ประเภท คือ การแสวงหาที่เป็นโลกวัชชะ และการแสวงหาที่เป็นปัณณัติวัชชะ
(ปี 64, 58) อุปปถกิริยา คืออะไร ? มีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?
ตอบ คือการท˚านอกรีตนอกรอยของสมณะ ฯ มี ๓ อย่าง ฯ คือ ๑.อนาจาร ได้แก่ความประพฤติไม่ดไี ม่งาม
๒.ปาปสมาจาร ได้แก่ความประพฤติเลวทราม ๓.อเนสนา ได้แก่ความหาเลี้ยงชีพไม่สมควร ฯ
(ปี 64, 59, 45) ภิกษุได้ชื่อว่า "กุลปสาทโก ผู้ยังตระกูลให้เลื่อมใส" เพราะมีปฏิปทาอย่างไร ?
ตอบ เพราะมีปฏิปทาอย่างนี้ คือเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอาจาระ ไม่ทอดตนเป็นคนสนิทของสกุล โดยฐานเป็นคนเลว และอีกอย่างหนึ่ง ไม่รุกรานตัด รอนเขา แสดงเมตตาจิตต่อเขา ประพฤติพอดีพองาม ยังความเลื่อมใสนับถือของเขาให้เกิดในตน ฯ
(ปี 63, 60) อเนสนาได้แก่อะไร ? มีอะไรบ้าง ?
ตอบ อเนสนา ได้แก่ กิริยาแสวงหาเลี้ยงชีพในทางไม่สมควร ฯ
มี ๒ อย่าง คือ ๑. การแสวงหาเป็นโลกวัชชะ มีโทษทางโลก ๒. การแสวงหาเป็นปัณณตติวัชชะ มีโทษทางพระบัญญัติ ฯ
(ปี 62, 50) ดิรัจฉานวิชาไม่ดีอย่างไร พระศาสดาจึงตรัสห้ามไว้ ไม่ให้บอกไม่ให้เรียน ?
ตอบ เป็นความรู้ที่เขาสงสัยว่าลวงหรือหลง ไม่ใช่ความรู้จริงจัง ผู้บอกเป็นผู้ลวง ผู้เรียนก็เป็นผู้หัด เพื่อจะลวงหรือเป็นผู้หลงงมงาย ฉะนั้นพระ ศาสดาจึงตรัสห้ามไว้ ไม่ให้บอกไม่ให้เรียน ฯ
(ปี 61) ปาปสมาจาร คืออะไร ? ภิกษุชื่อว่า กุลปสาทโก เพราะประพฤติอย่างไร ?
ตอบ คือ ความประพฤติเลวทราม เนื่องด้วยการคบคฤหัสถ์ด้วยการสมาคมอันมิชอบ ฯ เพราะประพฤติพอดีพองาม ยังความเลื่อมใสนับถือของเขาให้เกิดในตน เป็นศรีของพระศาสนา ฯ (ปี 59) อนาจาร หมายถึงอะไร ? เล่นอย่างไรบ้าง จัดเป็นอนาจาร ?
ตอบ อนาจาร หมายถึง ความประพฤติไม่ดไี ม่งาม และการเล่นมีประการต่าง ๆ ฯ เล่นอย่างเด็ก เล่นคะนอง เล่นพนัน เล่นปู้ยี่ปู้ย˚า เล่นอึงคะนึง จัดเป็นอนาจาร ฯ
(ปี 56) ภิกษุได้ชื่อว่าผู้ประทุษร้ายสกุล กับภิกษุได้ชื่อว่าผยังสกุลให้เลื่อมใส เพราะมีความประพฤติตา่ งกันอย่างไร?
ตอบ ต่างกันอย่างนี้ ภิกษุผู้ประทุษร้ายสกุล เป็นผู้ประพฤติให้เขาเสยศรัทธาเลื่อมใส ประจบเขาด้วยกิริยาท˚าตนอย่างคฤหัสถ์ ให้ของก˚านัลแก่สกุล อย่างคฤหัสถ์เขาท˚า ยอมตนให้เขาใช้สอย หรือด้วยอาการเอาเปรยบโดยเชิงให้สิ่งของเล็กน้อยด้วยหวังได้มาก
ส่วนภิกษุผยังสกุลให้เลื่อมใส เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอาจาระ ไม่ทอดตนเป็นคนสนิทของสกุลโดยฐานเป็นคนเลวไม่รุกรานตัดรอนเขา แสดงเมตตาจิต ประพฤติพอดีพองาม ท˚าให้เขาเลอมใสนับถือตน ฯ
(ปี 56) อนามัฏฐบิณฑบาต ได้แก่โภชนะเช่นไร? มีข้อห้ามตามพระวินัยไว้อย่างไร?
ตอบ ได้แก่โภชนะที่ภิกษุไดมายังไม่ได้หยิบไว้ฉัน ฯ มีข้อห้ามไม่ให้ภิกษุให้แก่คฤหัสถ์อื่นนอกจากมารดาและบิดา ฯ
(ปี 54) ภิกษุได้รับการสรรเสริญว่า กุลปสาทโก ผู้ยังตระกูลให้เลื่อมใส กับภิกษุผู้ได้รับการต˚าหนิว่า กุลทูสโก ผู้ประทุษร้ายตระกูล เพราะมีความ ประพฤติเช่นไร? ตอบ ภิกษุผู้ได้รับการสรรเสริญว่า กุลปสาทโก เพราะถึงพร้อมด้วยอาจาระ ไม่ทอดตนเป็นคนสนิทของสกุลโดยฐานเป็นคนเลว ไม่
รุกรานตัดรอนเขา แสดงเมตตาจิต ประพฤติพอดีพองาม ท˚าให้เขาเลอ
มใสนับถือตน ส่วนภิกษุผู้ได้รับการต˚าหนิว่า กล
ทูสโก ผู้ประทุษร้ายสกุล
เพราะประพฤติให้เขาเสียศรัทธาเลื่อมใส ประจบเขาด้วยกิริยาท˚าตนอย่างคฤหัสถ์ ให้ของก˚านัลแก่สกุลอย่างคฤหัสถ์เขาท˚ากัน ยอมตนให้เขาใช้สอย หรือด้วยอาการเอาเปรียบโดยเชิงให้สิ่งของเล็กน้อยด้วยหวังได้มาก ฯ
(ปี 53) อุปปถกิริยา คืออะไร? ความประพฤติเช่นไรจัดเข้าใน อนาจาร ปาปสมาจาร อเนสนา?
ตอบ คือ การท˚านอกรีตนอกรอยของสมณะ ฯ ความประพฤติไม่ดีไม่งาม และเลนมีประการต่าง ๆ จัดเข้าในอนาจาร ความประพฤติเลวทราม จัดเข้าในปาปสมาจาร
ความเลยงชีพไม่สมควร จัดเข้าในอเนสนา ฯ
(ปี 52) การท˚านอกรีตนอกรอยของสมณะที่เรียกว่า อนาจาร ปาปสมาจาร และอเนสนา ได้แก่ความประพฤติเช่นไร รวมเรียกว่าอะไร?
ตอบ อนาจาร ได้แก่ ความประพฤติไม่ดี ไม่งาม และเล่นมีประการต่างๆ ปาปสมาจาร ได้แก่ ความประพฤติเลวทราม
อเนสนา ได้แก่ ความเลี้ยงชีพไมส รวมเรียกว่าอุปปถกิริยา ฯ
มควร
(ปี 51) ภิกษุได้ชื่อว่า “กุลทูสโก ผู้ประทุษร้ายสกุล” เพราะประพฤติอย่างไร?
ตอบ เพราะประพฤติให้เขาเสียศรัทธาเลื่อมใส คือ เป็นผู้ประจบเขาด้วยกิริยาท˚าตนอย่างคฤหัสถ์ ยอมตนให้เขาใช้สอย หรือด้วยอาการ เอาเปรียบ โดยเชิงให้สิ่งของเล็กน้อยด้วยหวังได้มาก ฯ
(ปี 48) อเนสนา คืออะไร? ภิกษุทาอเนสนา ต้องอาบัติอะไรได้บ้าง?
ตอบ คือ กิริยาที่แสวงหาเลยงชีพในทางไม่สมควร ฯ ปาราชิก สังฆาทิเสส ปาจิตตีย์และ ทุกกฏ ฯ
(ปี 48) ความรู้ในการท˚าเสน่ห์ให้ชายหญิงรักกัน จัดเป็นดิรัจฉานวิชาเพราะเหตไุ ร ?
ตอบ เพราะเป็นความรู้ที่ไม่เกี่ยวกบธรรมวินัยของภิกษุ และเป็นความรู้ที่ท˚าให้เขาสงสัยว่าลวง ท˚าให้เขาหลงงมงาย ไม่ใช่ความรู้จริง ผู้บอกเป็นผู้ ลวง ฝ่ายผเรียนเป็นผหัดเพื่อลวง หรือเป็นผู้หลงงมงาย ฯ
(ปี 46) ความประพฤติต่อไปนี้ จัดเข้าในอุปปถกิริยาข้อไหน ?
ก. ชอบเล่นคะนอง ร้องร˚าท˚าเพลง ข. ชอบด่าว่า เสียดสี เปรียบเปรยเขา ยุยงให้เขาแตกกัน
ตอบ ก. จัดเข้าในข้ออนาจาร ความประพฤติไม่ดีไม่งาม ฯ ข. จัดเข้าในข้อปาปสมาจาร ความประพฤติเลวทราม ฯ
(ปี 45) ภิกษุไม่สังวรในอุปปถกิริยา จะพึงได้รับโทษอย่างไรบ้าง? การแสวงหาเช่นไรจัดเป็นโลกวัชชะ มีโทษทางโลก? เช่นไรจัดเป็นปัณณัตติวัชชะ มีโทษทางพระบัญญัติ?
ตอบ ปรับเป็นอาบัติทุกกฏ และเป็นฐานที่สงฆ์จะพึงลงโทษ ๔ สถาน อย่างใดอย่างหนึ่ง ตามโทษานุโทษ คือ
๑. ตัชชนียกรรม ต˚าหนิโทษ ๒. นิยสกรรม ถอดยศ คือถอดความเป็นผู้ใหญ่ ๓. ปัพพาชนียกรรม ขับไล่จากวัด
๔. ปฏิสารณียกรรม ให้หวนระลกถึงความผิด ฯ
การแสวงหาในทางบาป เช่นท˚าโจรกรรมและหลอกลวงให้เขาเชื่อถือ และในทางที่โลกเขาดูหมิ่น จัดเป็นโลกวัชชะ ฯ การแสวงหาในทางผิดธรรม เนียมของภิกษุ แม้ไม่มีโทษแก่คนพวกอื่น จัดเป็นปัณณัตติวัชชะ ฯ
(ปี 44) การท˚านอกรีตนอกรอยของสมณะ เรียกว่าอะไร? มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? จงบอกความหมายของแต่ละอย่างด้วย
ตอบ เรียกว่า อุปปถกิริยา, มี ๓ อย่างคือ อนาจาร ๑ ปาปสมาจาร ๑ อเนสนา ๑ ความประพฤติไม่ดีไม่งาม และเลนมีประการต่าง ๆ จัดเข้าในอนาจาร ความประพฤติเลวทราม จัดเข้าในปาปสมาจาร
ความเลยงชีพไม่สมควร จัดเข้าในอเนสนา
กาลิก ๔ ของกินที่ภิกษุรับประเคนไว้แล้วและฉันได้ในเวลาที่ก˚าหนด แบ่งไว้ ๔ ประเภท
๑. ยาวกาลิก ของที่รับประเคนไว้แล้ว ฉันได้ชั่วคราว คือตั้งแต่เช้าถึงเที่ยงของวันนั้น
๒. ยามกาลิก ของที่รับประเคนไว้แล้ว ฉันได้ชั่วระยะเวลาวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง
๓. สัตตาหกาลิก ของที่รับประเคนไว้แล้ว เก็บไว้ฉันได้ในระยะเวลา ๗ วัน ได้แก่ เภสัช ๕ (เนยใส เนยข้น น˚้ามัน น˚้าผึ้ง น˚้าอ้อย)
๔. ยาวชีวิก ของที่รับประเคนไว้แล้ว เก็บไว้ฉันได้ตลอดชีวิต
กาลิกระคนกัน มีกฎเกณฑ์โดยก˚าหนดอายุตามกาลิกที่มีอายุน้อยทส วัน เป็นเกณฑ์
(ปี 62, 50) ยาวกาลิก กับ ยาวชีวิก ต่างกันอย่างไร ?
ุด ฯ เช่นยาผง เป็นยาวชีวิก คลุกกับน˚้าผึ้งที่เป็นสัตตาหกาลิก ต้องถืออายุ ๗
ตอบ ยาวกาลิก คือของที่ใช้บริโภคเป็นอาหาร บริโภคได้ชั่วคราว คือตั้งแต่เช้าถึงเที่ยงวัน ได้แก่ โภชนะ ๕ นมสด นมสม ของขบเคี้ยว เป็นต้นฯ
ส่วนยาวชีวิก เป็นของที่ให้ประกอบเป็นยา บริโภคได้เสมอไป ไม่มีจ˚ากัดเวลา แต่เมื่อมีเหตุจึงบริโภคได้ ได้แก่ รากไม้ น˚้าฝาดใบไม้ ผลไม้ ยางไม้ เกลือ เป็นต้นฯ
(ปี 61) ภิกษุฉันเนื้องู เนื้อมนุษย์ ต้องอาบัติอะไร ? ตอบ ฉันเนื้องู ต้องอาบัติทุกกฏ ฉันเนื้อมนุษย์ ต้องอาบัติถุลลัจจัย ฯ
(ปี 57) กาลิก ๔ ได้แก่อะไรบ้าง? โภชนะ ๕ เภสัช ๕ จัดเป็นกาลิกอะไร?
ตอบ ได้แก่ยาวกาลิก ยามกาลิก สตตาหกาลิก ยาวชีวิก ฯ โภชนะ ๕ เป็นยาวกาลิก เภสัช ๕ เป็นสัตตาหกาลิก ฯ
(ปี 55) เภสัช ๕ มีอะไรบ้าง จัดเป็นกาลิกอะไร? ตอบ เนยใส เนยข้น น˚้ามัน น˚้าผึ้ง น˚้าอ้อย ฯ จัดเป็นสัตตาหกาลิก ฯ
(ปี 53) ยาวกาลิกกับยาวชีวิกได้แก่กาลิกเช่นไร? กาลิกระคนกันมีกฎเกณฑ์ก˚าหนดอายุไว้อย่างไร? จงยกตัวอย่าง
ตอบ ยาวกาลิก ได้แก่ของที่ให้บริโภคได้ชั่วคราว ตั้งแต่เช้าถึงเที่ยงวน ยาวชีวิก ได้แก่ของที่ให้บริโภคได้เสมอไป ไม่มีจ˚ากัดกาล ฯ
กฎเกณฑ์ก˚าหนดอายุตามกาลิกทมีอายุน้อยที่สุด ฯ เช่นยาผง เป็นยาวชีวิก คลุกกับน˚้าผึ้งที่เป็นสตตาหกาลิก ต้องถืออายุ ๗ วัน เป็นเกณฑ์ ฯ
(ปี 53) ค˚าว่า อันโตวุฏฐะ อันโตปักกะ สามปักกะ หมายถึงอะไร?
ตอบ อันโตวุฏฐะ หมายถึงยาวกาลิกที่ภิกษุเก็บไว้ในที่อยู่ของตน ฯ อันโตปักกะ หมายถึงยาวกาลิกที่ภิกษุหุงต้มภายใน (ที่อยู่ของตน) ฯ สามปักกะ หมายถึงยาวกาลิกที่ภิกษุท˚าให้สุกเอง ฯ
(ปี 52) กาลิกคืออะไร? มีอะไรบ้าง? กาลิกระคนกันมีก˚าหนดอายุไว้อย่างไร? จงยกตัวอย่าง
ตอบ ของที่จะพึงกลืนให้ล่วงล˚าคอลงไป มีดังนี้ ยาวกาลิก ยามกาลิก สัตตาหกาลิก และยาวชีวิก ฯ
ก˚าหนดอายุตามกาลิกที่มีอายุสั้นทสุดเป็นเกณฑ์ เช่น เอายาผงที่เป็นยาวชีวิกซึ่งไม่จ˚ากัดอายุคลุกับน˚้าผงึ้ ที่เป็นสัตตาหกาลิกซึ่งมีก˚าหนดอายุไว้ ๗
วัน ดังนี้ต้องถืออายุ ๗ วันเป็นเกฑ์ ฯ
(ปี 51) กาลิก มีเท่าไร? อะไรบ้าง? กล้วยดองน˚้าผึ้งเป็นกาลิกอะไร? ตอบ มี ๔ ฯ ยาวกาลิก ยามกาลก
สัตตาหกาลิก ยาวชีวิก ฯ เป็นยาวกาลิก ฯ
(ปี 47) ภิกษุบิณฑบาตได้สับปะรดแล้ว น˚ามาฉันรวมกับน˚้าตาลทรายและเกลือซึ่งรับประเคนไว้แล้ว ๒ วัน จะต้องอาบัติอะไรหรือไม่? เพราะเหตุ ไร? ตอบ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะน˚้าตาลทรายเป็นสตตาหกาลิก เกลือเป็นยาวชีวิก เมื่อน˚ามาฉันรวมกับสับปะรดซึ่งเป็นยาวกาลิก จึงมีคติเป็น ยาวกาลิก ท˚าให้ต้องอาบัติปาจิตตย์ เพราะฉันของเป็นสันนิธิ ฯ
(ปี 46) อุททิสมังสะ ได้แก่เนื้อเช่นไร? ภิกษุฉันเนื้องู เนื้อมนุษย์ ต้องอาบัติอะไร?
ตอบ อุททิสมังสะ ได้แก่เนื้อที่เป็นกัปปิยะโดยก˚าเนิดและเขาท˚าให้สกแล้ว แต่เป็นของที่เขาฆ่าเพื่อท˚าเป็นอาหารถวายพระภิกษุโดยตรง ฯ ภิกษุฉัน เนื้องู ต้องอาบัติทุกกฏ ฯ ฉันเนื้อมนุษย์ ต้องอาบัติถุลลัจจัย ฯ
(ปี 45) สัตตาหกรณียะ และ สัตตาหกาลิก มีอธิบายอย่างไร ?
ตอบ สัตตาหกรณยะ คือภิกษุผู้อยู่จ˚าพรรษาไปแรมคืนที่อื่นด้วยกิจจ˚าเป็นบางอย่าง แต่กลับมาภายใน ๗ วัน เรียกว่าไปด้วยสัตตาหกรณยะ หรือสัต ตาหะ ฯ สตตาหกาลิก คือของที่รับประเคนแล้วเก็บไว้บริโภคได้ ๗ วัน ฯ
ภัณฑะต่างเจ้าของ
ภัณฑะที่เขาถวายเป็นสาธารณะแก่หมู่ภิกษุ ไม่เฉพาะตัว หรือภัณฑะอันภิกษุรับก็ดี ปกครองหวงห้ามไว้ก็ดีด้วยความเป็นสาธารณะแก่หมู่ภิกษุ จัดเป็นของสงฆ์ มี ๒ ประเภท
๑.
ครุภัณฑ์ ของหนัก ไม่ใช่ของส˚าหรบใช้ให้สิ้นไป เป็นของควรรักษาไว้ได้นาน เป็นเครื่องใช้ในเสนาสนะ หรือเป็นตัวเสนาสนะเอง ตลอดถึง กุฎีและที่ดิน เป็นของที่แจกกันไม่ได้
๒. ลหุภัณฑ์ ของเบา มีบิณฑบาต เภสัช กับบริขารที่จะใช้ส˚าหรับตัว คือบาตร จีวร ประคดเอว เข็ม มีดพับ มีดโกน เป็นของที่แจกกันได้ มีพระพุทธานุญาตไว้ ให้สงฆ์สมมติภิกษุบางรูปไว้ให้เป็นผมีหน้าที่แจกลหุภัณฑ์เหล่านี้แกภิกษุทั้งหลาย....
·
ภิกษุผู้มีหน้าที่แจกภัตตาหาร ตลอดถึงรับนิมนต์ของทายกแล้วจ่ายให้ไป เรียกภัตตุทเทสกะ
·
ภิกษุผู้มีหน้าที่แจกจีวร เรียกจีวรภาชกะ
·
ภิกษุผู้มีหน้าที่แจกเภสัชและบริขารเล็กน้อย เรียกอัปปมัตตกวิสัชชกะ
(ปี 61) ลหุภัณฑ์และครุภณฑ์ที่เป็นของสงฆ์ คือของเช่นไร ? อย่างไหน แจกกันได้และไม่ได้ ?
ตอบ ลหุภัณฑ์ คือ ของเบา มีบิณฑบาต เภสัช กับบริขารที่จะใช้ส˚าหรับตัว คือบาตร จีวร ประคดเอว เข็ม มีดพับ มีดโกน เป็นของที่แจกกันได้
ครุภณฑ์ คือ ของหนัก ไม่ใช่ของส˚าหรับใช้ให้สิ้นไป เป็นของควรรักษาไว้ได้นาน เป็นเครื่องใช้ในเสนาสนะ หรือเป็นตัวเสนาสนะเอง ตลอดถึงกุฎี
และที่ดิน เป็นของที่แจกกันไม่ได้ ฯ
(ปี 60) ภัตตุทเทสกะ จีวรภาชกะ และอัปปมัตตกวิสัชชกะ หมายถึงภิกษุ ผู้มีหน้าที่อะไร ?
ตอบ ภัตตุทเทสกะ หมายถึง ภิกษุผู้มีหน้าที่แจกภัตตาหาร ตลอดถึงรับนิมนต์ของทายกแล้วจัดส่งพระไปให้ จีวรภาชกะ หมายถึง ภิกษุผู้มีหน้าที่แจกจีวร
อัปปมัตตกวิสัชชกะ หมายถึง ภิกษุผู้มีหน้าที่แจกเภสัชและบริขารเล็กน้อย ฯ
(ปี 47) ภัณฑะเช่นไรที่จัดเป็นของสงฆ์? ก˚าหนดไว้กี่ประเภท? อะไรบ้าง? บิณฑบาต กุฎี ที่ดิน จีวร ประคดเอว และเสนาสนะ เป็นภัณฑะประเภทไหน?
ตอบ ภัณฑะที่เขาถวายเป็นสาธารณะแก่หมู่ภิกษุ ไม่เฉพาะตัว หรือภัณฑะอันภิกษุรับก็ดี ปกครองหวงห้ามไว้ก็ดีด้วยความเป็นสาธารณะแก่หมู่
ภิกษุ จัดเป็นของสงฆ์ ฯ ก˚าหนดไว้ ๒ ประเภทคือ ครุภณฑ์ ๑ ลหุภัณฑ์ ๑ ฯ
บิณฑบาต จีวร ประคดเอว จัดเป็นลหุภณ
ฑ์ กุฎี ที่ดิน และเสนาสนะ จัดเป็นครุภณ
ฑ์ ฯ
(ปี 44) ลหุภัณฑ์ และครุภณฑ์ที่เป็นของสงฆ์ คือของเช่นไร? อย่างไหนแจกกันได้ และไม่ได้? วินัยกรรม
กับสังฆกรรม ต่างกันอย่างไร?
ตอบ ลหุภัณฑ์ คือของเบา มีบิณฑบาต เภสัช กับบริขารที่จะใช้สาหรบตัว คือบาตร จีวร ประคดเอว เข็ม มีดพับ มีดโกน เป็นของที่แจกกันได้
ครุภณฑ์ คือของหนัก ไม่ใช่ของส˚าหรับใช้สิ้นไป เป็นของควรรักษาไว้ได้นาน เป็นเครื่องใช้ในเสนาสนะ หรือเป็นตัวเสนาสนะเอง ตลอดถึงกุฎีและ
ที่ดิน เป็นของที่แจกกันไม่ได้ ฯ
ต่างกันอย่างนี้ กรรมที่ภิกษุแต่ละรูปหรือหลายรูปจะพึงกระท˚าตามพระวินัย เช่น การแสดงอาบัติ อธิษฐาน วิกัป เป็นต้น เรียกว่าวินัยกรรม กรรมที่ภิกษุครบองค์สงฆ์จตุวรรคเป็นต้น พึงท˚าเป็นการสงฆ์ เช่น อปโลกนกรรม ญัตติกรรม เป็นต้น เรยกว่าสังฆกรรม ฯ
·
องค์ที่เป็นลักษณะแห่งการถือวิสาสะ
๑. เป็นผู้เคยได้เห็นกันมา ๔. ยังมีชีวิตอยู่
๒. เป็นผู้เคยคบกันมา ๕. รู้ว่าของนั้นเราถือเอาแล้วเขาจักพอใจ
๓. ได้พูดกันไว้
(ปี 64, 63, 59) ภัณฑะ(สมบัติ)ของภิกษุผู้มรณภาพ จะตกเป็นของใคร ? ภิกษุผู้อุปัฏฐากจะถือเอาด้วยวิสาสะได้หรือไม่ ? จงอธิบาย
ตอบ ตกเป็นของสงฆ์ ฯ ไม่ได้ เพราะการจะถือเอาด้วยวิสาสะ ต้องถือเอาในเวลาที่เจ้าของภัณฑะ(สมบัติ)ยังมีชีวิตอยู่ ฯ
(ปี 57) ลักษณะถือวิสาสะที่มาในพระบาลมีอะไรบ้าง?
ตอบ มี ๑. เป็นผเคยได้เห็นกันมา ๒. เป็นผู้เคยคบกันมา ๓. ได้พูดกันไว้ ๔. ยังมีชีวิตอยู่ ๕. รู้ว่าของนั้น เราถือเอาแล้ว เจ้าของจักพอใจ ฯ
(ปี 55) องค์ที่เป็นลักษณะแห่งการถือวิสาสะ คืออะไรบ้าง? เห็นว่าข้อไหนส˚าคัญ?
ตอบ คือ เป็นผู้เคยได้เห็นกันมา ๑ เป็นผู้เคยคบกันมา ๑ ได้พูดกันไว้ ๑ ยังมีชีวิตอยู่ ๑ รู้ว่าของนั้นเราถือเอาแล้วเขาจักพอใจ ๑ ฯ เห็นว่าข้อสุดท้ายส˚าคัญ ฯ
(ปี 45) ในบาลีแสดงลักษณะการถือวิสาสะไว้อย่างไรบ้าง? เหตุที่ควรถือเป็นประมาณ ๕ ประการให้บริขารขาดอธิษฐาน มีอะไรบ้าง?
ตอบ แสดงไว้อย่างนี้ คือ ๑. เป็นผเคยได้เห็นกันมา ๒. เป็นผู้เคยคบกันมา ๓. ได้พูดกันไว้ ๔. ยังมีชีวตอยู่
๕. รู้ว่าของนั้น เราถือเอาแล้ว เจ้าของจักพอใจ ฯ
มีดังนี้ คือ ๑. ให้แก่ผู้อื่น ๒. ถูกโจรชิงเอาไปหรือลักเอาไป ๓. มิตรถือเอาด้วยวิสาสะ ๔. ถอนเสียจากอธิษฐาน
๕. เป็นช่องทะลุ ฯ
วินัยกรรม
(ปี 61) จีวรที่วิกัปไว้ เมื่อจะน˚ามาใช้ต้องท˚าอย่างไร ? ถ้าไม่ท˚าเช่นนั้นต้องอาบัติอะไร ?
ตอบ จีวรที่วิกัปไว้ เมื่อจะน˚ามาใช้ต้องขอให้ผู้รับถอนก่อน ฯ ต้องอาบัติปาจิตตย์ ฯ
(ปี 53, 46) วินัยกรรม กับ สังฆกรรม มีความหมายต่างกันอย่างไร? การท˚าวินัยกรรมนั้นมีจ˚ากัดบุคคลและสถานที่ไว้อย่างไรบ้าง?
ตอบ ต่างกันอย่างนี้
กรรมที่ภิกษุแต่ละรูปหรือหลายรูปจะพึงท˚าตามพระวินัย เช่น พินทุ อธิษฐาน วิกัปจีวร เป็นต้น เรียกว่าวินัยกรรม
กรรมที่ภิกษุครบองค์เป็นสงฆ์ มีจ˚านวนอย่างต˚่าตั้งแต่ ๔ รป จ˚ากัดบุคคลและสถานที่ไว้ดังนี้
๑. แสดงอาบัติ ต้องแสดงแก่ผู้เป็นภิกษุด้วยกัน
๒. อธิษฐาน ต้องท˚าเอง
ขึ้นไปจะพึงท˚า เช่น อปโลกนกรรมเป็นต้น เรียกว่าสังฆกรรม ฯ
๓. วิกัป ต้องวิกัปแก่สหธรรมิกทั้ง ๕ คือ ภิกษุ ภิกษุณี นางสิกขมานา สามเณร สามเณรี รูปใดรูปหนึ่ง
๔. ส่วนสถานที่ ห้ามไม่ให้ท˚าในที่มืด แต่ท˚าในสีมาหรือนอกสมาใช้ได้ทั้งนั้น ฯ
(ปี 52) การแสดงอาบัติ การอธิษฐาน การท˚าวิก
ตอบ เรียกว่า วินัยกรรม ฯ จ˚ากัดบุคคลไว้ดังนี้
ในทางพระวินัยเรียกว่าอะไร? การท˚ากิจเหล่านี้จ˚ากัดบุคคลไว้อย่างไร?
๑. การแสดงอาบัติ จ˚ากัดภิกษุผรบ
๒. การอธิษฐาน ให้ท˚าเอง
ต้องเป็นภิกษุผู้มส
ังวาสเดียวกัน
๓. การท˚าวิกัป จ˚ากัดผู้รับ ต้องท˚ากับสหธรรมิกทั้ง ๕ คือ ภิกษุ ภิกษุณี สามเถร สามเณรี สิกขมานา รูปใดรูปหนึ่ง ฯ
(ปี 46) วินัยกรรม คืออะไร? มีกี่อย่าง อะไรบ้าง?
ตอบ คือ การท˚ากิจตามพระวินัย ฯ มี ๓ อย่าง คือ ๑. การแสดงอาบัติ ๒. การอธิษฐาน ๓. การวิกัป ฯ
(ปี 44) ลหุภัณฑ์ และครุภณฑ์ที่เป็นของสงฆ์ คือของเช่นไร? อย่างไหนแจกกันได้ และไม่ได้?
ตอบ ลหุภัณฑ์ คือของเบา มีบิณฑบาต เภสัช กับบริขารที่จะใช้สาหรบตัว คือบาตร จีวร ประคดเอว เข็ม มีดพับ มีดโกน เป็นของที่แจกกันได้
ครุภณฑ์ คือของหนัก ไม่ใช่ของส˚าหรับใช้สิ้นไป เป็นของควรรักษาไว้ได้นาน เป็นเครื่องใช้ในเสนาสนะ หรือเป็นตัวเสนาสนะเอง ตลอดถึงกุฎีและ
ที่ดิน เป็นของที่แจกกันไม่ได้ ฯ
การแสดงอาบัติ
(ปี 61, 54, 48) สภาคาบัติ คืออาบัติเช่นไร ?
ตอบ คือ อาบัติที่ภิกษุต้องเหมือนกันเพราะล่วงละเมิดสิกขาบทเดียวกัน ฯ
(ปี 54) ภิกษุต้องสภาคาบัติ จะพึงปฏิบัติอย่างไร?
ตอบ เมื่อภิกษุต้องสภาคาบัติ ห้ามไม่ให้แสดงอาบัตินั้นต่อกัน ห้ามไม่ให้รับอาบัติของกัน ให้แสดงในส˚านักภิกษุอื่น ถ้าสงฆ์ต้องสภาคาบัติทั้งหมด ต้องส่งภิกษุรูปหนึ่งไปแสดงในที่อื่น ภิกษุที่เหลือจึงแสดงในส˚านักของภิกษุนั้น ฯ
มหาปเทส ๔ ข้อส˚าหรับอ้างใหญ่
๑. สิ่งใดไม่ได้ทรงห้ามไว้ว่า "ไม่ควร" แต่อนุโลมเข้ากับสิ่งที่ "ไม่ควร"(สิ่งที่ห้าม) ขัดกับสิ่งที่ "ควร"(สิ่งที่อนุญาต) ให้ตัดสินสิ่งนั้นว่า "ไม่ควร"
(ห้ามท˚า)
๒. สิ่งใดไม่ได้ทรงห้ามไว้ว่า "ไม่ควร" แต่อนุโลมเข้ากับสิ่งที่ "ควร"(สิ่งทอนุญาต) ขัดกับสิ่งที่ "ไม่ควร"(สิ่งที่ห้าม) ให้ตัดสินสิ่งนั้นว่า "ควร"
(อนุญาตให้ท˚า)
๓. สิ่งใดไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่า "ควร" แต่อนุโลมเข้ากับสิ่งที่ "ไม่ควร"(สงิ่ ที่ห้าม) ขัดกับสิ่งที่ "ควร"(สิ่งที่อนุญาต) ให้ตัดสินสิ่งนั้นว่า "ไม่ควร"
(ห้ามท˚า)
๔. สิ่งใดไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่า "ควร" แต่อนุโลมเข้ากับสิ่งที่ "ควร"(สิ่งทอนุญาต) ขัดกับสิ่งที่ "ไม่ควร"(สิ่งที่ห้าม) ให้ตัดสินสิ่งนั้นว่า "ควร"
(อนุญาตให้ท˚า)
(ปี 58) มหาปเทส แปลว่าอะไร? ทรงประทานไว้เพื่อประโยชน์อะไร?
ตอบ แปลว่า ข้อส˚าหรับอ้างใหญ่ ฯ เพื่อเป็นหลักแห่งการวินิจฉัยทั้งในทางธรรมทั้งในทางวินัย ฯ
(ปี 47) มหาปเทส คืออะไร? น˚้าตาลสด มิได้ทรงอนุญาตไว้โดยตรงให้ภิกษุฉันไดเหมือนน˚้าอ้อย แต่ฉันได้เพราะอะไร? จงตอบให้มีหลัก
ตอบ คือ ข้อส˚าหรับอ้างใหญ่ ฯ แม้มิได้ทรงอนุญาตโดยตรงให้ภิกษุฉันได้ก็จริง แต่เพราะน˚้าตาลสดเป็นของมีรสหวาน ส˚าเร็จประโยชน์เช่นเดียวกัน กับรสหวานแห่งอ้อย ชื่อว่าเป็นของเข้ากันกับรสหวานแห่งอ้อย ดังมีระบุไว้ในมหาปเทศ ๔ ข้อว่า สิ่งใดไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่าควร แต่เข้ากันกับสิ่ง เป็นกัปปิยะ ขัดกันต่อสิ่งเป็นอกัปปิยะ สิ่งนั้นควร ฯ
พุทธบัญญัติที่ทรงอนุญาตพิเศษ
(ปี 53) ภิกษุจะฉันสิ่งใด ๆ ต้องรับประเคนก่อน มีกรณยกเว้นเป็นพิเศษอะไรบ้าง ที่ไม่ต้องรับประเคนก่อนก็ฉันได้?
ตอบ ยกเว้นเป็นพิเศษเฉพาะภิกษุอาพาธถูกงูกัด ให้ฉันยามหาวิกัฏ ๔ คือมูตร คูถ เถ้า และดินได้ ฯ
วิบัติ ๔ วิบัติของภิกษุ มี ๑. สีลวิบัติ ๒. อาจารวิบัติ ๓. ทิฏฐิวิบัติ ๔. อาชีววิบัติ
(ปี 46) วิบัติของภิกษุในทางพระวินัยมีเท่าไร? อะไรบ้าง? จงให้ความหมายของวิบัติแต่ละอย่างนั้นพอได้ใจความ
ตอบ มี ๔ คือ ๑. สีลวิบัติ ๒. อาจารวิบัติ ๓. ทิฏฐิวิบัติ ๔. อาชีววิบัติ ฯ
ความเสยแห่งศีล ชื่อว่าสีลวิบัติ
ความเสยมารยาท ชื่อว่าอาจารวิบัติ ความเห็นผิดธรรมผิดวินัย ชื่อว่าทิฏฐิวิบัติ ความเสยแห่งการเลี้ยงชีพ ชื่อว่าอาชีววิบัติ ฯ
อโคจร ๖ บุคคลและสถานที่ที่ไม่ควรไป
๑. หญิงแพศยา (โสเภณี) ๒. หญิงหม้าย ๓. สาวเทื้อ (โสด) ๔. ภิกษุณี ๕. บัณเฑาะก์ ๖. ร้านสุรา
(ปี 60, 53) ภิกษุผู้ได้ชื่อว่า โคจรสัมปันโน ผู้ถึงพร้อมด้วยโคจร เพราะปฏิบัติอย่างไร?
ตอบ เพราะเว้นอโคจร ๖ จะไปหาใครหรือจะไปที่ไหน เลือกบุคคล เลือกสถานอันสมควร ไปเป็นกิจลกษณะในเวลาอันควร ไม่ไปพร˚่าเพรื่อ กลับใน เวลา ประพฤติตนไม่ให้เป็นที่รังเกียจของเพื่อนสหธรรมิกเพราะการไปเที่ยว ฯ
(ปี 55) ภิกษุได้ชื่อว่า อาจารโคจรสัมปันโน ผู้ถึงพร้อมด้วยมารยาทและโคจร เพราะประพฤติปฏิบัติเชนไร?
ตอบ เพราะมีความประพฤติปฏิบัติสุภาพเรียบร้อยสมบูรณ์ด้วยอภิสมาจาริกวัตร เว้นจากอโคจร คือบุคคลและสถานที่ที่ไม่ควรไป ฯ
(ปี 52) ภิกษุผู้ได้ชื่อว่าประดับพระศาสนาให้รุ่งเรืองเพราะประพฤติปฏิบัติเช่นไร? จงชี้แจง
ตอบ เพราะมีความประพฤติปฏิบัติสุภาพเรียบร้อย สมบูรณ์ด้วยอภิสมาจาริกวัตร เว้นจากบุคคลและสถานที่ไม่ควรไป
คืออโคจร เป็นผู้ได้ชื่อว่าอาจารโคจรสัมปันโน ผู้ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจรอันเป็นคู่กับคุณบทว่า สีลสัมปันโน ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ฯ
(ปี 50) อโคจร คืออะไร? มีอะไรบ้าง?
ตอบ คือ บุคคลก็ดี สถานที่ก็ดี อันภิกษุไม่ควรไปสู่ ฯ มีหญิงแพศยา ๑ หญิงหม้าย ๑ สาวเทื้อ ๑ ภิกษุณี ๑ บัณเฑาะก์ ๑ ร้านสุรา ๑ ฯ
สมบัติ ๔ สมบัติของภิกษุ มี ๑. สีลสมบัติ ๒. อาจารสมบัติ ๓. ทิฏฐิสมบัติ ๔. อาชีวสมบัติ ฯ
(ปี 61) สมบัติของภิกษุในทางพระวินัยมีเท่าไร ? อะไรบ้าง ?