๒๖. อสนฺเต นูปเสเวยฺย สนฺเต เสเวยฺย ปณฺฑิโต
อสนฺโต นิรยํ เนนฺติ สนฺโต ปาเปนฺติ สุคตึ.
บัณฑิตไม่พึงคบอสัตบุรุษ พึงคบสัตบุรุษ
เพราะอสัตบุรุษย่อมนำไปสู่นรก สัตบุรุษย่อมให้ถึงสุคติ.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. วีสติ. ๒๗/๔๓๗.
๒๗. ตครํ ว ปลาเสน โย นโร อุปนยฺหติ
ปตฺตาปิ สุรภี วายนฺติ เอวํ ธีรูปเสวนา.
คนห่อกฤษณาด้วยใบไม้ แม้ใบไม้ก็หอมไปด้วยฉันใด
การคบกับนักปราชญ์ก็ฉันนั้น.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา.วีสติ. ๒๗/๔๓๗.
๒๘. น ปาปชนสํเสวี อจฺจนฺตสุขเมธติ
โคธากุลํ กกณฺฏาว กลึ ปาเปติ อตฺตนํ.
ผู้คบคนชั่ว ย่อมถึงความสุขโดยส่วนเดียวไม่ได้
เขาย่อมยังตน ให้ประสบโทษ เหมือนกิ้งก่าเข้าฝูงเหี้ยฉะนั้น.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๔๖.
๒๙. ปาปมิตฺเต วิวชฺเชตฺวา ภเชยฺยุตฺตมปุคฺคเล
โอวาเท จสฺส ติฏฺเฐยฺย ปตฺเถนฺโต อจลํ สุขํ.
ผู้ปรารถนาความสุขที่มั่นคง พึงเว้นมิตรชั่วเสีย
คบแต่บุคคลสูงสุด และพึงตั้งอยู่ในโอวาทของท่าน.
(วิมลเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๐๙.
๓๐. ปูติมจฺฉํ กุสคฺเคน โย นโร อุปนยฺหติ
กุสาปิ ปูติ วายนฺติ เอวํ พาลูปเสวนา.
คนห่อปลาเน่าด้วยใบหญ้าคา แม้หญ้าคาก็พลอยเหม็นเน่า
ไปด้วยฉันใด การคบกับคนพลก็ฉันนั้น.
(พุทฺธ) ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๓๐๓.
๓๑. ยาทิสํ กุรุเต มิตฺตํ ยาทิสญฺจูปเสวติ,
โสปิ ตาทิสโก โหติ สหวาโส หิ ตาทิโส.
คบคนเช่นใดเป็นมิตร และสมคบคนเช่นใด
เขาก็เป็นคนเช่นนั้น เพราะการอยู่ร่วมกัน ย่อมเป็นเช่นนั้น.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. วีสติ. ๒๗/๔๓๗.
๓๒. สทฺเธน จ เปสเลน จ ปญฺญวตา พหุสฺสุเตน จ
สขิตํ หิ กเรยฺย ปณฺฑิโต ภทฺโท สปฺปุริเสหิ สงฺคโม.
บัณฑิต พึงทำความเป็นเพื่อนกับคนมีศรัทธา มีศีลเป็นที่รัก
มีปัญญาและเป็นพหูสูต เพราะการสมาคมกับคนดี เป็นความเจริญ.
(อานนฺทเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๔๐๕.
หนังสือนักธรรมชั้นตรี,นักธรรมตรีpdf,นักธรรมตรี,สรุปนักธรรมตรี,ข้อสอบนักธรรมตรี,เก็งข้อสอบนักธรรมตรี
- หน้าแรก
- พุทธประวัติ
- ธรรมวิภาค
- เบญจศีล-เบญจธรรม
- แบบกระทู้ธรรมชั้นตรี
- แบบกระทู้ธรรมชั้นโท
- แบบกระทู้ธรรมชั้นเอก
- หมวด พุทธศาสนสุภาษิต
- อนุพุทธประวัติชั้นโท
- ดาวโหลดหนังสือธรรมศึกษาชั้นตรี โท เอก
- Download ข้อสอบนักธรรมและธรรมศึกษา ปี 2559-2563
- ประวัตินักธรรม-ธรรมศึกษา โดยสังเขป
- ขอบข่ายการเรียนการสอนธรรมศึกษา 2561
- ขอบข่ายธรรมศึกษา ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป
- ข้อสอบนักธรรมตรี-โท-เอก[ย้อนหลัง]
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ พุทธศาสนสุภาพษิต แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ พุทธศาสนสุภาพษิต แสดงบทความทั้งหมด
วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
พุทธศาสนสุภาพษิต ปัญญาวรรค คือ หมวดปัญญา หลักสูตรธรรมศึกษาชั้นโท
๑๘. อปฺปสฺสุตายํ ปุริโส พลิพทฺโทว ชีรติ
มํสานิ ตสฺส วฑฺฒนฺติ ปญฺญา ตสฺส น วฑฺฒติ.
คนผู้สดับน้อยนี้ ย่อมแก่ไป เหมือนวัวแก่
อ้วนแต่เนื้อ แต่ปัญญาไม่เจริญ.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๕.
๑๙. ชีวเตวาปิ สปฺปญฺโญ อปิ วิตฺตปริกฺขยา
ปญฺญาย จ อลาเภน วิตฺตวาปิ น ชีวติ.
ถึงสิ้นทรัพย์ ผู้มีปัญญาก็เป็นอยู่ได้
แต่อับปัญญาแม้มีทรัพย์ ก็เป็นอยู่ไม่ได้.
(มหากปฺปินเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๐.
๒๐. ปญฺญวา พุทฺธิสมฺปนฺโน วิธานวิธิโกวิโท
กาลญฺญู สมยญฺญู จ ส ราชวสตึ วเส.
ผู้มีปัญญา ถึงพร้อมด้วยความรู้ ฉลาดในวิธีจัดการงาน
รู้กาลและรู้สมัย เขาพึงอยู่ในราชการได้.
(พุทฺธ) ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๓๓๙.
๒๑. ปญฺญา หิ เสฏฺฐา กุสลา วทนฺติ
นกฺขตฺตราชาริว ตารกานํ
สีลํ สิรี จาปิ สตญฺจ ธมฺโม
อนฺวายิกา ปญฺญวโต ภวนฺติ.
คนฉลาดกล่าวว่า ปัญญาประเสริฐที่สุด
เหมือนพระจันทร์ประเสริฐกว่าดาวทั้งหลาย
แม้ศีลสิริและธรรมของสัตบุรุษ ย่อมไปตามผู้มีปัญญา.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา.จตฺตาฬีส. ๒๗/๕๔๑.
๒๒. มตฺตาสุขปริจฺจาคา ปสฺเส เจ วิปุลํ สุขํ
จเช มตฺตาสุขํ ธีโร สมฺปสฺสํ วิปุลํ สุขํ.
ถ้าพึงเห็นสุขอันไพบูลย์ เพราะยอมเสียสละสุขส่วนน้อย
ผู้มีปัญญาเล็งเห็นสุขอันไพบูลย์ ก็ควรสละสุขส่วนน้อยเสีย.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๕๓.
๒๓. ยสํ ลทฺธาน ทุมฺเมโธ อนตฺถํ จรติ อตฺตโน
อตฺตโน จ ปเรสญฺจ หึสาย ปฏิปชฺชติ.
คนมีปัญญาทราม ได้ยศแล้ว ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ตน
ย่อมปฏิบัติเพื่อเบียดเบียนทั้งตนและผู้อื่น.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๔๐.
๒๔. ยาวเทว อนตฺถาย ญตฺตํ พาลสฺส ชายติ
หนฺติ พาลสฺส สุกฺกํสํ มุทฺธํ อสฺส วิปาตยํ.
ความรู้เกิดแก่คนพาล ก็เพียงเพื่อความฉิบหาย
มันทำสมองของเขาให้เขว ย่อมฆ่าส่วนที่ขาวของคนพาลเสีย.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๔.
๒๕. โย จ วสฺสสตํ ชีเว ทุปฺปญฺโญ อสมาหิโต
เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย ปญฺญวนฺตสฺส ฌายิโน.
ผู้ใดมีปัญญาทราม มีใจไม่มั่นคง พึงเป็นอยู่ตั้งร้อยปี
ส่วนผู้มีปัญญาเพ่งพินิจ มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ดีกว่า.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๙.
มํสานิ ตสฺส วฑฺฒนฺติ ปญฺญา ตสฺส น วฑฺฒติ.
คนผู้สดับน้อยนี้ ย่อมแก่ไป เหมือนวัวแก่
อ้วนแต่เนื้อ แต่ปัญญาไม่เจริญ.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๕.
๑๙. ชีวเตวาปิ สปฺปญฺโญ อปิ วิตฺตปริกฺขยา
ปญฺญาย จ อลาเภน วิตฺตวาปิ น ชีวติ.
ถึงสิ้นทรัพย์ ผู้มีปัญญาก็เป็นอยู่ได้
แต่อับปัญญาแม้มีทรัพย์ ก็เป็นอยู่ไม่ได้.
(มหากปฺปินเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๐.
๒๐. ปญฺญวา พุทฺธิสมฺปนฺโน วิธานวิธิโกวิโท
กาลญฺญู สมยญฺญู จ ส ราชวสตึ วเส.
ผู้มีปัญญา ถึงพร้อมด้วยความรู้ ฉลาดในวิธีจัดการงาน
รู้กาลและรู้สมัย เขาพึงอยู่ในราชการได้.
(พุทฺธ) ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๓๓๙.
๒๑. ปญฺญา หิ เสฏฺฐา กุสลา วทนฺติ
นกฺขตฺตราชาริว ตารกานํ
สีลํ สิรี จาปิ สตญฺจ ธมฺโม
อนฺวายิกา ปญฺญวโต ภวนฺติ.
คนฉลาดกล่าวว่า ปัญญาประเสริฐที่สุด
เหมือนพระจันทร์ประเสริฐกว่าดาวทั้งหลาย
แม้ศีลสิริและธรรมของสัตบุรุษ ย่อมไปตามผู้มีปัญญา.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา.จตฺตาฬีส. ๒๗/๕๔๑.
๒๒. มตฺตาสุขปริจฺจาคา ปสฺเส เจ วิปุลํ สุขํ
จเช มตฺตาสุขํ ธีโร สมฺปสฺสํ วิปุลํ สุขํ.
ถ้าพึงเห็นสุขอันไพบูลย์ เพราะยอมเสียสละสุขส่วนน้อย
ผู้มีปัญญาเล็งเห็นสุขอันไพบูลย์ ก็ควรสละสุขส่วนน้อยเสีย.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๕๓.
๒๓. ยสํ ลทฺธาน ทุมฺเมโธ อนตฺถํ จรติ อตฺตโน
อตฺตโน จ ปเรสญฺจ หึสาย ปฏิปชฺชติ.
คนมีปัญญาทราม ได้ยศแล้ว ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ตน
ย่อมปฏิบัติเพื่อเบียดเบียนทั้งตนและผู้อื่น.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๔๐.
๒๔. ยาวเทว อนตฺถาย ญตฺตํ พาลสฺส ชายติ
หนฺติ พาลสฺส สุกฺกํสํ มุทฺธํ อสฺส วิปาตยํ.
ความรู้เกิดแก่คนพาล ก็เพียงเพื่อความฉิบหาย
มันทำสมองของเขาให้เขว ย่อมฆ่าส่วนที่ขาวของคนพาลเสีย.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๔.
๒๕. โย จ วสฺสสตํ ชีเว ทุปฺปญฺโญ อสมาหิโต
เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย ปญฺญวนฺตสฺส ฌายิโน.
ผู้ใดมีปัญญาทราม มีใจไม่มั่นคง พึงเป็นอยู่ตั้งร้อยปี
ส่วนผู้มีปัญญาเพ่งพินิจ มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ดีกว่า.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๙.
พุทธศาสนสุภาพษิต ขันติวรรค คือ หมวดอดทน หลักสูตรธรรมศึกษาชั้นโท
๑๓. อตฺตโนปิ ปเรสญฺจ อตฺถาวโห ว ขนฺติโก
สคฺคโมกฺขคมํ มคฺคํ อารุฬฺโห โหติ ขนฺติโก.
ผู้มีขันติ ชื่อว่านำประโยชน์มาให้ทั้งแก่ตนทั้งแก่ผู้อื่น
ผู้มีขันติ ชื่อว่าเป็นผู้ขึ้นสู่ทางไปสวรรค์และนิพพาน.
(พุทฺธ) ส. ม. ๒๒๒.
๑๔. เกวลานํปิ ปาปานํ ขนฺติ มูลํ นิกนฺตติ
ครหกลหาทีนํ มูลํ ขนติ ขนฺติโก.
ขันติ ย่อมตัดรากแห่งบาปทั้งสิ้น ผู้มีขันติชื่อว่าย่อมขุดราก
แห่งความติเตียนและการทะเลาะกันเป็นต้นได้.
(พุทฺธ) ส. ม. ๒๒๒.
๑๕. ขนฺติโก เมตฺตวา ลาภี ยสสฺสี สุขสีลวา
ปิโย เทวมนุสฺสานํ มนาโป โหติ ขนฺติโก.
ผู้มีขันตินับว่ามีเมตตา มีลาภ มียศ และมีสุขเสมอ
ผู้มีขันติเป็นที่รักที่ชอบใจของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย.
(พุทฺธ) ส. ม. ๒๒๒.
๑๖. สตฺถุโน วจโนวาทํ กโรติเยว ขนฺติโก
ปรมาย จ ปูชาย ชินํ ปูเชติ ขนฺติโก.
ผู้มีขันติ ชื่อว่าทำตามคำสอนของพระศาสดา
และผู้มีขันติชื่อว่าบูชาพระชินเจ้า ด้วยบูชาอย่างยิ่ง.
(พุทฺธ) ส. ม. ๒๒๒.
๑๗. สีลสมาธิคุณานํ ขนฺติ ปธานการณํ
สพฺเพปิ กุสลา ธมฺมา ขนฺตฺยาเยว วฑฺฒนฺติ เต.
ขันติเป็นประธาน เป็นเหตุ แห่งคุณคือศีลและสมาธิ
กุศลธรรมทั้งปวงย่อมเจริญ เพราะขันติเท่านั้น.
(พุทฺธ) ส. ม. ๒๒๒.
สคฺคโมกฺขคมํ มคฺคํ อารุฬฺโห โหติ ขนฺติโก.
ผู้มีขันติ ชื่อว่านำประโยชน์มาให้ทั้งแก่ตนทั้งแก่ผู้อื่น
ผู้มีขันติ ชื่อว่าเป็นผู้ขึ้นสู่ทางไปสวรรค์และนิพพาน.
(พุทฺธ) ส. ม. ๒๒๒.
๑๔. เกวลานํปิ ปาปานํ ขนฺติ มูลํ นิกนฺตติ
ครหกลหาทีนํ มูลํ ขนติ ขนฺติโก.
ขันติ ย่อมตัดรากแห่งบาปทั้งสิ้น ผู้มีขันติชื่อว่าย่อมขุดราก
แห่งความติเตียนและการทะเลาะกันเป็นต้นได้.
(พุทฺธ) ส. ม. ๒๒๒.
๑๕. ขนฺติโก เมตฺตวา ลาภี ยสสฺสี สุขสีลวา
ปิโย เทวมนุสฺสานํ มนาโป โหติ ขนฺติโก.
ผู้มีขันตินับว่ามีเมตตา มีลาภ มียศ และมีสุขเสมอ
ผู้มีขันติเป็นที่รักที่ชอบใจของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย.
(พุทฺธ) ส. ม. ๒๒๒.
๑๖. สตฺถุโน วจโนวาทํ กโรติเยว ขนฺติโก
ปรมาย จ ปูชาย ชินํ ปูเชติ ขนฺติโก.
ผู้มีขันติ ชื่อว่าทำตามคำสอนของพระศาสดา
และผู้มีขันติชื่อว่าบูชาพระชินเจ้า ด้วยบูชาอย่างยิ่ง.
(พุทฺธ) ส. ม. ๒๒๒.
๑๗. สีลสมาธิคุณานํ ขนฺติ ปธานการณํ
สพฺเพปิ กุสลา ธมฺมา ขนฺตฺยาเยว วฑฺฒนฺติ เต.
ขันติเป็นประธาน เป็นเหตุ แห่งคุณคือศีลและสมาธิ
กุศลธรรมทั้งปวงย่อมเจริญ เพราะขันติเท่านั้น.
(พุทฺธ) ส. ม. ๒๒๒.
พุทธศาสนสุภาพษิต กัมมวรรค คือ หมวดกรรม หลักสูตรธรรมศึกษาชั้นโท
๔. อติสีตํ อติอุณฺหํ อติสายมิทํ อหุ
อิติ วิสฺสฏฺฐกมฺมนฺเต อตฺถา อจฺเจนฺติ มาณเว.
ประโยชน์ทั้งหลายย่อมล่วงเลยคนผู้ทอดทิ้งการงาน
ด้วยอ้างว่า หนาวนัก ร้อนนัก เย็นเสียแล้ว.
(พุทฺธ) ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๙๙.
๕. อถ ปาปานิ กมฺมานิ กรํ พาโล น พุชฺฌติ
เสหิ กมฺเมหิ ทุมฺเมโธ อคฺคิทฑฺโฒว ตปฺปติ.
เมื่อคนโง่มีปัญญาทราม ทำกรรมชั่วอยู่ก็ไม่รู้สึก
เขาเดือดร้อนเพราะกรรมของตน เหมือนถูกไฟไหม้.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๓.
๖. ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ
กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ.
บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้รับผลเช่นนั้น
ผู้ทำกรรมดี ย่อมได้ผลดี ผู้ทำกรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว.
สํ. ส. ๑๕/๓๓๓.
๗. โย ปุพฺเพ กตกลฺยาโณ กตตฺโถ นาวพุชฺฌติ
อตฺถา ตสฺส ปลุชฺชนฺติ เย โหนฺติ อภิปตฺถิตา.
ผู้ใด อันผู้อื่นทำควำมดี ทำประโยชน์ให้ในกาลก่อน
แต่ไม่รู้สึก (คุณของเขา) ประโยชน์ ที่ผู้นั้นปรารถนาย่อมฉิบหาย.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. สตฺตก. ๒๗/๒๒๘.
๘. โย ปุพฺเพ กตกลฺยาโณ กตตฺโถ อนุพุชฺฌติ
อตฺถา ตสฺส ปวฑฺฒนฺติ เย โหนฺติ อภิปตฺถิตา.
ผู้ใด อันผู้อื่นทำความดี ทำประโยชน์ให้ในกาลก่อน
ย่อมสำนึก (คุณของเขา) ได้ ประโยชน์ที่ผู้นั้นปรารถนาย่อมเจริญ.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. สตฺตก. ๒๗/๒๒๘.
๙. โย ปุพฺเพ กรณียานิ ปจฺฉา โส กาตุมิจฺฉติ
วรุณกฏฺฐํ ภญฺโชว ส ปจฺฉา อนุตปฺปติ.
ผู้ใด ปรารถนาทำกิจที่ควรทำก่อน ในภายหลัง ผู้นั้น ย่อมเดือดร้อน
ในภายหลัง ดุจมาณพ (ผู้ประมาทแล้วรีบ) หักไม้กุ่ม ฉะนั้น.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชำ. เอก. ๒๗/๒๓.
๑๐. สเจ ปุพฺเพกตเหตุ สุขทุกฺขํ นิคจฺฉติ
โปราณกํ กตํ ปาปํ ตเมโส มุญฺจเต อิณํ.
ถ้าประสบสุขทุกข์ เพราะบุญบาปที่ทำไว้ก่อนเป็นเหตุ
ชื่อว่าเปลื้องบาปเก่าที่ทำไว้ ดุจเปลื้องหนี้ฉะนั้น.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. ปญฺญาส. ๒๘/๒๕
๑๑. สุขกามานิ ภูตานิ โย ทณฺเฑน วิหึสติ
อตฺตโน สุขเมสาโน เปจฺจ โส น ลภเต สุขํ.
สัตว์ทั้งหลายย่อมต้องการความสุข ผู้ใดแสวงหาสุขเพื่อตน
เบียดเบียนเขาด้วยอาชญา ผู้นั้นละไปแล้ว ย่อมไม่ได้สุข.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๒.
๑๒. สุขกามานิ ภูตานิ โย ทณฺเฑน น หึสติ
อตฺตโน สุขเมสาโน เปจฺจ โส ลภเต สุขํ.
สัตว์ทั้งหลายย่อมต้องการความสุข ผู้ใดแสวงหาสุขเพื่อตน
ไม่เบียดเบียนเขาด้วยอาชญา ผู้นั้นละไปแล้ว ย่อมได้สุข.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๒.
อิติ วิสฺสฏฺฐกมฺมนฺเต อตฺถา อจฺเจนฺติ มาณเว.
ประโยชน์ทั้งหลายย่อมล่วงเลยคนผู้ทอดทิ้งการงาน
ด้วยอ้างว่า หนาวนัก ร้อนนัก เย็นเสียแล้ว.
(พุทฺธ) ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๙๙.
๕. อถ ปาปานิ กมฺมานิ กรํ พาโล น พุชฺฌติ
เสหิ กมฺเมหิ ทุมฺเมโธ อคฺคิทฑฺโฒว ตปฺปติ.
เมื่อคนโง่มีปัญญาทราม ทำกรรมชั่วอยู่ก็ไม่รู้สึก
เขาเดือดร้อนเพราะกรรมของตน เหมือนถูกไฟไหม้.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๓.
๖. ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ
กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ.
บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้รับผลเช่นนั้น
ผู้ทำกรรมดี ย่อมได้ผลดี ผู้ทำกรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว.
สํ. ส. ๑๕/๓๓๓.
๗. โย ปุพฺเพ กตกลฺยาโณ กตตฺโถ นาวพุชฺฌติ
อตฺถา ตสฺส ปลุชฺชนฺติ เย โหนฺติ อภิปตฺถิตา.
ผู้ใด อันผู้อื่นทำควำมดี ทำประโยชน์ให้ในกาลก่อน
แต่ไม่รู้สึก (คุณของเขา) ประโยชน์ ที่ผู้นั้นปรารถนาย่อมฉิบหาย.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. สตฺตก. ๒๗/๒๒๘.
๘. โย ปุพฺเพ กตกลฺยาโณ กตตฺโถ อนุพุชฺฌติ
อตฺถา ตสฺส ปวฑฺฒนฺติ เย โหนฺติ อภิปตฺถิตา.
ผู้ใด อันผู้อื่นทำความดี ทำประโยชน์ให้ในกาลก่อน
ย่อมสำนึก (คุณของเขา) ได้ ประโยชน์ที่ผู้นั้นปรารถนาย่อมเจริญ.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. สตฺตก. ๒๗/๒๒๘.
๙. โย ปุพฺเพ กรณียานิ ปจฺฉา โส กาตุมิจฺฉติ
วรุณกฏฺฐํ ภญฺโชว ส ปจฺฉา อนุตปฺปติ.
ผู้ใด ปรารถนาทำกิจที่ควรทำก่อน ในภายหลัง ผู้นั้น ย่อมเดือดร้อน
ในภายหลัง ดุจมาณพ (ผู้ประมาทแล้วรีบ) หักไม้กุ่ม ฉะนั้น.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชำ. เอก. ๒๗/๒๓.
๑๐. สเจ ปุพฺเพกตเหตุ สุขทุกฺขํ นิคจฺฉติ
โปราณกํ กตํ ปาปํ ตเมโส มุญฺจเต อิณํ.
ถ้าประสบสุขทุกข์ เพราะบุญบาปที่ทำไว้ก่อนเป็นเหตุ
ชื่อว่าเปลื้องบาปเก่าที่ทำไว้ ดุจเปลื้องหนี้ฉะนั้น.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. ปญฺญาส. ๒๘/๒๕
๑๑. สุขกามานิ ภูตานิ โย ทณฺเฑน วิหึสติ
อตฺตโน สุขเมสาโน เปจฺจ โส น ลภเต สุขํ.
สัตว์ทั้งหลายย่อมต้องการความสุข ผู้ใดแสวงหาสุขเพื่อตน
เบียดเบียนเขาด้วยอาชญา ผู้นั้นละไปแล้ว ย่อมไม่ได้สุข.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๒.
๑๒. สุขกามานิ ภูตานิ โย ทณฺเฑน น หึสติ
อตฺตโน สุขเมสาโน เปจฺจ โส ลภเต สุขํ.
สัตว์ทั้งหลายย่อมต้องการความสุข ผู้ใดแสวงหาสุขเพื่อตน
ไม่เบียดเบียนเขาด้วยอาชญา ผู้นั้นละไปแล้ว ย่อมได้สุข.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๒.
พุทธศาสนสุภาพษิต อัตตวรรค คือ หมวดตน หลักสูตรธรรมศึกษาชั้นโท
๑. อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย
อตฺตทตฺถมภิญฺาย สทตฺถปสุโต สิยา.
บุคคลไม่ควรพล่าประโยชน์ของตน เพราะประโยชน์ผู้อื่นแม้มาก
รู้จักประโยชน์ของตนแล้ว พึงขวนขวายในประโยชน์ของตน.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๗.
๒. อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ
สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม.
ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว
ควรฝึกผู้อื่น ได้ยินว่าตนแลฝึกยาก.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๖.
๓. อตฺตานเมว ปมํ ปฏิรูเป นิเวสเย
อถญฺญมนุสาเสยฺย น กิลิสฺเสยฺย ปณฺฑิโต.
บัณฑิตพึงตั้งตนไว้ในคุณอันสมควรก่อน
สอนผู้อื่นภำยหลังจึงไม่มัวหมอง.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๖.
อตฺตทตฺถมภิญฺาย สทตฺถปสุโต สิยา.
บุคคลไม่ควรพล่าประโยชน์ของตน เพราะประโยชน์ผู้อื่นแม้มาก
รู้จักประโยชน์ของตนแล้ว พึงขวนขวายในประโยชน์ของตน.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๗.
๒. อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ
สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม.
ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว
ควรฝึกผู้อื่น ได้ยินว่าตนแลฝึกยาก.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๖.
๓. อตฺตานเมว ปมํ ปฏิรูเป นิเวสเย
อถญฺญมนุสาเสยฺย น กิลิสฺเสยฺย ปณฺฑิโต.
บัณฑิตพึงตั้งตนไว้ในคุณอันสมควรก่อน
สอนผู้อื่นภำยหลังจึงไม่มัวหมอง.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๖.
พุทธศาสนสุภาพษิต สามัคคีวรรค คือ หมวดสามัคคี หลักสูตรธรรมศึกษาชั้นเอก
๕๒. วิวาทํ ภยโต ทิสฺวา อวิวาทญฺจ เขมโต
สมคฺคา สขิลา โหถ เอสา พุทฺธานุสาสนี.
ท่านทั้งหลายจงเห็นความวิวาทโดยความเป็นภัย
และความไม่วิวาทโดยความปลอดภัยแล้ว เป็นผู้พร้อมเพรียง
มีความประนีประนอมกันเถิด นี้เป็นพระพุทธานุศาสนี.
(พุทฺธ) ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕.
๕๓. สามคฺยเมว สิกฺเขถ พุทฺเธเหตํ ปสํสิตํ
สามคฺยรโต ธมฺมฏฺโฐ โยคกฺเขมา น ธํสติ.
พึงศึกษาความสามัคคี ความสามัคคีนั้น ท่านผู้รู้ทั้งหลายสรรเสริญแล้ว,
ผู้ยินดี ในสามัคคี ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่คลาดจากธรรมอันเกษมจากโยคะ.
(พุทฺธ) ขุ. ชา. เตรส. ๒๗/๓๔๖.
๕๔. สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี สมคฺคานญฺจนุคฺคโห
สมคฺครโต ธมฺมฏฺโฐ โยคกฺเขมา น ธํสติ.
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นสุข และการสนับสนุนคนผู้พร้อมเพรียงกัน ก็เป็นสุข,
ผู้ยินดีในคนผู้พร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่คลาดจากธรรมอันเกษมจากโยคะ.
(พุทฺธ) ขุ. อิติ. ๒๕/๒๓๘.
สมคฺคา สขิลา โหถ เอสา พุทฺธานุสาสนี.
ท่านทั้งหลายจงเห็นความวิวาทโดยความเป็นภัย
และความไม่วิวาทโดยความปลอดภัยแล้ว เป็นผู้พร้อมเพรียง
มีความประนีประนอมกันเถิด นี้เป็นพระพุทธานุศาสนี.
(พุทฺธ) ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕.
๕๓. สามคฺยเมว สิกฺเขถ พุทฺเธเหตํ ปสํสิตํ
สามคฺยรโต ธมฺมฏฺโฐ โยคกฺเขมา น ธํสติ.
พึงศึกษาความสามัคคี ความสามัคคีนั้น ท่านผู้รู้ทั้งหลายสรรเสริญแล้ว,
ผู้ยินดี ในสามัคคี ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่คลาดจากธรรมอันเกษมจากโยคะ.
(พุทฺธ) ขุ. ชา. เตรส. ๒๗/๓๔๖.
๕๔. สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี สมคฺคานญฺจนุคฺคโห
สมคฺครโต ธมฺมฏฺโฐ โยคกฺเขมา น ธํสติ.
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นสุข และการสนับสนุนคนผู้พร้อมเพรียงกัน ก็เป็นสุข,
ผู้ยินดีในคนผู้พร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่คลาดจากธรรมอันเกษมจากโยคะ.
(พุทฺธ) ขุ. อิติ. ๒๕/๒๓๘.
พุทธศาสนสุภาพษิต วิริยวรรค คือ หมวดความเพียร หลักสูตรธรรมศึกษาชั้นเอก
๔๗. โกสชฺชํ ภยโต ทิสฺวา วิริยารมฺภญฺจ เขมโต
อารทฺธวิริยา โหถ เอสา พุทฺธานุสาสนี.
ท่านทั้งหลายจงเห็นความเกียจคร้านเป็นภัย
และเห็นการปรารภความเพียรเป็นความปลอดภัย
แล้วปรารภความเพียรเถิด นี้เป็นพุทธานุศาสนี.
(พุทฺธ) ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕.
๔๘. ตุมฺเหหิ กิจฺจํ อาตปฺปํ อกฺขาตาโร ตถาคตา
ปฏิปนฺนา ปโมกฺขนฺติ ฌายิโน มารพนฺธนา.
ท่านทั้งหลายต้องทำความเพียรเอง ตถาคตเป็นแต่ผู้บอก
ผู้มีปกติเพ่งพินิจดำเนินไปแล้ว จักพ้นจากเครื่องผูกของมาร.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๕๑.
๔๙. นิทฺทํ ตนฺทึ วิชิมฺหิตํ อรตึ ภตฺตสมฺมทํ
วิริเยน นํ ปณาเมตฺวา อริยมคฺโค วิสุชฺฌติ.
อริยมรรคย่อมบริสุทธิ์ เพราะขับไล่ความหลับ ความเกียจคร้าน
ความบิดขี้เกียจ ความไม่ยินดี และความเมาอาหารนั้นได้ด้วยความเพียร.
(พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๑๐.
๕๐. โย จ วสฺสสตํ ชีเว กุสีโต หีนวีริโย
เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย วิริยํ อารภโต ทฬฺหํ.
ผู้ใดเกียจคร้าน มีความเพียรเลว พึงเป็นอยู่ตั้งร้อยปี
แต่ผู้ปรารภความเพียรมั่นคง มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ประเสริฐกว่าผู้นั้น.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๐.
๕๑. สพฺพทา สีลสมฺปนฺโน ปญฺญวา สุสมาหิโต
อารทฺธวิริโย ปหิตตฺโต โอฆํ ตรติ ทุตฺตรํ.
ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล มีปัญญา มีใจมั่นคงดีแล้ว ปรารภความเพียร
ตั้งตนไว้ในกาลทุกเมื่อ ย่อมข้ามโอฆะที่ข้ามได้ยาก.
(พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๗๕.
อารทฺธวิริยา โหถ เอสา พุทฺธานุสาสนี.
ท่านทั้งหลายจงเห็นความเกียจคร้านเป็นภัย
และเห็นการปรารภความเพียรเป็นความปลอดภัย
แล้วปรารภความเพียรเถิด นี้เป็นพุทธานุศาสนี.
(พุทฺธ) ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕.
๔๘. ตุมฺเหหิ กิจฺจํ อาตปฺปํ อกฺขาตาโร ตถาคตา
ปฏิปนฺนา ปโมกฺขนฺติ ฌายิโน มารพนฺธนา.
ท่านทั้งหลายต้องทำความเพียรเอง ตถาคตเป็นแต่ผู้บอก
ผู้มีปกติเพ่งพินิจดำเนินไปแล้ว จักพ้นจากเครื่องผูกของมาร.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๕๑.
๔๙. นิทฺทํ ตนฺทึ วิชิมฺหิตํ อรตึ ภตฺตสมฺมทํ
วิริเยน นํ ปณาเมตฺวา อริยมคฺโค วิสุชฺฌติ.
อริยมรรคย่อมบริสุทธิ์ เพราะขับไล่ความหลับ ความเกียจคร้าน
ความบิดขี้เกียจ ความไม่ยินดี และความเมาอาหารนั้นได้ด้วยความเพียร.
(พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๑๐.
๕๐. โย จ วสฺสสตํ ชีเว กุสีโต หีนวีริโย
เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย วิริยํ อารภโต ทฬฺหํ.
ผู้ใดเกียจคร้าน มีความเพียรเลว พึงเป็นอยู่ตั้งร้อยปี
แต่ผู้ปรารภความเพียรมั่นคง มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ประเสริฐกว่าผู้นั้น.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๐.
๕๑. สพฺพทา สีลสมฺปนฺโน ปญฺญวา สุสมาหิโต
อารทฺธวิริโย ปหิตตฺโต โอฆํ ตรติ ทุตฺตรํ.
ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล มีปัญญา มีใจมั่นคงดีแล้ว ปรารภความเพียร
ตั้งตนไว้ในกาลทุกเมื่อ ย่อมข้ามโอฆะที่ข้ามได้ยาก.
(พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๗๕.
พุทธศาสนสุภาพษิต ธัมมวรรค คือ หมวดธรรม หลักสูตรธรรมศึกษาชั้นเอก
๑๖. อตฺถงฺคตสฺส น ปมาณมตฺถิ
เยน นํ วชฺชุ ตํ ตสฺส นตฺถิ
สพฺเพสุ ธมฺเมสุ สมูหเตสุ
สมูหตา วาทปถาปิ สพฺเพ.
ท่านผู้ดับไป (คือปรินิพพาน) แล้ว ไม่มีประมาณ,
จะพึงกล่าวถึงท่านนั้นด้วยเหตุใด เหตุนั้นของท่านก็ไม่มี,
เมื่อธรรมทั้งปวง (มีขันธ์เป็นต้น) ถูกเพิกถอนแล้ว
แม้คลองแห่งถ้อยคำที่จะพูดถึง (ว่าผู้นั้นเป็นอะไร)
ก็เป็นอันถูกเพิกถอนเสียทั้งหมด.
(พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๓๙., ขุ. จู. ๓๐/๑๓๙.
๑๗. อาทานตณฺหํ วินเยถ สพฺพํ
อุทฺธํ อโธ ติริยํ วาปิ มชฺเฌ
ยํ ยํ หิ โลกสฺมึ อุปาทิยนฺติ
เตเนว มาโร อนฺเวติ ชนฺตุํ .
พึงขจัดตัณหาที่เป็นเหตุถือมั่นทั้งปวง
ทั้งเบื้องสูง เบื้องต่ำ เบื้องขวาง ท่ามกลาง,
เพราะเขาถือมั่นสิ่งใด ๆ ในโลกไว้
มารย่อมติดตามเขาไป เพราะสิ่งนั้น ๆ.
(พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๔๖., ขุ. จู. ๓๐/๒๐๒.
๑๘. อุจฺฉินฺท สิเนหมตฺตโน
กุมุทํ สารทิกํว ปาณินา
สนฺติมคฺคเมว พฺรูหย
นิพฺพานํ สุคเตน เทสิตํ.
จงเด็ดเยื่อใยของตนเสีย เหมือนเอาฝ่ามือเด็ดบัวในฤดูแล้ง
จงเพิ่มพูนทางสงบ (ให้ถึง) พระนิพพานที่พระสุคตทรงแสดงแล้ว.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๕๓.
๑๙. โอวเทยฺยานุสาเสยฺย อสพฺภา จ นิวารเย
สตํ หิ โส ปิโย โหติ อสตํ โหติ อปฺปิโย.
บุคคลควรเตือนกัน ควรสอนกัน และป้องกันจากคนไม่ดี
เพราะเขาย่อมเป็นที่รักของคนดี แต่ไม่เป็นที่รักของคนไม่ดี.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๕.
๒๐. กาเมสุ พฺรหฺมจริยวา วีตตณฺโห สทา สโต
สงฺขาย นิพฺพุโต ภิกฺขุ ตสฺส โน สนฺติ อิญฺชิตา.
ภิกษุผู้เห็นโทษในกาม มีความประพฤติประเสริฐ ปราศจากตัณหา
มีสติทุกเมื่อพิจารณาแล้ว ดับกิเลสแล้ว ย่อมไม่มีความหวั่นไหว.
(พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๓๑., ขุ. จู. ๓๐/๓๕.
๒๑. ขตฺติโย จ อธมฺมฏฺโฐ เวสฺโส จาธมฺมนิสฺสิโต
เต ปริจฺจชฺชุโภ โลเก อุปปชฺชนฺติ ทุคฺคตึ.
กษัตริย์ไม่ทรงตั้งอยู่ในธรรม และแพศย์ (คนสามัญ) ไม่อาศัยธรรม
ชนทั้ง ๒ นั้นละโลกแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ.
(พุทฺธ) ขุ. ชา. ปญฺจก. ๒๗/๑๗๕.
๒๒. คตทฺธิโน วิโสกสฺส วิปฺปมุตฺตสฺส สพฺพธิ
สพฺพคนฺถปฺปหีนสฺส ปริฬาโห น วิชฺชติ.
ท่านผู้มีทางไกลอันถึงแล้ว หายโศก หลุดพ้นแล้วในธรรมทั้งปวง
ละกิเลสเครื่องร้อยรัดทั้งปวงแล้ว ย่อมไม่มีความเร่าร้อน.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๗.
๒๓. จเช ธนํ องฺควรสฺส เหตุ
องฺคํ จเช ชีวิตํ รกฺขมาโน
องฺคํ ธนํ ชีวิตญฺจาปิ สพฺพํ
จเช นโร ธมฺมมนุสฺสรนฺโต.
พึงสละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ, เมื่อรักษาชีวิตพึงสละอวัยวะ,
เมื่อคำนึงถึงธรรม พึงสละอวัยวะ ทรัพย์ และแม้ชีวิต ทุกอย่าง.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. อสีติ. ๒๘/๑๔๗.
๒๔. ฉนฺทชาโต อนกฺขาเต มนสา จ ผุโฐ สิยา
กาเม จ อปฏิพทฺธจิตฺโต อุทฺธํโสโตติ วุจฺจติ.
พึงเป็นผู้พอใจและประทับใจในพระนิพพานที่บอกไม่ได้
ผู้มีจิตไม่ติดในกาม ท่านเรียกว่า ผู้มีกระแสอยู่เบื้องบน.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๔๔.
๒๕. ชิฆจฺฉา ปรมา โรคา สงฺขารา ปรมา ทุกฺขา
เอตํ ญตฺวา ยถาภูตํ นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ.
ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง สังขารเป็นทุกข์อย่างยิ่ง
รู้ข้อนั้นตามเป็นจริงแล้ว ดับเสียได้ เป็นสุขอย่างยิ่ง.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๔๒.
๒๖. ชีรนฺติ เว ราชรถา สุจิตฺตา
อโถ สรีรมฺปิ ชรํ อุเปติ
สตญฺจ ธมฺโม น ชรํ อุเปติ
สนฺโต หเว สพฺภิ ปเวทยนฺติ.
ราชรถอันงดงามย่อมคร่ำคร่า แม้ร่างกายก็เข้าถึงชรา
ส่วนธรรมของสัตบุรุษ ย่อมไม่เข้าถึงชรา สัตบุรุษกับสัตบุรุษเท่านั้นย่อมรู้กันได้.
(พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๑๐๒.
๒๗. เต ฌายิโน สาตติกา นิจฺจํ ทฬฺหปรกฺกมา
ผุสนฺติ ธีรา นิพฺพานํ โยคกฺเขมํ อนุตฺตรํ.
ผู้ฉลาดนั้นเป็นผู้เพ่งพินิจ มีความเพียรติดต่อ บากบั่นมั่นคงเป็นนิตย์
ย่อมถูกต้อง พระนิพพานอันปลอดจากโยคะ หาธรรมอื่นยิ่งกว่ามิได้.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๑๘.
๒๘. ทุกฺขเมว หิ สมฺโภติ ทุกฺขํ ติฏฺฐติ เวติ จ
นาญฺญตฺร ทุกฺขา สมฺโภติ นาญฺญตฺร ทุกฺขา นิรุชฺฌติ.
ทุกข์เท่านั้นเกิดขึ้น ทุกข์ย่อมตั้งอยู่ และเสื่อมไป
นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรเกิด นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรดับ.
(ภิกฺขุณี) สํ. ส. ๑๕/๑๙๙., ขุ. มหา. ๒๙/๕๓๖.
๒๙. ธมฺโม ปโถ มหาราช อธมฺโม ปน อุปฺปโถ
อธมฺโม นิรยํ เนติ ธมฺโม ปาเปติ สุคตึ.
มหาราช ! ธรรมเป็นทาง (ควรดำเนินตาม)
ส่วนอธรรมนอกลู่นอกทาง (ไม่ควรดำเนินตาม)
อธรรมนำไปนรก ธรรมให้ถึงสวรรค์.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. สฏฺฐิ ๒๘/๓๙.
๓๐. นนฺทิสญฺโชโน โลโก วิตกฺกสฺส วิจารณา
ตณฺหาย วิปฺปหาเนน นิพฺพานํ อิติ วุจฺจติ.
สัตว์โลกมีความเพลินเป็นเครื่องผูกพัน มีวิตกเป็นเครื่องเที่ยวไป
ท่านเรียกว่านิพพาน เพราะละตัณหาได้.
(พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๔๗,. ขุ. จู. ๓๐/๒๑๖,๒๑๗.
๓๑. นาญฺญตฺร โพชฺฌาตปสา นาญฺญตฺร อินฺทฺริยสํวรา
นาญฺญตฺร สพฺพนิสฺสคฺคา โสตฺถึ ปสฺสามิ ปาณินํ.
เรา (ตถาคต) ไม่เห็นความสวัสดีของสัตว์ทั้งหลำย นอกจากปัญญา
ความเพียร ความระวังตัวและการสละสิ่งทั้งปวง.
(พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๗๕.
๓๒. ปญฺจกฺขนฺธา ปริญฺญาตา ติฏฺฐนฺติ ฉินฺนมูลกา
ทุกฺขกฺขโย อนุปฺปตฺโต นตฺถิทานิ ปุนพฺภโว.
เบญจขันธ์ที่กำหนดรู้แล้ว มีรากขาดตั้งอยู่
ถึงความสิ้นทุกข์แล้ว ก็ไม่มีภพ ต่อไปอีก.
(เถรี) ขุ. เถรี. ๒๖/๓๓๔.
๓๓. ปตฺตา เต นิพฺพานํ เย ยุตฺตา ทสพลสฺส ปาวจเน
อปฺโปสฺสุกฺกา ฆเฏนฺติ ชาติมรณปฺปหานาย.
ผู้ใดประกอบในธรรมวินัยของพระทศพล มีความขวนขวายน้อย
พากเพียรละความเกิดความตาย ผู้นั้นย่อมบรรลุพระนิพพาน.
(เถร) ขุ. เถร. ๒๖/๕๐๒.
๓๔. พหุสฺสุตํ อุปาเสยฺย สุตญฺจ น วินาสเย
ตํ มูลํ พฺรหฺมจริยสฺส ตสฺมา ธมฺมธโร สิยา.
พึงนั่งใกล้ผู้เป็นพหูสูต และไม่พึงทำสุตะให้เสื่อม
สุตะนั้นเป็นรากแห่งพรหมจรรย์ เพราะฉะนั้น ควรเป็นผู้ทรงธรรม.
(เถร) ขุ. เถร. ๒๖/๔๐๖.
๓๕. มคฺคานฏฺฐงฺคิโก เสฏฺโฐ สจฺจานํ จตุโร ปทา
วิราโค เสฏฺโฐ ธมฺมานํ ทิปทานญฺจ จกฺขุมา.
บรรดาทางทั้งหลาย ทางมีองค์ ๘ ประเสริฐสุด,
บรรดาสัจจะทั้งหลาย บท ๔ ประเสริฐสุด,
บรรดาธรรมทั้งหลาย วิราคธรรมประเสริฐสุด,
และบรรดาสัตว์ ๒ เท้าทั้งหลาย พระพุทธเจ้าผู้มีจักษุประเสริฐสุด.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๕๑.
๓๖. ยตฺถ นามญฺจ รูปญฺจ อเสสํ อุปรุชฺฌติ
วิญฺญาณสฺส นิโรเธน เอตฺเถตํ อุปรุชฺฌติ.
นามและรูปย่อมดับไม่เหลือในที่ใด
นามและรูปนี้ย่อมดับไปในที่นั้น เพราะวิญญาณดับ.
(พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๓๑., ขุ. จู. ๓๐/๒๑.
๓๗. ยมฺหิ สจฺจญฺจ ธมฺโม จ อหึสา สญฺโม ทโม
เอตทริยา เสวนฺติ เอตํ โลเก อนามตํ.
สัจจะ ธรรมะ อหิงสา สัญญมะ และทมะ มีอยู่ในผู้ใด
อารยชนย่อมคบผู้นั้น นั่นเป็นธรรมอันไม่ตายในโลก.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๕๘.
๓๘. ยานิ โสตานิ โลกสฺมึ สติ เตสํ นิวารณํ
โสตานํ สํวรํ พฺรูหิ ปญฺญาเยเต ปิถิยฺยเร
กระแสเหล่าใดมีอยู่ในโลก สติเป็นเครื่องกั้นกระแสเหล่านั้น
เรากล่าวว่าสติเป็นเครื่องกั้นกระแส กระแสเหล่านั้นอันบุคคลปิดกั้นได้ด้วยปัญญา
(พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๓๐., ขุ. จู. ๓๐/๑๖,๒๐.
๓๙. เย สนฺตจิตฺตา นิปกา สติมนฺโต จ ฌายิโน
สมฺมา ธมฺมํ วิปสฺสนฺติ กาเมสุ อนเปกฺขิโน.
ผู้มีจิตสงบ มีปัญญาเครื่องรักษาตัว มีสติ เป็นผู้เพ่งพินิจ
ไม่เยื่อใยในกาม ย่อมเห็นธรรมโดยชอบ.
(พุทฺธ) ขุ. อิติ. ๒๕/๒๖๐.
๔๐. โย จ ปปญฺจํ หิตฺวาน นิปฺปปญฺจปเท รโต
อาราธยิ โส นิพฺพานํ โยคกฺเขมํ อนุตฺตรํ.
ผู้ใดละปปัญจธรรมที่ทำให้เนิ่นช้าได้แล้ว ยินดีในธรรมที่ไม่มีสิ่งที่ทำให้เนิ่นช้า
ผู้นั้นก็บรรลุพระนิพพานอันปลอดจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า.
(เถร) องฺ. ฉกฺก. ๒๒/๓๒๙.
๔๑. สกํ หิ ธมฺมํ ปริปุณฺณมาหุ
อญฺญสฺส ธมฺมํ ปน หีนมาหุ
เอวมฺปิ วิคฺคยฺห วิวาทยนฺติ
สกํ สกํ สมฺมติมาหุ สจฺจํ.
สมณพราหมณ์บางเหล่ากล่าวธรรมของตนว่าบริบูรณ์,
แต่กล่าวธรรมของผู้อื่น ว่าเลว (บกพร่อง ),
เขาย่อมทะเลาะวิวาทกัน แม้ด้วยเหตุนี้
เพราะต่างก็กล่าวข้อสมมติของตน ๆ ว่าเป็นจริง.
(พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๑๑., ขุ. มหา. ๒๙/๓๘๓.
๔๒. สมฺมปฺปธานสมฺปนฺโน สติปฏฺฐานโคจโร
วิมุตฺติกุสุสญฺฉนฺโน ปรินิพฺพายิสฺสตฺยนาสโว.
ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมัปปธาน มีสติปัฏฐานเป็นอารมณ์
ดาดาษด้วยดอกไม้ คือวิมุตติ หาอาสวะมิได้ จักปรินิพพาน.
(เถร) ขุ. เถร. ๒๖/๒๘๒.
๔๓. สุสุขํ วต นิพฺพานํ สมฺมาสมฺพุทฺธเทสิตํ
อโสกํ วิรชํ เขมํ ยตฺถ ทุกฺขํ นิรุชฺฌติ.
พระนิพพานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว
ไม่มีโศก ปราศจากธุลี เกษม เป็นที่ดับทุกข์ เป็นสุขดีหนอ.
(เถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๐๙.
๔๔. โสรจฺจํ อวิหึสา จ ปาทา นาคสฺส เต ทุเว
สติ จ สมฺปชญฺญญฺจ จรณา นาคสฺส เต ปเร.
โสรัจจะและอวิหิงสานั้น เป็นช้างเท้าหลัง
สติและสัมปชัญญะนั้น เป็นช้างเท้าหน้า.
(เถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๖๘.
๔๕. หีนํ ธมฺมํ น เสเวยฺย ปมาเทน น สํวเส
มิจฺฉาทิฏฺฐึ น เสเวยฺย น สิยา โลกวฑฺฒโน.
ไม่ควรเสพธรรมที่เลว ไม่ควรอยู่กับความประมาท
ไม่ควรเสพมิจฉาทิฏฐิ ไม่ควรเป็นคนรกโลก.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๗.
๔๖. หีเนน พฺรหฺมจริเยน ขตฺติเย อุปปชฺชติ
มชฺฌิเมน จ เทวตฺตํ อุตฺตเมน วิสุชฺฌติ.
บุคคลย่อมเข้าถึงความเป็นกษัตริย์ ด้วยพรหมจรรย์อย่างเลว,
ถึงความเป็นเทวดา ด้วยพรหมจรรย์อย่างกลาง, ย่อมบริสุทธิ์ ด้วยพรหมจรรย์อย่างสูง.
(พุทฺธ) ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๑๙๙.
เยน นํ วชฺชุ ตํ ตสฺส นตฺถิ
สพฺเพสุ ธมฺเมสุ สมูหเตสุ
สมูหตา วาทปถาปิ สพฺเพ.
ท่านผู้ดับไป (คือปรินิพพาน) แล้ว ไม่มีประมาณ,
จะพึงกล่าวถึงท่านนั้นด้วยเหตุใด เหตุนั้นของท่านก็ไม่มี,
เมื่อธรรมทั้งปวง (มีขันธ์เป็นต้น) ถูกเพิกถอนแล้ว
แม้คลองแห่งถ้อยคำที่จะพูดถึง (ว่าผู้นั้นเป็นอะไร)
ก็เป็นอันถูกเพิกถอนเสียทั้งหมด.
(พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๓๙., ขุ. จู. ๓๐/๑๓๙.
๑๗. อาทานตณฺหํ วินเยถ สพฺพํ
อุทฺธํ อโธ ติริยํ วาปิ มชฺเฌ
ยํ ยํ หิ โลกสฺมึ อุปาทิยนฺติ
เตเนว มาโร อนฺเวติ ชนฺตุํ .
พึงขจัดตัณหาที่เป็นเหตุถือมั่นทั้งปวง
ทั้งเบื้องสูง เบื้องต่ำ เบื้องขวาง ท่ามกลาง,
เพราะเขาถือมั่นสิ่งใด ๆ ในโลกไว้
มารย่อมติดตามเขาไป เพราะสิ่งนั้น ๆ.
(พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๔๖., ขุ. จู. ๓๐/๒๐๒.
๑๘. อุจฺฉินฺท สิเนหมตฺตโน
กุมุทํ สารทิกํว ปาณินา
สนฺติมคฺคเมว พฺรูหย
นิพฺพานํ สุคเตน เทสิตํ.
จงเด็ดเยื่อใยของตนเสีย เหมือนเอาฝ่ามือเด็ดบัวในฤดูแล้ง
จงเพิ่มพูนทางสงบ (ให้ถึง) พระนิพพานที่พระสุคตทรงแสดงแล้ว.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๕๓.
๑๙. โอวเทยฺยานุสาเสยฺย อสพฺภา จ นิวารเย
สตํ หิ โส ปิโย โหติ อสตํ โหติ อปฺปิโย.
บุคคลควรเตือนกัน ควรสอนกัน และป้องกันจากคนไม่ดี
เพราะเขาย่อมเป็นที่รักของคนดี แต่ไม่เป็นที่รักของคนไม่ดี.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๕.
๒๐. กาเมสุ พฺรหฺมจริยวา วีตตณฺโห สทา สโต
สงฺขาย นิพฺพุโต ภิกฺขุ ตสฺส โน สนฺติ อิญฺชิตา.
ภิกษุผู้เห็นโทษในกาม มีความประพฤติประเสริฐ ปราศจากตัณหา
มีสติทุกเมื่อพิจารณาแล้ว ดับกิเลสแล้ว ย่อมไม่มีความหวั่นไหว.
(พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๓๑., ขุ. จู. ๓๐/๓๕.
๒๑. ขตฺติโย จ อธมฺมฏฺโฐ เวสฺโส จาธมฺมนิสฺสิโต
เต ปริจฺจชฺชุโภ โลเก อุปปชฺชนฺติ ทุคฺคตึ.
กษัตริย์ไม่ทรงตั้งอยู่ในธรรม และแพศย์ (คนสามัญ) ไม่อาศัยธรรม
ชนทั้ง ๒ นั้นละโลกแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ.
(พุทฺธ) ขุ. ชา. ปญฺจก. ๒๗/๑๗๕.
๒๒. คตทฺธิโน วิโสกสฺส วิปฺปมุตฺตสฺส สพฺพธิ
สพฺพคนฺถปฺปหีนสฺส ปริฬาโห น วิชฺชติ.
ท่านผู้มีทางไกลอันถึงแล้ว หายโศก หลุดพ้นแล้วในธรรมทั้งปวง
ละกิเลสเครื่องร้อยรัดทั้งปวงแล้ว ย่อมไม่มีความเร่าร้อน.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๗.
๒๓. จเช ธนํ องฺควรสฺส เหตุ
องฺคํ จเช ชีวิตํ รกฺขมาโน
องฺคํ ธนํ ชีวิตญฺจาปิ สพฺพํ
จเช นโร ธมฺมมนุสฺสรนฺโต.
พึงสละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ, เมื่อรักษาชีวิตพึงสละอวัยวะ,
เมื่อคำนึงถึงธรรม พึงสละอวัยวะ ทรัพย์ และแม้ชีวิต ทุกอย่าง.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. อสีติ. ๒๘/๑๔๗.
๒๔. ฉนฺทชาโต อนกฺขาเต มนสา จ ผุโฐ สิยา
กาเม จ อปฏิพทฺธจิตฺโต อุทฺธํโสโตติ วุจฺจติ.
พึงเป็นผู้พอใจและประทับใจในพระนิพพานที่บอกไม่ได้
ผู้มีจิตไม่ติดในกาม ท่านเรียกว่า ผู้มีกระแสอยู่เบื้องบน.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๔๔.
๒๕. ชิฆจฺฉา ปรมา โรคา สงฺขารา ปรมา ทุกฺขา
เอตํ ญตฺวา ยถาภูตํ นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ.
ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง สังขารเป็นทุกข์อย่างยิ่ง
รู้ข้อนั้นตามเป็นจริงแล้ว ดับเสียได้ เป็นสุขอย่างยิ่ง.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๔๒.
๒๖. ชีรนฺติ เว ราชรถา สุจิตฺตา
อโถ สรีรมฺปิ ชรํ อุเปติ
สตญฺจ ธมฺโม น ชรํ อุเปติ
สนฺโต หเว สพฺภิ ปเวทยนฺติ.
ราชรถอันงดงามย่อมคร่ำคร่า แม้ร่างกายก็เข้าถึงชรา
ส่วนธรรมของสัตบุรุษ ย่อมไม่เข้าถึงชรา สัตบุรุษกับสัตบุรุษเท่านั้นย่อมรู้กันได้.
(พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๑๐๒.
๒๗. เต ฌายิโน สาตติกา นิจฺจํ ทฬฺหปรกฺกมา
ผุสนฺติ ธีรา นิพฺพานํ โยคกฺเขมํ อนุตฺตรํ.
ผู้ฉลาดนั้นเป็นผู้เพ่งพินิจ มีความเพียรติดต่อ บากบั่นมั่นคงเป็นนิตย์
ย่อมถูกต้อง พระนิพพานอันปลอดจากโยคะ หาธรรมอื่นยิ่งกว่ามิได้.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๑๘.
๒๘. ทุกฺขเมว หิ สมฺโภติ ทุกฺขํ ติฏฺฐติ เวติ จ
นาญฺญตฺร ทุกฺขา สมฺโภติ นาญฺญตฺร ทุกฺขา นิรุชฺฌติ.
ทุกข์เท่านั้นเกิดขึ้น ทุกข์ย่อมตั้งอยู่ และเสื่อมไป
นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรเกิด นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรดับ.
(ภิกฺขุณี) สํ. ส. ๑๕/๑๙๙., ขุ. มหา. ๒๙/๕๓๖.
๒๙. ธมฺโม ปโถ มหาราช อธมฺโม ปน อุปฺปโถ
อธมฺโม นิรยํ เนติ ธมฺโม ปาเปติ สุคตึ.
มหาราช ! ธรรมเป็นทาง (ควรดำเนินตาม)
ส่วนอธรรมนอกลู่นอกทาง (ไม่ควรดำเนินตาม)
อธรรมนำไปนรก ธรรมให้ถึงสวรรค์.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. สฏฺฐิ ๒๘/๓๙.
๓๐. นนฺทิสญฺโชโน โลโก วิตกฺกสฺส วิจารณา
ตณฺหาย วิปฺปหาเนน นิพฺพานํ อิติ วุจฺจติ.
สัตว์โลกมีความเพลินเป็นเครื่องผูกพัน มีวิตกเป็นเครื่องเที่ยวไป
ท่านเรียกว่านิพพาน เพราะละตัณหาได้.
(พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๔๗,. ขุ. จู. ๓๐/๒๑๖,๒๑๗.
๓๑. นาญฺญตฺร โพชฺฌาตปสา นาญฺญตฺร อินฺทฺริยสํวรา
นาญฺญตฺร สพฺพนิสฺสคฺคา โสตฺถึ ปสฺสามิ ปาณินํ.
เรา (ตถาคต) ไม่เห็นความสวัสดีของสัตว์ทั้งหลำย นอกจากปัญญา
ความเพียร ความระวังตัวและการสละสิ่งทั้งปวง.
(พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๗๕.
๓๒. ปญฺจกฺขนฺธา ปริญฺญาตา ติฏฺฐนฺติ ฉินฺนมูลกา
ทุกฺขกฺขโย อนุปฺปตฺโต นตฺถิทานิ ปุนพฺภโว.
เบญจขันธ์ที่กำหนดรู้แล้ว มีรากขาดตั้งอยู่
ถึงความสิ้นทุกข์แล้ว ก็ไม่มีภพ ต่อไปอีก.
(เถรี) ขุ. เถรี. ๒๖/๓๓๔.
๓๓. ปตฺตา เต นิพฺพานํ เย ยุตฺตา ทสพลสฺส ปาวจเน
อปฺโปสฺสุกฺกา ฆเฏนฺติ ชาติมรณปฺปหานาย.
ผู้ใดประกอบในธรรมวินัยของพระทศพล มีความขวนขวายน้อย
พากเพียรละความเกิดความตาย ผู้นั้นย่อมบรรลุพระนิพพาน.
(เถร) ขุ. เถร. ๒๖/๕๐๒.
๓๔. พหุสฺสุตํ อุปาเสยฺย สุตญฺจ น วินาสเย
ตํ มูลํ พฺรหฺมจริยสฺส ตสฺมา ธมฺมธโร สิยา.
พึงนั่งใกล้ผู้เป็นพหูสูต และไม่พึงทำสุตะให้เสื่อม
สุตะนั้นเป็นรากแห่งพรหมจรรย์ เพราะฉะนั้น ควรเป็นผู้ทรงธรรม.
(เถร) ขุ. เถร. ๒๖/๔๐๖.
๓๕. มคฺคานฏฺฐงฺคิโก เสฏฺโฐ สจฺจานํ จตุโร ปทา
วิราโค เสฏฺโฐ ธมฺมานํ ทิปทานญฺจ จกฺขุมา.
บรรดาทางทั้งหลาย ทางมีองค์ ๘ ประเสริฐสุด,
บรรดาสัจจะทั้งหลาย บท ๔ ประเสริฐสุด,
บรรดาธรรมทั้งหลาย วิราคธรรมประเสริฐสุด,
และบรรดาสัตว์ ๒ เท้าทั้งหลาย พระพุทธเจ้าผู้มีจักษุประเสริฐสุด.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๕๑.
๓๖. ยตฺถ นามญฺจ รูปญฺจ อเสสํ อุปรุชฺฌติ
วิญฺญาณสฺส นิโรเธน เอตฺเถตํ อุปรุชฺฌติ.
นามและรูปย่อมดับไม่เหลือในที่ใด
นามและรูปนี้ย่อมดับไปในที่นั้น เพราะวิญญาณดับ.
(พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๓๑., ขุ. จู. ๓๐/๒๑.
๓๗. ยมฺหิ สจฺจญฺจ ธมฺโม จ อหึสา สญฺโม ทโม
เอตทริยา เสวนฺติ เอตํ โลเก อนามตํ.
สัจจะ ธรรมะ อหิงสา สัญญมะ และทมะ มีอยู่ในผู้ใด
อารยชนย่อมคบผู้นั้น นั่นเป็นธรรมอันไม่ตายในโลก.
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๕๘.
๓๘. ยานิ โสตานิ โลกสฺมึ สติ เตสํ นิวารณํ
โสตานํ สํวรํ พฺรูหิ ปญฺญาเยเต ปิถิยฺยเร
กระแสเหล่าใดมีอยู่ในโลก สติเป็นเครื่องกั้นกระแสเหล่านั้น
เรากล่าวว่าสติเป็นเครื่องกั้นกระแส กระแสเหล่านั้นอันบุคคลปิดกั้นได้ด้วยปัญญา
(พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๓๐., ขุ. จู. ๓๐/๑๖,๒๐.
๓๙. เย สนฺตจิตฺตา นิปกา สติมนฺโต จ ฌายิโน
สมฺมา ธมฺมํ วิปสฺสนฺติ กาเมสุ อนเปกฺขิโน.
ผู้มีจิตสงบ มีปัญญาเครื่องรักษาตัว มีสติ เป็นผู้เพ่งพินิจ
ไม่เยื่อใยในกาม ย่อมเห็นธรรมโดยชอบ.
(พุทฺธ) ขุ. อิติ. ๒๕/๒๖๐.
๔๐. โย จ ปปญฺจํ หิตฺวาน นิปฺปปญฺจปเท รโต
อาราธยิ โส นิพฺพานํ โยคกฺเขมํ อนุตฺตรํ.
ผู้ใดละปปัญจธรรมที่ทำให้เนิ่นช้าได้แล้ว ยินดีในธรรมที่ไม่มีสิ่งที่ทำให้เนิ่นช้า
ผู้นั้นก็บรรลุพระนิพพานอันปลอดจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า.
(เถร) องฺ. ฉกฺก. ๒๒/๓๒๙.
๔๑. สกํ หิ ธมฺมํ ปริปุณฺณมาหุ
อญฺญสฺส ธมฺมํ ปน หีนมาหุ
เอวมฺปิ วิคฺคยฺห วิวาทยนฺติ
สกํ สกํ สมฺมติมาหุ สจฺจํ.
สมณพราหมณ์บางเหล่ากล่าวธรรมของตนว่าบริบูรณ์,
แต่กล่าวธรรมของผู้อื่น ว่าเลว (บกพร่อง ),
เขาย่อมทะเลาะวิวาทกัน แม้ด้วยเหตุนี้
เพราะต่างก็กล่าวข้อสมมติของตน ๆ ว่าเป็นจริง.
(พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๑๑., ขุ. มหา. ๒๙/๓๘๓.
๔๒. สมฺมปฺปธานสมฺปนฺโน สติปฏฺฐานโคจโร
วิมุตฺติกุสุสญฺฉนฺโน ปรินิพฺพายิสฺสตฺยนาสโว.
ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมัปปธาน มีสติปัฏฐานเป็นอารมณ์
ดาดาษด้วยดอกไม้ คือวิมุตติ หาอาสวะมิได้ จักปรินิพพาน.
(เถร) ขุ. เถร. ๒๖/๒๘๒.
๔๓. สุสุขํ วต นิพฺพานํ สมฺมาสมฺพุทฺธเทสิตํ
อโสกํ วิรชํ เขมํ ยตฺถ ทุกฺขํ นิรุชฺฌติ.
พระนิพพานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว
ไม่มีโศก ปราศจากธุลี เกษม เป็นที่ดับทุกข์ เป็นสุขดีหนอ.
(เถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๐๙.
๔๔. โสรจฺจํ อวิหึสา จ ปาทา นาคสฺส เต ทุเว
สติ จ สมฺปชญฺญญฺจ จรณา นาคสฺส เต ปเร.
โสรัจจะและอวิหิงสานั้น เป็นช้างเท้าหลัง
สติและสัมปชัญญะนั้น เป็นช้างเท้าหน้า.
(เถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๖๘.
๔๕. หีนํ ธมฺมํ น เสเวยฺย ปมาเทน น สํวเส
มิจฺฉาทิฏฺฐึ น เสเวยฺย น สิยา โลกวฑฺฒโน.
ไม่ควรเสพธรรมที่เลว ไม่ควรอยู่กับความประมาท
ไม่ควรเสพมิจฉาทิฏฐิ ไม่ควรเป็นคนรกโลก.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๗.
๔๖. หีเนน พฺรหฺมจริเยน ขตฺติเย อุปปชฺชติ
มชฺฌิเมน จ เทวตฺตํ อุตฺตเมน วิสุชฺฌติ.
บุคคลย่อมเข้าถึงความเป็นกษัตริย์ ด้วยพรหมจรรย์อย่างเลว,
ถึงความเป็นเทวดา ด้วยพรหมจรรย์อย่างกลาง, ย่อมบริสุทธิ์ ด้วยพรหมจรรย์อย่างสูง.
(พุทฺธ) ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๑๙๙.
พุทธศาสนสุภาพษิต จิตตวรรค คือ หมวดจิต หลักสูตรธรรมศึกษาชั้นเอก
๗. อนวสฺสุตจิตฺตสฺส อนนฺวาหตเจตโส
ปุญฺญปาปปหีนสฺส นตฺถิ ชาครโต ภยํ.
ผู้มีจิตอันไม่ชุ่มด้วยราคะ มีใจอันโทสะไม่กระทบแล้ว
มีบุญและบาปอันละ ได้แล้ว ตื่นอยู่ ย่อมไม่มีภัย.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๐.
๘. กุมฺภูปมํ กายมิมํ วิทิตฺวา
นครูปมํ จิตฺตมิทํ ถเกตฺวา
โยเธถ มารํ ปญฺญาวุเธน
ชิตญฺจ รกฺเข อนิเวสโน สิยา.
บุคคลรู้กายนี้ที่เปรียบด้วยหม้อ
กั้นจิตที่เปรียบด้วยเมืองนี้แล้ว
พึงรบมารด้วยอาวุธคือปัญญา
และพึงรักษาแนวที่ชนะไว้ ไม่พึงยับยั้งอยู่.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๐.
๙. จิตฺเตน นียติ โลโก จิตฺเตน ปริกสฺสติ
จิตฺตสฺส เอกธมฺมสฺส สพฺเพว วสมนฺวคู.
โลกถูกจิตนำไป ถูกจิตชักไป,
สัตว์ทั้งปวงไปสู่อำนาจแห่งจิตอย่างเดียว.
(พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๕๔.
๑๐. ตณฺหาธิปนฺนา วตฺตสีลพทฺธา
ลูขํ ตปํ วสฺสสตํ จรนฺตา
จิตฺตญฺจ เนสํ น สมฺมา วิมุตฺตํ
หีนตฺตรูปา น ปารงฺคมา เต.
ผู้ถูกตัญหาครอบงำ ถูกศีลพรตผูกมัด
ประพฤติตบะอันเศร้าหมองตั้งร้อยปี,
จิตของเขาก็หลุดพ้นด้วยดีไม่ได้.
เขามีตนเลว จะถึงฝั่งไม่ได้.
(พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๔๐.
๑๑. ทุนฺนิคฺคหสฺส ลหุโน ยตฺถ กามนิปาติโน
จิตฺตสฺส ทมโถ สาธุ จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ.
การฝึกจิตที่ข่มยาก ที่เบา มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่
เป็นความดี, (เพราะว่า) จิตที่ฝึกแล้ว นำสุขมาให้.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
๑๒. ปทุฏฺฐจิตฺตสฺส น ผาติ โหติ
น จาปิ นํ เทวตา ปูชยนฺติ
โย ภาตรํ เปตฺติกํ สาปเตยฺยํ
อวญฺจยี ทุกฺกฏกมฺมการี.
ผู้ใดทำกรรมชั่ว ล่อลวงเอาทรัพย์สมบัติพี่น้องพ่อแม่
ผู้นั้นมีจิตชั่วร้าย ย่อมไม่มีความเจริญ แม้เทวดาก็ไม่บูชาเขา.
(เทว) ขุ. ชา. ติก. ๒๗/๑๒๐.
๑๓. ภิกฺขุ สิยา ฌายิ วิมุตฺตจิตฺโต
อากงฺเข เว หทยสฺสานุปตฺตึ
โลกสฺส ญตฺวา อุทยพฺพยญฺจ
สุเจตโส อนิสฺสิโต ตทานิสํโส.
ภิกษุเพ่งพินิจ มีจิตหลุดพ้น
รู้ความเกิดและความเสื่อมแห่งโลกแล้ว
มีใจดี ไม่ถูกกิเลสอาศัย มีธรรมนั้นเป็นอานิสงส์
พึงหวังความบริสุทธิ์แห่งใจได้.
(เทว) สํ. ส. ๑๔/๗๓.
๑๔. โย อลีเนน จิตฺเตน อลีนมนโส นโร
ภาเวติ กุสลํ ธมฺมํ โยคกฺเขมสฺส ปตฺติยา
ปาปุเณ อนุปุพฺเพน สพฺพสํโยชนกฺขยํ.
คนใดมีจิตไม่ท้อถอย มีใจไม่หดหู่
บำเพ็ญกุศลธรรม เพื่อบรรลุธรรมที่เกษมจากโยคะ
พึงบรรลุธรรมเป็นที่สิ้นสังโยชน์ทั้งปวงได้.
(พุทฺธ) ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๑๘.
๑๕. สุทุทฺทสํ สุนิปุณํ ยตฺถ กามนิปาตินํ
จิตฺตํ รกฺเขถ เมธาวี จิตฺตํ คุตฺตํ สุขาวหํ.
ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิตที่เห็นได้ยากนัก
ละเอียดนัก มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่,
(เพราะว่า) จิตที่คุ้มครองแล้ว นำสุขมาให้.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
ปุญฺญปาปปหีนสฺส นตฺถิ ชาครโต ภยํ.
ผู้มีจิตอันไม่ชุ่มด้วยราคะ มีใจอันโทสะไม่กระทบแล้ว
มีบุญและบาปอันละ ได้แล้ว ตื่นอยู่ ย่อมไม่มีภัย.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๐.
๘. กุมฺภูปมํ กายมิมํ วิทิตฺวา
นครูปมํ จิตฺตมิทํ ถเกตฺวา
โยเธถ มารํ ปญฺญาวุเธน
ชิตญฺจ รกฺเข อนิเวสโน สิยา.
บุคคลรู้กายนี้ที่เปรียบด้วยหม้อ
กั้นจิตที่เปรียบด้วยเมืองนี้แล้ว
พึงรบมารด้วยอาวุธคือปัญญา
และพึงรักษาแนวที่ชนะไว้ ไม่พึงยับยั้งอยู่.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๐.
๙. จิตฺเตน นียติ โลโก จิตฺเตน ปริกสฺสติ
จิตฺตสฺส เอกธมฺมสฺส สพฺเพว วสมนฺวคู.
โลกถูกจิตนำไป ถูกจิตชักไป,
สัตว์ทั้งปวงไปสู่อำนาจแห่งจิตอย่างเดียว.
(พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๕๔.
๑๐. ตณฺหาธิปนฺนา วตฺตสีลพทฺธา
ลูขํ ตปํ วสฺสสตํ จรนฺตา
จิตฺตญฺจ เนสํ น สมฺมา วิมุตฺตํ
หีนตฺตรูปา น ปารงฺคมา เต.
ผู้ถูกตัญหาครอบงำ ถูกศีลพรตผูกมัด
ประพฤติตบะอันเศร้าหมองตั้งร้อยปี,
จิตของเขาก็หลุดพ้นด้วยดีไม่ได้.
เขามีตนเลว จะถึงฝั่งไม่ได้.
(พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๔๐.
๑๑. ทุนฺนิคฺคหสฺส ลหุโน ยตฺถ กามนิปาติโน
จิตฺตสฺส ทมโถ สาธุ จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ.
การฝึกจิตที่ข่มยาก ที่เบา มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่
เป็นความดี, (เพราะว่า) จิตที่ฝึกแล้ว นำสุขมาให้.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
๑๒. ปทุฏฺฐจิตฺตสฺส น ผาติ โหติ
น จาปิ นํ เทวตา ปูชยนฺติ
โย ภาตรํ เปตฺติกํ สาปเตยฺยํ
อวญฺจยี ทุกฺกฏกมฺมการี.
ผู้ใดทำกรรมชั่ว ล่อลวงเอาทรัพย์สมบัติพี่น้องพ่อแม่
ผู้นั้นมีจิตชั่วร้าย ย่อมไม่มีความเจริญ แม้เทวดาก็ไม่บูชาเขา.
(เทว) ขุ. ชา. ติก. ๒๗/๑๒๐.
๑๓. ภิกฺขุ สิยา ฌายิ วิมุตฺตจิตฺโต
อากงฺเข เว หทยสฺสานุปตฺตึ
โลกสฺส ญตฺวา อุทยพฺพยญฺจ
สุเจตโส อนิสฺสิโต ตทานิสํโส.
ภิกษุเพ่งพินิจ มีจิตหลุดพ้น
รู้ความเกิดและความเสื่อมแห่งโลกแล้ว
มีใจดี ไม่ถูกกิเลสอาศัย มีธรรมนั้นเป็นอานิสงส์
พึงหวังความบริสุทธิ์แห่งใจได้.
(เทว) สํ. ส. ๑๔/๗๓.
๑๔. โย อลีเนน จิตฺเตน อลีนมนโส นโร
ภาเวติ กุสลํ ธมฺมํ โยคกฺเขมสฺส ปตฺติยา
ปาปุเณ อนุปุพฺเพน สพฺพสํโยชนกฺขยํ.
คนใดมีจิตไม่ท้อถอย มีใจไม่หดหู่
บำเพ็ญกุศลธรรม เพื่อบรรลุธรรมที่เกษมจากโยคะ
พึงบรรลุธรรมเป็นที่สิ้นสังโยชน์ทั้งปวงได้.
(พุทฺธ) ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๑๘.
๑๕. สุทุทฺทสํ สุนิปุณํ ยตฺถ กามนิปาตินํ
จิตฺตํ รกฺเขถ เมธาวี จิตฺตํ คุตฺตํ สุขาวหํ.
ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิตที่เห็นได้ยากนัก
ละเอียดนัก มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่,
(เพราะว่า) จิตที่คุ้มครองแล้ว นำสุขมาให้.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)