หนังสือนักธรรมชั้นตรี,นักธรรมตรีpdf,นักธรรมตรี,สรุปนักธรรมตรี,ข้อสอบนักธรรมตรี,เก็งข้อสอบนักธรรมตรี
- หน้าแรก
- พุทธประวัติ
- ธรรมวิภาค
- เบญจศีล-เบญจธรรม
- แบบกระทู้ธรรมชั้นตรี
- แบบกระทู้ธรรมชั้นโท
- แบบกระทู้ธรรมชั้นเอก
- หมวด พุทธศาสนสุภาษิต
- อนุพุทธประวัติชั้นโท
- ดาวโหลดหนังสือธรรมศึกษาชั้นตรี โท เอก
- Download ข้อสอบนักธรรมและธรรมศึกษา ปี 2559-2563
- ประวัตินักธรรม-ธรรมศึกษา โดยสังเขป
- ขอบข่ายการเรียนการสอนธรรมศึกษา 2561
- ขอบข่ายธรรมศึกษา ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป
- ข้อสอบนักธรรมตรี-โท-เอก[ย้อนหลัง]
วันอาทิตย์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
วิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชันโท 2558
วิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชันโท 2559
ปัญหาวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชันโท
สอบในสนามหลวง
วันเสาร์ที๑๙ พฤศจิกายน พุทธศักราช๒๕๕๙
๑. อภิสมาจารคืออะไร? ภิกษุผู้ไม่เอื อเฟื อในอภิสมาจารมีโทษอย่างไรบ้าง ? ตอบ คือธรรมเนียมของภิกษุ ฯ
มีโทษปรับอาบัติถุลลัจจัยเป็นอย่างสูง แต่มีน้อย ส่วนมากปรับอาบัติทุกกฏเป็นพื น
๒. ในกายบริหาร มีข้อปฏิบัติเกี วกับหนวดและคิย วไว้อย่างไร ?
ตอบ เกี ยวกับหนวด มีข ้อปฏิบัติไว้ว่า อย่าพึงไว ้หนวดไว ้เครา คือต้องโกนเสมอ ห้ามไม่ให้แ
และห้ามไม่ให้ตัดหนวดด้วยกรรไกร
เกี ยวกับคิ ว ไม่ได้วางหลักปฏิบัติไว้ แต่พระสงฆ์ไทยนิยมโกนพร้อมกับผม ฯ
๓. สังฆาฏิ บาตร ประคตเอว เข็ม มีดโกน อย่างไหนจัดเป็ นบริขารบริโภค อย่างไหนจัดเป็ น บริขาร อุปโภค?
ตอบ สังฆาฏิ บาตร ประคตเอว จัดเป็นบริขารบริโภค เข็ม มีดโกน จัดเป็นบริขารอุปโภค ฯ
๔. นิสัยระงับ กับ นิสัยมุตตกะ มีอธิบายอย่างไร?
ตอบ นิสัยระงับ หมายถึงการทีถือนิสัยขาดจากปกครอง ภิกษุผู้ เช่น อุปัชฌาย์มรณภาพ เป็นต้น นิสัยมุตตกะ หมายถึงภิกษุผู ด้พรรษา้ไ๕ แล ้ว และมีคุณสมบัติพอรักษาตนได้เมื ออยู่ตามลําพ ทรงพระอนุญาตให้พ้นจากนิสัย ฯ
๕. วัตรคืออะไร? อุปัชฌายวัตรและสัทธิวิหาริกวัตร ใครพึงทําแก่ใคร? ตอบ คือ แบบอย่างอันดีงามที ภิกษุควรประพฤติในกาลนั น ๆ ฯ
อุปัชฌายวัตร สัทธิวิหาริกพึงทําแก่อุปัชฌาย์ สัทธิวิหาริกวัตร อุปัชฌาย์พึงทําแก่สัทธิวิหาริก ฯ
๖. ภิกษุได้ชื อว่า“กุลปสาทโก ผู้ยังตระกูลให้เลือมใส” เพราะมีปฏิปทาอย่างไร?
ตอบ เพราะมีปฏิปทาอย่างนี คือเป็นผู ้ถึงพร้อมด้วยอาจาระ ไม่ทอดตนเป็นคนสนิทของสกุล โดยฐานเป็นคนเลว และอีกอย่างหนึ ง ไม่รุกรานตัดรอนเขา แสดงเมตตาจิตต่อเขา ประพฤติพอดีพองาม ยังความเลื อมใสนับถือของเขาให้เกิดในตน ฯ
๗. ภิกษุอยู่จําพรรษาแล้ว มีเหตุไปที น ือ ผูกใจจะกลับมาให้ทันในวันนั น แต่กลับมาไม่ทัน เช่นนี พรรษา ขาดหรือไม่? เพราะเหตุใด?
ตอบ ถ้าไปด้วยธุระที ทรงอนุญาตให้ไปด้วยสัตตาหกรณียะ พรรษาไม่ขาด เพราะยังอยู่ใน พระพุทธานุญาตนั นเอง ทั งจิตคิดจะกลับก็มีอยู่ ถ้าไปด้วยมิใช่ธุระที เป็นสัตตาหก พรรษาขาด ฯ
๘. สงฆ์สวดปาฏิโมกข์อยู่ภิกษุอืนมาถึง หรือมาถึงเมื อสวดจบแล้ว พึงปฏิบัติอย่างไร ?
ตอบ พึงปฏิบัติอย่างนี คือ ถ้าภิกษุมาใหม่มากกว่า ภิกษุที ประชุมกันอยู่ ต้องสวดตั น้อยกว่า ส่วนที สวดไปแล ้วก็แล ้วไป ให้ภิกษุที มาใหม่ฟังส่วนที ยังเหลืออยู่ มากกว่าหรือน้อยกว่าต้องสวดซํก็ไม่ าอีก ให้ภิกษุที มาใหม่บอกปาริสุทธิในสํานักภิกษุ แล ้ว ฯ
๙. อนาจาร หมายถึงอะไร? เล่นอย่างไรบ้าง จัดเป็ นอนาจาร?
ตอบ อนาจาร หมายถึง ความประพฤติไม่ดีไม่งาม และการเล่นมีประการต่าง ๆ ฯ
เล่นอย่างเด็ก เล่นคะนอง เล่นพนัน เล่นปู้ยีนอึงคะนึง ปู้ยําจัดเป็นอนาจารเล่ ฯ
๑๐. ภัณฑะของภิกษุผู้มรณภาพ จะตกเป็ นของใคร? ภิกษุผู้อุปัฏฐากจะถือเอาด้วยวิสาสะได้หรือไม่?จงอธิบาย
ตอบ ตกเป็นของสงฆ์ ฯ
ไม่ได้ เพราะการจะถือเอาด้วยวิสาสะ ต้องถือเอาในเวลาที เจ้าของภัณฑะยังมีชีวิตอยู่ ฯ
ให้เวลา๓ ชั วโมง