วันจันทร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2561

สันติ ความสงบ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

สันติ ความสงบ หมำยถึงควำมสงบกำย วำจำ และใจ ในที่นี้ จำแนกเป็น ๒ คือ
ความสงบภายนอก ได้แก่ สงบกาย วาจา และ ความสงบภายใน ได้แก่ สงบใจ
ในอุทเทสที่ ๑ พระพุทธองค์ทรงสอนให้พอกพูนทางแห่งสันติ อันเป็นไปทำง
ไตรทวาร คือ กายทวาร วจีทวาร มโนทวาร ที่เป็นไปโดยสุจริต คือเว้นจำกพฤติกรรม
ที่เบียดเบียนตนและผู้อื่นให้เดือดร้อน โดยกำรไม่ประทุษร้ำย กำรไม่กล่ำวร้ำย และกำรไม่
คิดร้ำย เป็นต้น ดังที่ตรัสไว้ในสหัสสวรรค ขุททกนิกำย ธรรมบท ว่ำ “ผู้หลุดพ้นแล้วเพราะ
รู้ชอบ ผู้สงบระงับแล้ว ผู้คงที่นั้น มีใจสงบแล้ว วาจาและการกระทาก็สงบแล้ว”
จิตที่ประกอบด้วยมโนสุจริต ๓ คือ ไม่คิดโลภอยำกได้ ไม่คิดพยำบำทปองร้ำย
มีควำมเห็นชอบตำมคลองธรรม จัดเป็นความสงบภายใน กำรประกอบด้วยกำยสุจริต ๓
วจีสุจริต ๔ จัดเป็นความสงบภายนอก
คำว่ำ พูน ในอุทเทสที่ ๑ หมำยถึงทาให้มากขึ้น ทาให้เจริญขึ้น ในที่นี้มุ่งถึงพูนทำง
ที่ทำให้ถึงควำมดับทุกข์ อันเป็นทำงแห่งสันติที่แท้จริง ได้แก่ อริยมรรคมีองค์ ๘
คำว่ำ ความสงบ ในอุทเทสที่ ๒ ได้แก่ พระนิพพาน มีอธิบำยว่ำ ควำมสุขอย่ำงอื่น
แม้จะเป็นควำมสุขเหมือนกัน แต่ก็ไม่ใช่ควำมสุขที่แท้จริง ส่วนควำมสุขที่เกิดจำกกำรละกิเลส
ได้เด็ดขำด จัดเป็นควำมสุขที่แท้จริง
คำว่ำ อามิส ในอุทเทสที่ ๓ หมำยถึงเครื่องล่อใจให้ติดอยู่ในโลก ดุจเหยื่อที่เบ็ดเกี่ยว
ไว้สำหรับล่อปลำ ได้แก่ กามคุณ ๕ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่น่ำปรำรถนำ น่ำรักใคร่
น่ำพอใจกำรทำจิตมิให้ติดอยู่ในกำมคุณ ๕ จัดเป็นปฏิปทำของผู้รู้ ผู้สงบดีแล้ว ดังที่ตรัสไว้
ในชรำสูตร ขุททกนิกำย สุตตนิบำต ว่ำ “หยาดแห่งน้าย่อมไม่ติดในใบบัว แม้ฉันใด วารี
ย่อมไม่กาซาบในดอกปทุม ฉันใด มุนีย่อมไม่เข้าไปติดในอารมณ์อันเห็นแล้วก็ดี อันฟัง
แล้วก็ดี อันทราบแล้วก็ดี ฉันนั้น” ดังนั้น ผู้มุ่งสันติอันเป็นสุขอย่ำงแท้จริง พึงละโลกำมิสเสีย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น