วันจันทร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2561

วิมุตติ ความหลุดพ้น ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

วิมุตติ ๒ ตามนัยพระบาลี
๑) เจโตวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งใจ หมำยถึง ควำมหลุดพ้นจำก
กิเลสำสวะเครื่องร้อยรัดผูกพันทั้งปวงด้วยกำรฝึกจิต เป็นปฏิปทำข้อปฏิบัติของผู้บำเพ็ญเพียร
ที่เจริญสมถะและวิปัสสนำมำโดยลำดับจนสำเร็จเป็นพระอรหันต์
๒) ปัญญาวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งปัญญา หมำยถึง ควำมหลุดพ้น
ด้วยอำนำจปัญญำที่รู้เห็นตำมเป็นจริง หรือภำวะที่จิตใช้ปัญญำพิจำรณำอันเป็นเหตุให้
หลุดพ้นจำกเครื่องร้อยรัดผูกพันคือกิเลสและอวิชชำได้อย่ำงเบ็ดเสร็จเด็ดขำด เป็นปฏิปทำ
ข้อปฏิบัติของผู้บำเพ็ญเพียรที่มุ่งมั่นเจริญวิปัสสนำอย่ำงเดียวจนสำเร็จเป็นพระอรหันต์
วิมุตติทั้ง ๒ อย่ำงนี้เป็นเครื่องแสดงปฏิปทำที่ให้สำเร็จควำมหลุดพ้นของ
พระอรหันต์ ในพระบำลีจะมีคำว่ำ “อนาสวํ : อันหาอาสวะมิได้” กำกับเป็นคุณบทให้รู้ว่ำ
เป็นโลกุตตรธรรม เช่นพระบำลีว่ำ“อาสวานํ ขยา อนาสวํ เจโตวิมุตฺตึ ปญฺ าวิมุตฺตึ ... :
กระทาให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติอันหาอาสวะมิได้เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ”
ไว้เสมอ จึงเป็นเหตุให้วินิจฉัยว่ำ วิมุตติที่เป็นสำสวะคือมีอำสวะหรือเป็นโลกิยะก็มี
เมื่อกำหนดควำมในธัมมจักกัปปวัตตนสูตรที่ว่ำ “อกุปฺปา เม วิมุตฺติ : วิมุตติของเราไม่กาเริบ”
ก็เป็นเหตุให้วินิจฉัยว่ำ วิมุตติมีทั้งที่เป็น อกุปปธรรม ธรรมที่กาเริบไม่ได้ คือเป็นโลกุตตระ
และเป็น กุปปธรรม ธรรมที่กาเริบได้ คือเป็นโลกิยะ ด้วยเหตุนี้ ในคัมภีร์อรรถกถำ ท่ำนจึง
แบ่งวิมุตติเป็น ๕ อย่ำง
วิมุตติ ๕ ตามนัยอรรถกถา
๑) ตทังควิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยองค์นั้นๆ หมำยถึงภำวะที่จิตพ้นจำกกิเลสด้วย
อำศัยธรรมตรงกันข้ำมที่เป็นคู่ปรับกัน เช่น เกิดเมตตำ หำยโกรธ เกิดสังเวช หำยกำหนัด
เป็นต้น เป็นกำรหลุดพ้นชั่วครำวโดยระงับอกุศลเจตสิกได้เป็นครำวๆ จัดเป็นโลกิยวิมุตติ
๒) วิกขัมภนวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยข่มไว้ หมำยถึงควำมหลุดพ้นจำกกิเลสกำม
และอกุศลธรรมทั้งหลำยได้ด้วยกำลังฌาน อำจสะกดไว้ได้นำนกว่ำตทังควิมุตติ แต่เมื่อฌำน
เสื่อมแล้ว กิเลสอำจเกิดขึ้นอีก จัดเป็นโลกิยวิมุตติ
๓) สมุจเฉทวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยตัดขาด หมำยถึงควำมหลุดพ้นจำกกิเลสด้วย
อริยมรรค โดยที่กิเลสไม่สำมำรถเกิดขึ้นในจิตสันดำนได้อีก จัดเป็นโลกุตตรวิมุตติ
๔) ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยสงบราบ หมำยถึงควำมหลุดพ้นจำกกิเลส
ด้วยอริยผล จัดเป็นโลกุตตรวิมุตติ
๕) นิสสรณวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยสลัดออกได้ หมำยถึงภำวะที่จิตหลุดพ้นจำก
กิเลสเสร็จสิ้นแล้วดำรงอยู่ในภำวะที่หลุดพ้นจำกกิเลสนั้นตลอดไป ได้แก่ นิพพาน จัดเป็น
โลกุตตรวิมุตติ
กำรบัญญัติตทังควิมุตติ เป็นเกณฑ์กำหนดว่ำ วิมุตติที่เป็นของปุถุชนก็มี กำรบัญญัติ
วิกขัมภนวิมุตติ เป็นเกณฑ์กำหนดว่ำ เจโตวิมุตติที่เป็นสำสวะ คือมีอำสวะก็มี กำรบัญญัติ
สมุจเฉทวิมุตติและปฏิปัสสัทธิวิมุตติ เป็นเกณฑ์กำหนดว่ำ วิมุตติเป็นไ ด้ทั้งอริยมรรค
อริยผล กำรบัญญัตินิสสรณวิมุตติ เป็นเกณฑ์กำหนดว่ำ วิมุตติที่เป็นปรมัตถสัจจะนั้นได้แก่
พระนิพพำน หรือเป็นเกณฑ์กำหนดให้ครบโลกุตตรธรรม ๙ (มรรค ๔ ผล ๔ นิพพำน ๑)
สรุปความ
วิมุตติ หมำยถึงควำมที่จิตหลุดพ้นจำกอำสวะทั้งหลำย ในพระบำลีจำแนกเป็น ๒
คือ เจโตวิมุตติ และ ปัญญาวิมุตติ ส่วนในอรรถกถำจำแนกเป็น ๕ คือ ตทังควิมุตติ
วิกขัมภนวิมุตติ สมุจเฉทวิมุตติ ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ และนิสสรณวิมุตติ โดย ๒ ข้อแรก
จัดเป็นโลกิยะ ส่วน ๓ ข้อหลัง จัดเป็นโลกุตตระ
วิมุตติของพระอรหันต์ มีไตรสิกขำ คือ ศีล สมำธิ ปัญญำสมบูรณ์ ส่วนผู้แรกปฏิบัติ
ธรรม กำรหัดทำจิตให้ปลอดจำกกิเลสกำมและอกุศลวิตกอย่ำงอื่นได้ ก็นับว่ำได้รับประโยชน์
จำกกำรศึกษำเรื่องวิมุตติในเบื้องต้นนี้แล้ว

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น