วันพฤหัสบดีที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

วิปัสสนากัมมัฏฐาน ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

วิปัสสนากัมมัฏฐาน
สาธุชนมาทำวิปัสสนาปัญญาที่เห็นแจ้งชัดในอารมณ์ให้เกิดมีขึ้นในจิตด้วย
เจตนาอันใด เจตนาอันนั้นชื่อว่า วิปัสสนาภาวนา
พรรณนาความ
วิปัสสนากัมมัฏฐาน (วิปัสสนาภาวนา) หมำยถึงกัมมัฏฐำนเป็นอุบำยทำให้เกิด
ปัญญำรู้เห็นสภำวธรรมตำมเป็นจริง โดยควำมเป็นไตรลักษณ์ คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตำ
ธรรมเป็นอารมณ์เป็นภูมิของวิปัสสนา
ในกำรเจริญวิปัสสนำกัมมัฏฐำน ต้องรู้จักอำรมณ์ของวิปัสสนำ อุปมำเหมือนกำรปลูก
พืชพันธุ์ธัญญำหำรต้องมีพื้นที่ ถ้ำไม่มีพื้นที่สำหรับปลูกแล้ว พืชก็เกิดไม่ได้ ธรรมอันเป็น
อำรมณ์เป็นภูมิของวิปัสสนำ คือสิ่งที่ยึดหน่วงจิตให้เกิดวิปัสสนำปัญญำ มีอยู่ ๖ หมวด
คือ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒ อริยสัจ ๔ และปฏิจจสมุปบาท ๑๒
ธรรมทั้ง ๖ หมวดนี้ ย่อเป็น รูปและนาม
๑. ขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนำ สัญญำ สังขำร และ วิญญำณ อธิบำยดังนี้
๑) รูป คือร่ำงกำยอันสงเครำะห์ด้วยธำตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม
๒) เวทนา คือ ควำมเสวยอำรมณ์สุข ทุกข์ อุเบกขำ
๓) สัญญา คือ ควำมจำได้หมำยรู้อำรมณ์หรือสิ่งที่มำกระทบกับอำยตนะภำยใน
คือตำ หู จมูก ลิ้น กำย และใจ
๔) สังขาร คืออำรมณ์อันเกิดกับจิต เจตนำควำมคิดอ่ำนที่ปรุงแต่งจิตให้ดีหรือชั่ว
หรือเป็นกลำงๆ
๕) วิญญาณ คือควำมรู้แจ้งอำรมณ์ทำงทวำร ๖ คือ ตำ หู จมูก ลิ้น กำย และใจ
๒. อายตนะ ๑๒ คำว่ำ อำยตนะ แปลว่ำ ที่ต่อ เครื่องต่อ หมำยถึงเครื่องรับรู้อำรมณ์
ของจิต แบ่งเป็นอำยตนะภำยใน ๖ และอำยตนะภำยนอก ๖ คือ อายตนะภายใน ๖ ได้แก่
ตำ หู จมูก ลิ้น กำย ใจ อายตนะภายนอก ๖ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมำรมณ์
๓. ธาตุ ๑๘ คำว่ำ ธาตุ แปลว่ำ สภาพทรงไว้ หมำยถึงสิ่งที่ทรงสภำวะของตนอยู่เอง
ตำมที่เหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น เป็นไปตำมธรรมดำ ไม่มีผู้สร้ำง ไม่มีผู้บันดำล มี ๑๘ อย่ำง คือ
๑) จักขุธาตุ ธาตุคือจักขุประสาท (ตา)
๒) รูปธาตุ ธาตุคือรูป
๓) จักขุวิญญาณธาตุ ธาตุคือสภาวะที่รับรู้รูปทางตา
๔) โสตธาตุ ธาตุคือโสตประสาท (หู)
๕) สัททธาตุ ธาตุคือเสียง
๖) โสตวิญญาณธาตุ ธาตุคือสภาวะที่รับรู้เสียงทางหู
๗) ฆานธาตุ ธาตุคือฆานประสาท (จมูก)
๘) คันธธาตุ ธาตุคือกลิ่น
๙) ฆานวิญญาณธาตุ ธาตุคือสภาวะที่รับรู้กลิ่นทางจมูก
๑๐) ชิวหาธาตุ ธาตุคือชิวหาประสาท (ลิ้น)
๑๑) รสธาตุ ธาตุคือรส
๑๒) ชิวหาวิญญาณธาตุ ธาตุคือสภาวะที่รับรู้รสทางลิ้น
๑๓) กายธาตุ ธาตุคือกายประสาท
๑๔) โผฏฐัพพธาตุ ธาตุคือโผฏฐัพพะ (สิ่งสัมผัส)
๑๕) กายวิญญาณธาตุ ธาตุคือสภาวะที่รับรู้สัมผัสทางกาย
๑๖) มโนธาตุ ธาตุคือมโน (จิต)
๑๗) ธัมมธาตุ ธาตุคือธัมมะ (สิ่งที่ใจนึกคิด,อารมณ์)
๑๘) มโนวิญญาณธาตุ ธาตุคือสภาวะที่รับรู้อารมณ์ทางจิต
๔. อินทรีย์ ๒๒ คำว่ำ อินทรีย์ แปลว่ำ สิ่งที่เป็นใหญ่ หมำยถึงอำยตนะที่เป็นใหญ่
ในกำรทำกิจของตน เช่น ตำเป็นใหญ่ในกำรเห็น เป็นต้น มี ๒๒ อย่ำง คือ
๑) จักขุนทรีย์ อินทรีย์คือจักษุประสาท (ตา)
๒) โสตินทรีย์ อินทรีย์คือโสตประสาท (หู)
๓) ฆานินทรีย์ อินทรีย์คือฆานประสาท (จมูก)
๔) ชิวหินทรีย์ อินทรีย์คือชิวหาประสาท (ลิ้น)

๕) กายินทรีย์ อินทรีย์คือกายประสาท (กาย)๖) มนินทรีย์ อินทรีย์คือมโน (จิต ๘๙ ดวง หรือ ๑๒๑ ดวง)
๗) อิตถินทรีย์ อินทรีย์คืออิตถีภาวะ (ความเป็นหญิง)
๘) ปุริสินทรีย์ อินทรีย์คือปุริสภาวะ (ความเป็นชาย)
๙) ชีวิตินทรีย์ อินทรีย์คือชีวิต
๑๐) สุขินทรีย์ อินทรีย์คือสุขเวทนา (ความรู้สึกเป็นสุข)
๑๑) ทุกขินทรีย์ อินทรีย์คือทุกขเวทนา (ความรู้สึกเป็นทุกข์)
๑๒) โสมนัสสินทรีย์ อินทรีย์คือโสมนัสสเวทนา (ความรู้สึกดีใจ)
๑๓) โทมนัสสินทรีย์ อินทรีย์คือโทมนัสสเวทนา (ความรู้สึกเสียใจ)
๑๔) อุเปกขินทรีย์ อินทรีย์คืออุเบกขาเวทนา (ความรู้สึกเป็นกลาง)
๑๕) สัทธินทรีย์ อินทรีย์คือศรัทธา มีหน้าที่เด่นด้านความเชื่อ
๑๖) วิริยินทรีย์ อินทรีย์คือวิริยะ มีหน้าที่เด่นด้านความเพียร
๑๗) สตินทรีย์ อินทรีย์คือสติ มีหน้าที่เด่นด้านความระลึกชอบ
๑๘) สมาธินทรีย์ อินทรีย์คือสมาธิ มีหน้าที่เด่นด้านความตั้งใจมั่น
๑๙) ปัญญินทรีย์ อินทรีย์คือปัญญา มีหน้าที่เด่นด้านความรู้ชัด
๒๐) อนัญญตัญญัสสามีตินทรีย์ อินทรีย์ของผู้ปฏิบัติด้วยมุ่งโสดาปัตติมัคคญาณ
๒๑) อัญญินทรีย์ อินทรีย์คือปัญญาอันรู้ทั่วถึงโสดาปัตติผลญาณถึงอรหัตต-
มัคคญาณ
๒๒) อัญญาตาวินทรีย์ อินทรีย์แห่งท่านผู้รู้ทั่วถึงอรหัตตผลญาณ
๕. อริยสัจ ๔ คำว่ำ อริยสัจ แปลว่ำ ควำมจริงอันประเสริฐ ควำมจริงที่ทำให้เข้ำถึง
ควำมเป็นพระอริยะ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
๖. ปฏิจจสมุปบาท ๑๒ คำว่ำ ปฏิจจสมุปบาท แปลว่ำ ธรรมที่อาศัยกันและกัน
เกิดขึ้นพร้อมกัน เรียกอีกอย่ำงว่ำ ปัจจยาการ คืออำกำรที่เป็นปัจจัยแก่กันและกัน ได้แก่
อวิชชา สังขาร วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ
ชาติ ชรามรณะธรรมที่เป็นเหตุเกิดขึ้น ตั้งอยู่แห่งวิปัสสนา
ในวิสุทธิ ๗ ธรรมที่เป็นเหตุเกิดขึ้น ตั้งอยู่ของวิปัสสนำ ได้แก่ วิสุทธิ ๒ ข้อ
ข้ำงต้น คือ
๑) สีลวิสุทธิ ควำมหมดจดแห่งศีล
๒) จิตตวิสุทธิ ควำมหมดจดแห่งจิต
ผู้ที่เจริญวิปัสสนำเบื้องต้น ต้องปฏิบัติตนให้มีศีลบริสุทธิ์และมีจิตบริสุทธิ์ก่อน
จึงจะเจริญวิปัสสนำต่อไปได้ ถ้ำเป็นผู้มีศีลไม่บริสุทธิ์ ยังมีจิตฟุ้งซ่ำน ไม่เป็นสมำธิ ก็ไม่ควร
ที่จะเจริญวิปัสสนำ
ธรรมที่เป็นตัววิปัสสนา
ในวิสุทธิ ๗ ธรรมที่เป็นตัววิปัสสนำ ได้แก่ วิสุทธิ ๕ ข้อข้างท้าย คือ
๑) ทิฏฐิวิสุทธิ ควำมหมดจดแห่งทิฏฐิ
๒) กังขาวิตรณวิสุทธิ ควำมหมดจดแห่งญำณเป็นเครื่องข้ำมพ้นควำมสงสัย
๓) มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ควำมหมดจดแห่งญำณเป็นเครื่องเห็นว่ำทำง
หรือมิใช่ทำง
๔) ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ควำมหมดจดแห่งญำณเป็นเครื่องเห็นทำงปฏิบัติ
๕) ญาณทัสสนวิสุทธิ ควำมหมดจดแห่งญำณทัสสนะ คืออริยมรรค ๔
อีกนัยหนึ่ง ธรรมที่เป็นตัววิปัสสนา ได้แก่ ไตรลักษณ์ หรือสำมัญญลักษณะ ๓ คือ
๑) อนิจจตา ความเป็นของไม่เที่ยง
๒) ทุกขตา ความเป็นทุกข์
๓) อนัตตตา ความเป็นของมิใช่ตัวตน
ลักษณะ กิจ ผล และเหตุของวิปัสสนา
ลักษณะ คือ เครื่องหมำยของวิปัสสนำ ได้แก่ควำมรู้ควำมเห็นว่ำสังขำรเป็น
ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตำ อย่ำงแจ้งชัดตำมควำมเป็นจริง
กิจ คือ หน้ำที่ของวิปัสสนำ ได้แก่ควำมขจัดมืดคือโมหะอันปิดบังปัญญำไว้
ไม่ให้เห็นตำมควำมเป็นจริงของสังขำรว่ำ เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตำผล คือ ประโยชน์ที่ได้รับจำกกำรเจริญวิปัสสนำ ได้แก่ควำมรู้แจ้งเห็นจริงใน
สังขำรว่ำ เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตำ ปรำกฏเฉพำะหน้ำ ดุจประทีปส่องสว่ำงอยู่
ฉะนั้น
เหตุ คือ สิ่งที่สนับสนุนให้วิปัสสนำเกิดขึ้นและดำรงอยู่ ได้แก่ควำมที่จิตไม่
ฟุ้งซ่ำน ตั้งมั่นเป็นสมำธิ
วิภาคของวิปัสสนา
วิภาค หมำยถึงกำรแยกส่วนพิจำรณำอำรมณ์วิปัสสนำ ๖ ส่วน คือ
๑) อนิจฺจํ ส่วนที่ไม่เที่ยง คือสังขำรที่ปัจจัยปรุงแต่งสร้ำงขึ้น เป็นของไม่เที่ยง
เพรำะเกิดขึ้นแล้วแปรปรวนเป็นอย่ำงอื่นไป ไม่คงอยู่อย่ำงเดิม
๒) อนิจฺจลกฺขณํ ส่วนที่เป็นลักษณะของความไม่เที่ยง คือเครื่องหมำย
กำหนดให้รู้ว่ำสังขำรเป็นของไม่เที่ยง มีควำมเกิดขึ้นแล้ว แปรปรวนเป็นอย่ำงอื่นไป ไม่คงอยู่
อย่ำงเดิม
๓) ทุกฺขํ ส่วนที่เป็นทุกข์ คือสังขำรที่เป็นตัวทุกข์ เพรำะมีควำมเกิด-ดับ และมี
ควำมเปลี่ยนแปลงเป็นอย่ำงอื่นด้วยทุกข์ที่เกิดจำกชรำ พยำธิ มรณะอยู่เป็นนิตย์
๔) ทุกฺขลกฺขณํ ส่วนที่เป็นลักษณะของความทุกข์ คือเครื่องหมำยกำหนดให้รู้
ว่ำสังขำรเป็นทุกข์ เพรำะถูกชรำ พยำธิ มรณะ บีบคั้นเบียดเบียนเผำผลำญทำลำยให้เป็น
ทุกข์อยู่เป็นนิตย์
๕) อนตฺตา ส่วนที่เป็นอนัตตา คือควำมที่สังขำรและวิสังขำรเป็นอนัตตำ เป็น
สภำพว่ำงจำกตัวตน มิใช่สัตว์ บุคคล ตัวตน เรำเขำ
๖) อนตฺตลกฺขณํ ส่วนที่เป็นลักษณะของอนัตตา คือเครื่องหมำยกำหนดให้รู้ว่ำ
สังขำรและวิสังขำรเป็นสภำพที่ไม่มีตัวตน มิใช่สัตว์ บุคคล ตัวตน เรำเขำ
ผู้เจริญวิปัสสนามี ๒ ประเภท
๑) สมถยานิก ผู้มีสมถะเป็นยาน หมำยถึงผู้เจริญสมถะจนได้บรรลุฌำนสมำบัติ
แล้วจึงอำศัยสมถะนั้นเป็นพื้นฐำนเจริญวิปัสสนำต่อไป เมื่อบรรลุเป็นพระอรหันต์แล้วเป็นผู้มี
คุณวิเศษต่ำงๆ เช่นสำมำรถแสดงฤทธิ์ได้ เป็นต้น๒) วิปัสสนายานิก ผู้มีวิปัสสนาเป็นยาน หมำยถึงผู้เจริญวิปัสสนำอย่ำงเดียวไป
จนบรรลุเป็นพระอรหันต์ โดยมิได้เจริญสมถะ ไม่ได้ฌำนสมำบัติมำก่อน เมื่อเจริญวิปัสสนำก็
กำหนดนำมรูปเป็นอำรมณ์ ยกขึ้นสู่ไตรลักษณ์ เมื่อบรรลุเป็นพระอรหันต์แล้วไม่สำมำรถ
แสดงฤทธิ์ได้ เรียกว่ำสุกขวิปัสสกะ (ผู้เจริญวิปัสสนำล้วน)
วิปัสสนูปกิเลส ๑๐ อย่าง
ผู้เจริญวิปัสสนำ อำจมีสิ่งที่มำทำให้จิตเศร้ำหมองในระหว่ำงเจริญวิปัสสนำ
เรียกว่ำ วิปัสสนูปกิเลส เครื่องเศร้าหมองแห่งวิปัสสนา คือ ธรรมำรมณ์ที่เกิดแก่ผู้ได้วิปัสสนำ
อ่อนๆ จนทำให้สำคัญว่ำตนบรรลุมรรคผลแล้ว เป็นเหตุขัดขวำงให้ไม่ก้ำวหน้ำต่อไปใน
วิปัสสนำญำณ มี ๑๐ อย่ำง คือ
๑) โอภาส แสงสว่ำงเกิดแต่วิปัสสนำจิต ซ่ำนออกจำกสรีระ
๒) ญาณ ควำมหยั่งรู้ หรือวิปัสสนำญำณที่เห็นนำมรูปแจ้งชัด
๓) ปีติ ควำมอิ่มใจที่แผ่ซ่ำนไปทั่วร่ำงกำย
๔) ปัสสัทธิ ควำมสงบกำยและจิต ระงับควำมกระวนกระวำยได้
๕) สุข ควำมสุขกำยและจิตที่เย็นประณีต
๖) อธิโมกข์ ควำมน้อมใจเชื่อ มีศรัทธำกล้ำเป็นที่ผ่องใสของจิตและเจตสิก
๗) ปัคคาหะ ควำมเพียรสม่ำเสมอประคองจิตไว้ด้วยดีในอำรมณ์
๘) อุปัฏฐาน ควำมที่สติตั้งมั่นปรำกฏชัด ควำมมีสติแก่กล้ำ
๙) อุเบกขา ควำมมีจิตเป็นกลำงในสังขำรทั้งสิ้นอย่ำงแรงกล้ำ
๑๐) นิกันติ ควำมพอใจอำลัยในวิปัสสนำที่สุขุมละเอียด
ผู้เจริญวิปัสสนำ เมื่อวิปัสสนูปกิเลส ๑๐ อย่ำงใดอย่ำงหนึ่งเกิดขึ้น พึงพิจำรณำ
รู้เท่ำทันว่ำ “ธรรมดังกล่าวไม่ใช่วิปัสสนา หากแต่เป็นอุปกิเลสแห่งวิปัสสนา ไม่ใช่ทางมรรคผล”
แล้วไม่ยินดี ไม่หลงในธรรมที่เป็นอุปกิเลสนั้น โดยไม่หยุดควำมเพียรในกำรเจริญวิปัสสนำ
ก็จะสำมำรถยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนำญำณขั้นสูงได้สรุปความ
ผู้เจริญวิปัสสนำจนได้วิปัสสนำญำณ ย่อมเห็นนำมรูปโดยควำมเป็นไตรลักษณ์
คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตำ ตำมควำมเป็นจริง จะได้รับอำนิสงส์มำกกว่ำกำรบำเพ็ญ
ทำน และกำรรักษำศีล โดยมีอานิสงส์ ๔ อย่าง ดังนี้
(๑) มีสติมั่นคง ไม่หลงตำย (ตำยอย่ำงมีสติ)
(๒) เกิดในสุคติภพ คือ โลกมนุษย์และโลกสวรรค์
(๓) เป็นอุปนิสัยแห่งมรรค ผล นิพพำน ต่อไปในเบื้องหน้ำ
(๔) ถ้ำมีอุปนิสัยแห่งมรรค ผล นิพพำน ก็สำมำรถบรรลุได้ในชำตินี้
การ เจริญ วิปัส สน า จัด ว่ำเป็นปฏิบัติบูช ำอัน เลิศ อัน ประเสริฐที่สุด
ในพระพุทธศำสนำ เพรำะสำมำรถทำให้พ้นจำกกิเลสและกองทุกข์ ปิดประตูอบำยภูมิได้
ฉะนั้น พุทธศำสนิกชนไม่พึงประมำท ควรหำโอกำสบำเพ็ญวิปัสสนำโดยถ้วนทั่วกันเถิด

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น