วันพฤหัสบดีที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

พุทธคุณกถา ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

พุทธคุณกถา
พุทธคุณ ๙
๑. อรหํ ผู้เป็นพระอรหันต์
๒. สมฺมาสมฺพุทฺโธ ผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ
๓. วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน ผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชำและจรณะ
๔. สุคโต ผู้เสด็จไปดีแล้ว
๕. โลกวิทู ผู้รู้แจ้งโลก
๖. อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ ผู้เป็นสำรถีฝึกคนที่ฝึกได้ ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่ำ
๗. สตฺถา เทวมนุสฺสาน ผู้เป็นพระศำสดำของเทวดำและมนุษย์
ทั้งหลำย
๘. พุทฺโธ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบำนแล้ว
๙. ภควา ผู้ทรงจำแนกพระธรรม ผู้มีโชค

พุทธคุณ คือ พระคุณของพระพุทธเจ้ำ ทั้งที่เป็นพระคุณสมบัติส่วนพระองค์
และพระคุณที่ทรงบำเพ็ญเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้อื่น มี ๙ ประกำร ดังนี้
๑. อรหํ ผู้เป็นพระอรหันต์ หมำยถึง ผู้บริสุทธิ์ปรำศจำกกิเลสโดยสิ้นเชิง ในอรรถกถำ
และคัมภีร์วิสุทธิมรรค ได้นิยำมควำมหมำยของคำว่ำ อรหํ ไว้ ๕ ประกำร
๑) เป็นผู้ไกลกิเลส คือทรงดำรงอยู่ไกลแสนไกลจำกกิเลสทั้งหลำย เพรำะทรง
กำจัดกิเลสทั้งหลำยพร้อมทั้งวำสนำด้วยอริยมรรคจนหมดสิ้น
๒) เป็นผู้กำจัดอริทั้งหลาย คือทรงกำจัดข้ำศึกคือกิเลสทั้งหลำยด้วยอริยมรรค
๓) เป็นผู้หักกำแห่งสังสารจักร คือทรงหักกงล้อแห่งกำรเวียนว่ำยตำยเกิดใน
ภพภูมิต่ำงๆ๔) เป็นผู้ควรแก่ปัจจัย ๔ เป็นต้น คือทรงเป็นผู้ควรแก่กำรบูชำพิเศษ เพรำะ
พระองค์ทรงเป็นทักขิไณยบุคคลชั้นยอด เทวดำและมนุษย์ทั้งหลำยต่ำงบูชำพระองค์ด้วยกำร
บูชำอย่ำงยิ่ง
๕) เป็นผู้ไม่มีที่ลับในการทำบาป คือไม่ทรงทำบำปทุจริตทั้งในที่ลับและ
ในที่แจ้ง
๒. สมฺมาสมฺพุทฺโธ ผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ หมำยถึงเป็นผู้ตรัสรู้สรรพสิ่งที่ควรรู้ยิ่ง ที่ควร
กำหนดรู้ ที่ควรละ ที่ควรทำให้แจ้ง และที่ควรเจริญให้เกิดมีได้อย่ำงถูกต้องโดยชอบด้วย
พระองค์เอง โดยไม่มีผู้ใดแนะนำสั่งสอน โดยสรุป คือ พระองค์ตรัสรู้อริยสัจ ๔ ด้วย
พระองค์เอง
๓. วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน ผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ หมำยถึงทรงเพียบพร้อม
ด้วยวิชชำ ๓ วิชชำ ๘ และจรณะ ๑๕
วิชชา ๓ คือ
๑) ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ญำณหยั่งรู้ระลึกชำติหนหลังได้
๒) จุตูปปาตญาณ ญำณหยั่งรู้จุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลำย
๓) อาสวักขยญาณ ญำณหยั่งรู้ควำมสิ้นไปแห่งอำสวกิเลส
วิชชา ๘ คือ
๑) วิปัสสนาญาณ ปัญญำที่พิจำรณำเห็น รูป นำม คือ ขันธ์ ๕ เป็นส่วนๆ
ต่ำงอำศัยกัน
๒) มโนมยิทธิ ฤทธิ์ทำงใจ เช่น เนรมิตกำยได้หลำกหลำยอย่ำง เป็นต้น
๓) อิทธิวิธิ แสดงฤทธิ์ได้ เช่น เหำะเหินเดินอำกำศได้ เดินบนน้ำดำลงไปใน
แผ่นดินได้ เป็นต้น
๔) ทิพพโสต หูทิพย์ คือฟังเสียงที่อยู่ไกลแสนไกลได้ยิน
๕) เจโตปริยญาณ กำหนดรู้ใจผู้อื่นได้ เช่น รู้ควำมคิดคนอื่นว่ำคิดอย่ำงไร
๖) ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ญำณระลึกชำติหนหลังของตนได้
๗) ทิพพจักขุ ตำทิพย์ เห็นกำรเกิดกำรตำยของเหล่ำสัตว์
๘) อาสวักขยญาณ รู้จักทำอำสวะให้สิ้นไปไม่มีเหลือจรณะ ๑๕ คือ
๑) สีลสังวร ควำมสำรวมในศีล
๒) อินทรียสังวร ควำมสำรวมอินทรีย์
๓) โภชเน มัตตัญญุตา ควำมเป็นผู้รู้จักประมำณในกำรบริโภค
๔) ชาคริยานุโยค ควำมหมั่นประกอบควำมเพียร
๕) สัทธา ควำมเชื่อกรรมและผลของกรรม
๖) หิริ ควำมละอำยต่อบำปทุจริต
๗) โอตตัปปะ ควำมสะดุ้งกลัวต่อบำปทุจริต
๘) พาหุสัจจะ ควำมเป็นผู้ได้สดับมำก
๙) วิริยารัมภะ กำรปรำรภควำมเพียร
๑๐) สติ ควำมระลึกได้
๑๑) ปัญญา ควำมรอบรู้ตำมเป็นจริง
๑๒) ปฐมฌาน ฌำนที่ ๑
๑๓) ทุติยฌาน ฌำนที่ ๒
๑๔) ตติยฌาน ฌำนที่ ๓
๑๕) จตุตถฌาน ฌำนที่ ๔
๔. สุคโต ผู้เสด็จไปดีแล้ว หรือผู้กล่ำวดีแล้ว ในอรรถกถำนิยำมควำมหมำยไว้ ๔ ประกำร
๑) ทรงพระนำมว่ำ สุคโต เพรำะมีกำรเสด็จดำเนินไปอย่ำงบริสุทธิ์ หำโทษมิได้
ด้วยอริยมรรค
๒) ทรงพระนำมว่ำ สุคโต เพรำะเสด็จไปสู่อมตสถำนคือพระนิพพำน
๓) ทรงพระนำมว่ำ สุคโต เพรำะเสด็จไปโดยชอบ ไม่ทรงหวนกลับมำสู่กิเลส
ที่ละได้แล้ว
๔) ทรงพระนำมว่ำ สุคโต เพรำะตรัสวำจำชอบ ตรัสคำจริง ประกอบด้วย
ประโยชน์
๕. โลกวิทู ผู้ทรงรู้แจ้งโลก มีควำมหมำย ๒ ประกำร ดังนี้
๑) ทรงพระนำมว่ำ โลกวิทู เพรำะทรงรู้แจ้งโลกภำยในคือร่ำงกำย ซึ่งมีสัญญำ
มีใจครองนี้ โดยทรงรู้ถึงสภำวะ เหตุเกิดขึ้น ควำมดับ และวิธีปฏิบัติให้ลุถึงควำมดับอย่ำง
ถ่องแท้๒) ทรงพระนำมว่ำ โลกวิทู เพรำะทรงรู้แจ้งโลกภำยนอก ๓ คือ (๑) สังขารโลก
โลกคือสังขำรที่มีกำรปรุงแต่งตำมเหตุปัจจัย เช่น สรรพสัตว์ดำรงอยู่ได้เพรำะอำหำร
(๒) สัตวโลก โลกคือหมู่สัตว์ซึ่งแยกเป็นมนุษย์ เทวดำ พรหม (๓) โอกาสโลก โลกคือแผ่นดิน
หรือโลกต่ำงๆ ที่มีในจักรวำล
๖. อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ ผู้เป็นสารถีฝึกคนที่ฝึกได้ ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า คือทรงทำ
หน้ำที่ดุจสำรถี ฝึกเทวดำ มนุษย์ อมนุษย์ และสัตว์ดิรัจฉำนที่สมควรฝึกได้ ด้วยอุบำยวิธี
ต่ำงๆ ตำมสมควรแก่อัธยำศัยของแต่ละบุคคลได้อย่ำงไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่ำ
๗. สตฺถา เทวมนุสฺสานํ ผู้เป็นพระศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย คือทรงเป็น
บรมครูสั่งสอนบุคคลทุกระดับชั้น ด้วยพระมหำกรุณำ โดยมุ่งประโยชน์ในโลกนี้ ประโยชน์
ในโลกหน้ำ และประโยชน์สูงสุดคือพระนิพพำน
๘. พุทฺโธ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว คือทรงเป็นพระพุทธเจ้ำอย่ำงสมบูรณ์ เพรำะตรัสรู้
สรรพสิ่งที่ควรรู้ และทรงสอนผู้อื่นให้รู้ตำม พระองค์ทรงตื่นเองจำกควำมเชื่อถือและ
ข้อปฏิบัติทั้งหลำยที่นับถือกันมำผิดๆ และทรงปลุกผู้อื่นให้ตื่นจำกควำมหลงงมงำย ทรงมี
พระหฤทัยเบิกบำนบำเพ็ญพุทธกิจ ได้บริสุทธิ์บริบูรณ์
๙. ภควา ผู้ทรงจาแนกพระธรรม ผู้มีโชค ในอรรถกถำและคัมภีร์วิสุทธิมรรค
ให้นิยำมควำมหมำยไว้ ๖ ประกำร ดังนี้
๑) ทรงเป็นผู้มีโชค คือทรงหวังพระโพธิญำณก็ได้สมหวัง ซึ่งเป็นผลจำก
พระบำรมีที่ทรงบำเพ็ญมำนำนถึง ๔ อสงไขย ๑ แสนกัป
๒) ทรงเป็นผู้ทำลายกิเลสและหมู่มารทั้งมวลได้อย่างราบคาบ คือทรงชนะ
กิเลสทั้งปวงและหมู่มำรได้หมดสิ้น
๓) ทรงมีภคธรรม ๖ ประการ คือ (๑) ควำมมีอำนำจเหนือจิต (๒) โลกุตตรธรรม
(๓) พระเกียรติยศที่ปรำกฏทั่วในโลก ๓ (๔) พระสิริรูปสง่ำงำมครบทุกส่วน (๕) ควำมสำเร็จ
ประโยชน์ตำมที่ทรงมุ่งหวัง (๖) ควำมเพียรชอบเป็นเหตุให้ได้รับควำมเคำรพจำกชำวโลก
๔) ทรงจำแนกแจกธรรม คือ ทรงเป็นวิภัชชวาทีในกำรแสดงธรรม โดยทรง
แยกแยะจำแนกแจกแจงประเภทแห่งธรรมออกไปอย่ำงละเอียดวิจิตรพิสดำร
๕) ทรงเสพอริยธรรม คือทรงยินดีในอริยวิหำรธรรม (ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของ
พระอริยเจ้ำ) วิเวก (ควำมสงัดกำยและจิต) วิโมกข์ (ควำมหลุดพ้นจำกกิเลส) และอุตตริ-
มนุสสธรรม (ธรรมของมนุษย์อันยวดยิ่ง มีฌำนสมำบัติเป็นต้น)
๖) ทรงสลัดตัณหาในภพ ๓ ได้แล้ว คือทรงปรำศจำกกิเลสตัณหำอันทำให้เวียน
ว่ำยตำยเกิดในภพ ๓ คือ กำมภพ รูปภพ และอรูปภพ
สรุปพระพุทธคุณ
พระพุทธคุณ ๙ ตั้งแต่ อรหํ ถึง ภควา เป็นเนมิตกนาม เกิดโดยนิมิตคืออรหัตตคุณ
และอนุตตรสัมมำสัมโพธิญำณ ไม่มีผู้ใดในมนุษยโลกและเทวโลกแต่งตั้งถวำย
พระมติของสมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงจัดพระพุทธคุณ ๙ ไว้โดยย่อ
๒ ประกำร คือ พระปัญญาคุณ กับ พระกรุณาคุณ พระฎีกำจำรย์ทั้งหลำยจัดไว้
๓ ประกำร คือ พระปัญญาคุณ พระวิสุทธิคุณ และพระกรุณาคุณ ในพระคุณทั้ง ๓ นี้ ข้อที่
เป็นหลักและกล่ำวถึงทั่วไปในคัมภีร์ต่ำงๆ มี ๓ คือ ปัญญำและกรุณำ ส่วนวิสุทธิ เป็นพระคุณ
เนื่องอยู่ในพระปัญญำอยู่แล้ว เพรำะเป็นผลเกิดเองจำกกำรตรัสรู้ จึงไม่แยกไว้เป็นข้อหนึ่ง
ต่ำงหำก
พระพุทธคุณ บทว่ำ อรห , สมฺมำสมฺพุทฺโธ, วิชฺชำจรณสมฺปนฺโน, สุคโต, โลกวิทู จัดเข้ำ
ในพระปัญญาคุณ, บทว่ำ อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสำรถิ และ สตฺถำ เทวมนุสฺสำน จัดเข้ำใน
พระกรุณาคุณ, บทว่ำ พุทฺโธ และ ภควำ จัดเข้ำได้ทั้งในพระปัญญาคุณและพระกรุณาคุณ
อีกอย่ำงหนึ่ง บทว่ำ อรห , สมฺมำสมฺพุทฺโธ, วิชฺชำจรณสมฺปนฺโน, สุคโต, โลกวิทู แสดง
คุณสมบัติส่วนพระองค์ เรียกว่ำ อัตตหิตคุณ, บทว่ำ อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสำรถิ และ สตฺถำ
เทวมนุสฺสำน แสดงคุณสมบัติเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น เรียกว่ำ ปรหิตคุณ, บทว่ำ พุทฺโธ และ
ภควำ แสดงคุณสมบัติส่วนพระองค์และเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น เรียกว่ำ อัตตปรหิตคุณ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น