วันพฤหัสบดีที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

คติ ๒ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

สังสารวัฏ หมำยถึงการเวียนว่ายตายเกิด ได้แก่ลำดับกำรสืบต่อที่เป็นไปไม่ขำดสำย
แห่งขันธ์ ธำตุ และอำยตนะทั้งหลำย หรือกำรเวียนว่ำยตำยเกิดอยู่ในภพภูมิกำเนิดต่ำงๆ
คติ คือภูมิเป็นที่ไป หรือเป็นที่ถึงเบื้องหน้ำแต่ตำย มี ๒ อย่ำง คือ (๑) ทุคติ ภูมิ
เป็นที่ไปข้างชั่ว ได้แก่ สถำนที่ไปเกิดที่มีแต่ควำมทุกข์ร้อน (๒) สุคติ ภูมิเป็นที่ไปข้างดี ได้แก่
สถำนที่ไปเกิดที่มีควำมสุขสบำย คติทั้ง ๒ นั้น มีที่มำในพระสูตรต่ำงๆ แห่งพระไตรปิฎกดังนี้
๑. ทุคติ
ทุคติ ในบำงพระสูตรแจกเป็น ๒ คือ (๑) นิรยะ คือนรก โลกอันหำควำมเจริญมิได้
(๒) ติรัจฉานโยนิ กำเนิดสัตว์ดิรัจฉำน (สัตว์เจริญโดยขวำงหรือไปตำมยำว) บำงพระสูตร
เพิ่ม ปิตติวิสยะ แดนแห่งเปรต เข้ำไปเป็น ๓ ด้วยกัน อีกอย่ำงหนึ่งว่ำ อบาย โลกอัน
ปรำศจำกควำมเจริญ ทุคติ ภูมิเป็นที่ไปข้ำงชั่ว วินิบาต โลกที่ทำให้สัตว์ผู้ตกอยู่ไร้อำนำจ ใน
พระสูตรโดยมำกเพิ่ม นิรยะ ไว้ตอนท้ำย จึงรวมเป็น ๔
ในคัมภีร์อรรถกถำพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก ได้ให้คำจำกัดควำมทุคติ
ไว้ ๔ อย่ำง ดังนี้
อบาย หมำยถึงภูมิอันปรำศจำกควำมสุข ไร้ควำมเจริญ หรือสถำนที่ปรำศจำกบุญ
ที่เป็นเหตุให้ได้สมบัติ ๓ คือ มนุษย์ สวรรค์ นิพพำน
ทุคติ หมำยถึงภูมิอันมีแต่ควำมทุกข์ หรือสถำนที่สัตว์ไปเกิดเพรำะผลกรรมชั่วอัน
เนื่องจำกควำมเป็นคนเจ้ำโทสะ
วินิบาต หมำยถึงภูมิเป็นที่ตกแห่งสัตว์ผู้ไร้อำนำจ หรือตกไปมีแต่ควำมพินำศ
มีอวัยวะแตกกระจัดกระจำย
นิรยะ หรือ นรก หมำยถึงภูมิอันไม่มีควำมเจริญ มีแต่ควำมเร่ำร้อนกระวนกระวำย
ในคัมภีร์สุมังคลวิลำสินี คำว่ำ วินิบาต หมำยถึงสัตว์จำพวกที่ไม่นับเข้ำในสัตว์
ผู้บังเกิดในอบำยภูมิ ๔ ได้แก่ พวกเวมานิกเปรต คือเปรตที่แม้จะมีวิมำนอยู่ แต่ไม่รุ่งเรือง

เหมือนเทพอื่นๆ ได้เสวยสุขเพียงชั่วครู่แล้วเสวยทุกข์ทรมำนต่ำงๆ เป็นช่วงๆ สลับกันไป
๒. สุคติ
สุคติ คือ ภูมิอันเป็นที่เกิดของผู้ประกอบกุศลกรรม มี ๒ อย่ำง คือ
๑) มนุษยโลก โลกของมนุษย์ หมำยถึงภูมิที่อยู่ของสัตว์ที่มีจิตใจสูง เป็นผู้รู้จักใช้
เหตุผล
๒) เทวโลก โลกของเทวดาและพรหม หมำยถึงภูมิที่อยู่ของเทวดำในสวรรค์ชั้น
กำมำพจร ๖ และพรหมผู้สถิตอยู่ในพรหมโลก
สวรรค์ชั้นกามาพจร ได้แก่โลกสวรรค์อันเป็นที่อยู่ของเทวดำที่ยังข้องอยู่ในกำมคุณ ๕
เป็นภูมิที่มีแต่ควำมสุขสบำย สมบูรณ์ด้วยโภคสมบัติ หรือเรียกว่ำ สุคติโลกสวรรค์ มี ๖ ชั้น คือ
(๑) จาตุมหาราชิกา สวรรค์ที่ท้ำวมหำรำชทั้ง ๔ คือ ท้ำวธตรฐ ท้ำววิรุฬหก
ท้ำววิรูปักษ์ ท้ำวกุเวร เป็นผู้ปกครอง
(๒) ดาวดึงส์ สวรรค์เป็นที่อยู่ของเทวดำสหำย ๓๓ องค์ มีท้ำวสักกเทวรำชเป็น
ผู้ปกครอง
(๓) ยามา สวรรค์เป็นที่อยู่ของเทวดำผู้ปรำศจำกทุกข์
(๔) ดุสิต สวรรค์เป็นที่อยู่ของเทวดำผู้เอิบอิ่มด้วยทิพยสมบัติอันเป็นของเฉพำะตน
(๕) นิมมานรดี สวรรค์เป็นที่อยู่ของเทวดำผู้ยินดีในกำมสุขที่ตนเนรมิตขึ้น

(๖) ปรนิมมิตวสวัตดี สวรรค์เป็นที่อยู่ของเทวดำผู้ยินดีในกำมสุขที่ผู้อื่นเนรมิตให้
พรหมโลก ได้แก่ภูมิอันที่อยู่ของพรหมผู้ประเสริฐและบริสุทธิ์ คือผู้บำเพ็ญสมำธิจิต
แน่วแน่จนได้บรรลุฌำนสมำบัติหรือสำเร็จเป็นอริยบุคคลชั้นอนำคำมีในโลกมนุษย์ เมื่อสิ้นชีวิต

จึงไปบังเกิดในพรหมโลกตำมลำดับชั้นแห่งคุณธรรมที่ได้บรรลุ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น