แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ สรุปนักธรรมชั้นตรี แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ สรุปนักธรรมชั้นตรี แสดงบทความทั้งหมด

วันศุกร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2567

สรุปนักธรรมตรี รวมหน้า

 สรุปนักธรรมตรี  หน้า 1 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/1.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า  2 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/2.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 3 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/3.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 4 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/4.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 5 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/5.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 6 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/6.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 7 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/7.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 8 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/8.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า  9 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/9.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 10 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/10.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 11 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/11.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 12 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/12.html



วันอังคารที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

สรุปนักธรรมชั้นตรี หน้าที่ 12/12

 

·       ภิกษุกลืนกินอาหารที่ยังไม่มีผู้ให้ คือ ยังไม่ได้รับประเคนให้ล่วงช่องปากเข้าไป ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่นํ้าและไม้สีฟัน (ในปาจิตตีย์ โภชนวรรค)

(ปี 52) ลักษณะการประเคนประกอบด้วยองค์อะไรบ้าง? การช่วยกันยกโต๊ะอาหารขึ้นประเคนก็ดี การจับผ้าปูโต๊ะประเคนก็ดี ทั้ง วิธน ถูกต้องหรือไม่? เพราะเหตุไร?

ตอบ   ลักษณะการประเคน ประกอบด้วยองค์ต่อไปนี้

.ของที่จะพึงประเคนนั้นไม่ใหญ่โต หรือหนักเกินไป พอคนปานกลางยกได้คนเดียว

.ผู้ประเคนเข้ามาอยู่ในหัตถบาส (บ่วงมือ หรือที่ใกล้ตัว นั่งห่างกันไม่เกิน ศอก)

.เขาน้อมเข้ามา

.กิริยาที่น้อมเข้ามาในนั้น ด้วยกายก็ได้ ด้วยของเนื่องด้วยกายก็ได้ ด้วยโยนให้ก็ได้

.ภิกษุรับด้วยกายก็ได้ ด้วยของเนื่องด้วยกายก็ได้

การช่วยกันยกโต๊ะอาหารขึ้นมาประเคนก็ดี การจับผ้าปูโตะประเคนก็ดี ทั้ง วิธีไม่ถูกต้อง เพราะไม่ต้องลักษณะองค์ประเคน การ ช่วยกันยกโต๊ะอาหารขึ้นมาประเคนผิดลักษณะองค์ที่ และการจับผ้าปูโตะประเคนผิดลักษณะองค์ที่

·       ภิกษุขอปัจจัย ต่อผู้ที่ปวารณาไว้ ถ้าเขาปวารณาโดยมีกําหนดเวลา พึงขอได้เพียงกําหนดเวลานั้น แต่ถ้าเขาปวารณาโดยไม่ได้ กําหนดเวลา พึงขอได้เพียง เดือนเท่านั้น เว้นไว้แต่เขาปวารณาอีก หรือปวารณาเป็นนิตย์ (ในปาจิตตีย์ อเจลกวรรค)

(ปี 55) ภิกษุขอปัจจัย ต่อผู้ที่ปวารณาไว้ มีพระพุทธานุญาตให้ปฏิบัติอย่างไร?

ตอบ ให้ปฏิบัติดังนี้ ถ้าเขาปวารณาโดยมีกําหนดเวลา พึงขอได้เพียงกําหนดเวลานั้น แต่ถ้าเขาปวารณาโดยไม่ได้กําหนดเวลา พึงขอได้ เพียง เดือนเท่านั้น เว้นไว้แต่เขาปวารณาอีก หรือปวารณาเป็นนิตย์

 

คนปวารณา(คนบอกให้ขอปัจจัยเมื่อต้องการ) จําแนกอธิบาย อย่างดังนี้

.ปวารณากําหนดปัจจัย หมายความว่า ปวาณาที่กําหนดชนิดสิ่งของ เช่น จีวร หรือ บิณฑบาตเป็น หรือกําหนดจํานวนสิ่งของ เช่น ผ้า กี่ผืน บิณฑบาตมราคาเท่าไร เป็นต้น (ข้อนี้เคยออกข้อสอบถามความหมาย)

.ปวารณากําหนดกาล

.ปวารณากําหนดทั้ง อย่าง

.ปวาณาไม่กําหนดทั้ง อย่าง

(ปี 51) คําว่า ปวารณากําหนดปัจจัย หมายความว่าอย่างไร?

ตอบ หมายความว่า ปวารณาที่กําหนดชนิดสิ่งของ เช่นจีวร หรือบิณฑบาตเป็นต้น หรือกําหนดจํานวนสิ่งของ เช่น ผ้ากี่ผืน บิณฑบาตมี ราคาเท่าไร เป็นต้น ฯ

·        ภิกษุให้ของเคี้ยวของฉันแก่นักบวชนอกศาสนา ด้วยมือของตนต้องปาจิตตีย์ (ในปาจิตตีย์ อเจลกวรรค)

(ปี 48) บุคคลที่เรียกว่า ปริพาชก และ ปริพาชิกา คือใคร? ภิกษุให้ของเคี้ยวก็ดี ของกินก็ดี แก่บุคคลเหล่านั้นอย่างไรเป็นอาบัติและ อย่างไรไม่เป็นอาบัติ? ตอบ ปริพาชก คือนักบวชผู้ชายนอกพระพุทธศาสนา ปริพาชิกา คือนักบวชผู้หญิงนอกพระพุทธศาสนา ให้ด้วย มือของตนต้องอาบัติปาจิตตย์ สั่งให้ให้ก็ดี วางให้ก็ดี ไม่เป็นอาบัติ

·       ภิกษุซ่อนบริขาร คือ บาตร จีวร ผ้าปูนั่ง กล่องเข็ม ประคดเอว สิ่งใดสิ่งหนึ่งของภิกษุอื่น ด้วยคิดว่าจะล้อเล่น ต้องปาจิตตีย์ (ใน ปาจิตตีย์ สุราปานวรรค)

·       ภิกษุได้จีวรใหม่ ต้องพินทุ (ทําวงกลมๆ เหมือนหยาดนํ้า) ด้วยสี อย่าง คือ เขียวคราม โคลน ดําคลํ้า อย่างใดอย่างหนึ่งก่อน จึงนุ่งห่ม ได้ ถ้าไม่ทําพินทุก่อนแล้วนุ่งห่ม ต้องปาจิตตีย์ (ในปาจิตตย์ สุราปานวรรค)


(ปี 62 ,45) จีวร ผ้านิสีทนะ อังสะ ผ้าเช็ดหน้า ย่ามผ้า เมื่อจะใช้สอย อย่างไหนควรพินทุ  อย่างไหนไม่ควร? เพราะเหตุใด?

ตอบ   จีวร และอังสะ ควรพินทุ เพราะใช้ห่ม

ผ้านิสีทนะ ผ้าเช็ดหน้า และย่ามผา ไม่ต้องพินทุ เพราะไม่ได้ใช้นุ่งห่ม

(ปี 48) เมื่อภิกษไุ ด้จีวรใหม่มา กอนที่จะนุ่งห่ม ต้องทําพินทุด้วยสี สี อย่างใดอย่างหนึ่ง คือสีอะไรบ้าง?

(ปี 43) คําว่า พินทุกัปปะ คืออะไร?

ตอบ คือการทําให้เสียสี (วัตถุสําหรับทําให้เสยสี คือเขียวคราม โคลน ดําคลํ้า ทําให้เป็นจุดวงกลมใหญ่เท่าแววตานกยูง เล็กเท่าหลังตัว เรือด)

·        ภิกษุ(เอานิ้ว) จี้ภิกษุ ต้องปาจิตตย์ (ในปาจิตตีย์ สุราปานวรรค)

·        ภิกษุว่ายนํ้าเล่น ต้องปาจิตตย์ (ในปาจิตตีย์ สุราปานวรรค)

·        ภิกษุหลอนภิกษุให้กลัวผี ต้องปาจิตตีย์ (ในปาจิตตีย์ สุราปานวรรค)

·        ฆ่าสัตว์เดรัจฉานให้ตาย ต้องอาบัติปาจิตตีย์ (ในปาจิตตย์ สัปปาณวรรค)

·        น้อมมาเพื่อบุคคลอื่น เป็นอาบัติปาจิตตีย์ (ในปาจิตตีย์ สหธรรมิกวรรค)

·        โจทด้วยอาบัติที่ไม่ใช่ปาราชิก เป็นอาบัติปาจิตตีย์ (ในปาจิตตย์ สหธรรมิกวรรค)

·        ภิกษุอื่นท่องปาติโมกข์อยู่ ภิกษุแกล้งพูดให้เธอคลายอุตสาหะ ต้องปาจิตตีย์ (ในปาจิตตีย์ สหธรรมิกวรรค)

(ปี 49) ภิกษุกําลังฟังพระปาฏิโมกข์อยู่ กล่าวขึ้นว่า จะสวดไปทําไม ฟังก็ไม่รู้เรื่อง น่าเบื่อน่ารําคาญ เช่นนี้ต้องอาบัติอะไร? เพราะ เหตุไร? ตอบ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะก่นสิกขาบท

·       ภิกษุเข้าบ้านไม่บอกลาภิกษุอื่นผู้มอยู่ในอาวาสในเวลาวิกาล (ตั้งแต่หลังเที่ยงวันไป) เป็นอาบัติปาจิตตย์ เว้นไว้แต่มีกิจด่วน (ในปาจิตตย รตนวรรค)

(ปี 62 ,44) ภิกษุเข้าบ้านในเวลาวิกาล โดยไม่บอกลาภิกษุอื่นที่มีอยู่ในวัด ต้องอาบัติอะไรหรือไม่ ?

ตอบ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่มีกิจรีบด่วน

(ปี 55) ภิกษุเข้าบ้านโดยไม่ได้บอกลาภิกษุอื่นผมีอยู่ในอาวาส ต้องอาบัติอะไรหรือไม่? จงอธิบาย

ตอบ ถ้าเข้าบ้านในเวลาที่เป็นกาล ตั้งแต่เช้าถืงเวลาก่อนเที่ยงวัน ไม่ต้องอาบัติ ถ้าเข้าบ้านในเวลาวิกาล คือตั้งแต่หลังเที่ยงวันไป ต้อง อาบัติปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่มีกิจด่วน (หรือผู้อยู่ในนิสสัย)


·       ภิกษุทําผ้าอาบนํ้าฝน พึงทําให้ได้ประมาณ นั้น ยาว คืบพระสค ประมาณเสียก่อน จึงแสดงอาบัติตก (ในปาจิตตีย์ รตนวรรค)


กว้าง คืบครึ่ง ถ้าทําให้เกินกําหนดนี้ ต้องปาจิตตีย์ ต้องตัดให้ได้


(ปี 50) ผ้าอาบนํ้าฝนมีกําหนดขนาดไว้เท่าใด? ถ้าทําเกินกว่าขนาดนั้นต้องอาบัติ ก่อนจะแสดงอาบัตินั้น ต้องทําอย่างไร?

ตอบ ยาว คืบ กว้าง คืบครึ่ง โดยคืบพระสคต ต้องตัดให้ได้ขนาดเสยก่อน

·        ภิกษุรับนิมนต์ไปฉันโภชนะทั้ง แล้ว จะไปในที่อื่นจากที่นิมนต์นั้น ในเวลาก่อนฉันก็ดี ฉันกลับมาแลวก็ดี ต้องลาภิกษุที่มีอยู่ในวัดก่อน จึงจะไปได้ ถ้าไม่ลาก่อนเที่ยวไป ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่สมัย คือ จีวรกาล(คราวถวายจีวร) และเวลาทําจีวร(เวลาตัดจีวร) (ในปาจิตตีย์ อเจลกวรรค)

(ปี 50) ภิกษุรับนิมนต์แล้ว จะไปที่อื่นก่อนหรือหลังฉัน ต้องปฏิบัตอย่างไร? ถ้าไม่ทําเช่นนั้น ต้องอาบัติอะไร?

ตอบ ต้องปฏิบัติอย่างนี้ คือ ต้องบอกลาภิกษุอื่นก่อน   ต้องอาบัติปาจิตตย์


ปาฏิเทสนียะ ไม่ออกข้อสอบ

 

 

ทุกกฏ

·        พระภิกษุจับต้องวัตถุอนามาสโดยไม่มีความกําหนัด  เป็นอาบัติทุกกฏ

(ปี 55) ภิกษุจับต้องกายมารดาในเวลาพยาบาลไข้ด้วยจิตกตัญญู ปรับเป็นอาบัติทุกฏผิดหรือถูก เพราะเหตุไร?

ตอบ เป็นอาบัติทุกกฏ เพราะมารดาเป็นวัตถุอนามาส

·        น้อมมาเพื่อเจดีย์และเพื่อสงฆ์หมู่อื่น  เป็นอาบัติทุกกฏ

·        ภิกษุลักทรัพย์ มีราคาตั้งแต่ มาสกลงมา เป็นเหตุให้ต้องอาบัติทุกกฏ

·        ภิกษุซ่อนบริขารอื่น(ไม่ใช่บาตร จีวร ผ้าปูนั่ง กล่องเข็ม ประคดเอว) หรือซ่อนของอนุปสัมบัน(ผู้ไม่ใช่ภิกษุ) เป็นทุกกฏ

·        ภิกษุมีความกําหนัดจับต้องกายบุรุษ  จับต้องสัตว์ดิรัจฉานทั้งเพศผเพศเมีย  ต้องทุกกฏ

·        ฝืนคําที่รับปากเขาไว้ เรียกว่า ปฏิสสวะทุกกฏ อาบัติทุกกฏ

(ปี 45) ปฏิสสวะทุกกฏ คืออะไร? ตอบ คืออาบัติทุกกฏที่เกิดจากการรับคําด้วยจิตบริสุทธิ์ แต่ภายหลงั ไม่ได้ทําตามคําที่รับปากไว้

 

 

เสขิยวัตร ๗๕

·        ภิกษุนั่งพูดเสียงดังในบ้านจะต้องอาบัติทุกกฏ (ในเสขิยวัตร สารูป)

(ปี  55)  ภิกษุนั่งในบ้านพูดเสียงดังจะต้องอาบัติอะไร?

·        ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักนุ่งห่มให้เรียบร้อย (ในเสขิยวัตร สารูป)

(ปี 64, 60 ,45) การนุ่งเป็นปริมณฑล คือการนุ่งอย่างไร?

ตอบ คือ นุ่งเบื้องบนปิดสะดือ แต่ไม่ถึงกระโจมอก เบื้องล่างปิดหัวเข่าทั้ง ลงมาเพียงครึ่งแข้ง ไม่คลมข้อเท้า

·        เราจักไม่เอามือคํ้ากายนั่งในบ้าน จะต้องอาบัติทุกกฏ (ในเสขิยวัตร สารูป)

(ปี 50) หมวดสารูปในเสขิยวัตร ว่าด้วยเรื่องอะไร ? ข้อว่า ไม่เอามือคํ้ากายนั่งในบ้าน คือไม่ทําอย่างไร ?

ตอบ ว่าด้วยธรรมเนียมควรประพฤติในเวลาเข้าบ้าน คือ ไม่นั่งเท้าแขนข้างเดียวก็ตาม สองข้างก็ตามในบ้าน

·        เราจักรับบิณฑบาตโดยเคารพ (ในเสขิยวัตร โภชนปฏิสังยุต)

(ปี 63, 61 ,58) ในการรับบิณฑบาต ภิกษุพึงปฏิบัติอย่างไรจึงถูกต้องตามเสขิยวัตร ? จงตอบมาเพียง ข้อ

ตอบ รับโดยเคารพ แลดูแต่ในบาตร รับแกงพอสมควรแก่ข้าวสุก รับแต่พอเสมอขอบปากบาตร (เลือกตอบเพียง ข้อ)

(ปี 53) ข้อว่า เราจักรับบิณฑบาตโดยเคารพ นั้นมีอธิบายอย่างไร?

ตอบ มีอธิบายว่า รับโดยแสดงความเอื้อเฟื้อ ในบุคคลผู้ให้ ไม่ดหมิ่น และให้แสดงความเอื้อเฟื้อในของที่เขาให้ ไม่ทําดังรับเอามาเล่นหรือ เอามาทิ้งเสีย

(ปี 45) เสขิยวัตรว่าด้วยการรบบิณฑบาตมีหลายข้อ จงระบุมาเพียง ข้อ

ตอบ (เลือกตอบเพียง ข้อ)            ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักรับบิณฑบาตโดยเคารพ

ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เมื่อรับบิณฑบาต เราจักแลดูแต่ในบาตร ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักรับแกงพอสมควรแก่ข้าวสุก ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักรับบิณฑบาตแต่พอเสมอขอบปากบาตร

·        ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักฉันบิณฑบาตโดยเคารพ (ในเสขิยวัตร โภชนปฏิสังยุต)


(ปี 47) ข้อว่า ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักฉันบณฑบาตโดยเคารพ นนั้  มีอธิบายอย่างไร?

ตอบ มีอธิบายว่าภิกษุฉันบิณฑบาต แม้เป็นของเลว ก็ไม่แสดงอาการวิการ คือฉันโดยปกติ และเมื่อฉัน ก็ไม่ฉันพลางทํากิจอื่นพลาง

·        ภิกษุฉันพลางทํากิจอื่นพลาง ต้องอาบัติทุกกฏ (ในเสขิยวัตร โภชนปฏิสังยุต)

(ปี 62 ,60) ภิกษุฉันพลางพูดพลาง จะต้องอาบัติอะไรหรือไม่?

ตอบ พูดทั้งที่ยังมีอาหารอยู่ในปาก ต้องอาบัติทุกกฏ พูดไม่มีอาหารอยู่ในปาก ไม่ต้องอาบัติ

(ปี 54) ภิกษุฉันพลางทํากิจอื่นพลาง ต้องอาบัติอะไรหรือไม่? ตอบ ต้องอาบัติทุกกฏ

·        ภิกษุผู้ไม่ไข้ ถ่ายอุจจาระ ถ่ายปัสสาวะ และบ้วนนํ้าลายลงในของเขียว และในนํ้า จะต้องอาบัติทุกกฏ (ในเสขิยวัตร ปกิณกะ)

(ปี   55)   ในเสขิยวัตรมสิกขาบทที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติให้ภิกษุช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมโดยอนุโลมไว้อย่างไร?

 

 

ทุพภาสิต  พูดไม่ได้เพ่งความเจ็บใจ หรือความอัปยศ พูดล้อเล่น แต่กระทบวัตถุ มีชาติเป็นต้น กับอุปสัมบันก็ตาม กับอนุปสัมบันกตาม พูดเจาะตัว ก็ตาม พูดเปรยก็ตาม เป็นทุพภาษิต ไม่ออกข้อสอบ