วันอังคารที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

สรุปนักธรรมชั้นตรี หน้าที่ 10/12

 














ปาฏิบุคลิกทาน/สังฆทาน

(ปี 63, 54) ปาฏิบุคลิกทานและสงั ฆทาน ต่างกันอย่างไร?

ตอบ   ปาฏิบุคลิกทาน คือ ทานที่ถวายเจาะจงเฉพาะพระรูปนั้นรูปนี้

สังฆทาน คือ ทานที่ถวายไม่เจาะจงพระรูปใด มอบเป็นของกลางให้สงฆ์เฉลี่ยกันใช้สอย

(ปี 60, 49, 44) ปาฏิบุคลิกทาน และ สังฆทาน หมายถึงอะไร?

 

 

งานมงคล/อวมงคล (บุญพิธี)

(ปี 55, 45) เจริญพระพุทธมนต์ กับ สวดพระพุทธมนต์ ใช้ในพิธีต่างกันอย่างไร?

ตอบ   เจริญพระพุทธมนต์ ใช้ในพิธีมงคล            สวดพระพุทธมนต์ ใช้ในพิธีอวมงคล

(ปี 51) คําอาราธนาพระสงฆ์มาสวดมนต์ในพิธีทําบุญงานมงคลกับในพิธีทําบุญงานอวมงคล ต่างกันอย่างไร ?

ตอบ ในงานมงคล ใช้คําว่า ขออาราธนาเจริญพระพุทธมนต์ ส่วนในงานอวมงคล ใช้คําว่า ขออาราธนาสวดพระพุทธมนต์

(ปี 51)ในพิธีทําบุญงานมงคล เจ้าภาพพึงจุดเทียนนํ้ามนต์ เมื่อพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์สตรใด?  ตอบ มงคลสูตร

(ปี 44) ในงานมงคลควรจุดเทียนนํ้ามนต์เมื่อไร?  ตอบ เมื่อพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ ถึงมงคลสตร ขึ้นต้นบทว่า อเสวนา   พาลานํ

 

 

พิธีเวียนเทียนในวันสําคัญทางพุทธศาสนา (กุศลพิธี)

วันสําคัญทางศาสนา มี วัน (พิธีเวียนเทียนในวันสําคัญทางพุทธศาสนา)

.วันมาฆบูชา ขึ้น ๑๕ คํ่าเดือน เป็นวันคล้ายวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ในท่ามกลางพระอริยสงฆ์จํานวน ,๒๕๐ องค์


.วันวิสาขบูชา ขึ้น ๑๕ คํ่าเดือน เป็นวันคล้ายวันที่พระพุทธเจ้า ประสติ ตรสั

.วันอัฏฐมีบูชา แรม คํ่าเดือน เป็นวันคล้ายวันถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้า


รู้ ปรินิพพาน


.วันอาสาฬหบูชา ขึ้น ๑๕ คํ่าเดอน เป็นวันคล้ายวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา

 

(ปี 62, 58) วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา กําหนดไว้กี่วัน? มีวันอะไรบ้าง?

ตอบ วัน มีวันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา วันมาฆบูชา และวันอาสาฬหบูชา

(ปี 60) วันสาคัญทางพระพุทธศาสนาที่นิยมประกอบพิธีการบูชาเป็นพิเศษ ในปีหนึ่ง มีวันอะไรบ้าง ?

ตอบ วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา วันมาฆบูชา และวันอาสาฬหบูชา

(ปี 59) วันแรม คํ่า เดือน เป็นวันอะไร ? มีเหตุการณสําคัญอะไรเกิดขึ้นในวันนั้น ?

ตอบ เป็นวันอัฏฐมีบูชา   เป็นวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรระ

(ปี 50) วันสําคัญทางพระพุทธศาสนาที่นิยมประกอบพิธีกรรมมีการบูชาเป็นต้น ปีหนึ่ง มีวันอะไรบ้าง?

ตอบ วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา วันมาฆบูชา และวันอาสาฬหบูชา

(ปี 50) การเดินเวียนเทียนรอบปูชนียสถานในวันสําคัญทางพระศาสนา เดินเวียนซ้ายหรือเดินเวียนขวา? เดินเวียนกี่รอบ? แต่ละรอบพึงปฏิบัติอย่างไร?

ตอบ การเดินเวียนเทียนรอบสถานที่(ปูชนียสถาน) เดินเวียนขวา คือ เดินเวียนไปทางที่มือขวาของตน หันเข้าหาสถานที่ที่เวียนนั้น เวียน ๓ รอบ พึงปฏิบัติอย่างนี้

รอบที่ พึงตั้งใจระลึกถึงพระพุทธคุณโดยนัยบท อิติปิ โส ภควา อรหํ ฯลฯ รอบที่ พึงตั้งใจระลึกถึงพระธรรมคุณโดยนัยบท สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม ฯลฯ


รอบที่ พึงตั้งใจระลึกถึงพระสังฆคุณโดยนัยบท สุปฏิปนฺโ ภควโต สาวกสงฺโฆ ฯลฯ

(ปี 48) วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวนอะไรทางจันทรคติ? มีความสําคัญอย่างไร?

ตอบ ตรงกับวันเพ็ญเดือน ก่อนวันเข้าปุริมพรรษา วัน มีความสําคัญ เพราะเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาโปรดพระปัญจวัคคีย์

ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมองพาราณสี ในปีที่ตรัสรู้ใหม่ และผลของการแสดงพระธรรมเทศนากัณฑ์นี้ เป็นเหตุให้พระโกณฑัญญะได้ดวงตา

เห็นธรรม และทูลขอบรรพชาอุปสมบท เป็นพระอริยสงฆ์องค์แรกในพระพุทธศาสนา จึงเป็นวันที่มีรัตนะครบ บริบูรณ์ เรียกว่าพระรัตนตรัย (ปี 45) วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา กําหนดไว้กี่วัน ? มีวันอะไรบ้าง ? วันแรม คํ่า เดือน เป็นวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาอย่างไร ? ตอบ วัน มีวันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา วันมาฆบูชา และวันอาสาฬหบูชา

เป็นวันอัฏฐมีบูชา คือวันคล้ายกับวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรระ

 

 

อุโบสถ กับ ปกติอุโบสถ

(ปี 48) อุโบสถ กับ ปกติอุโบสถ หมายถึงอะไร?

ตอบ   อุโบสถ หมายถึง การเข้าจํา คือการจําศีล เป็นอุบายขัดเกลากิเลสอย่างหยาบให้เบาบาง เป็นทางแห่งความสงบระงับอันเป็นความสุข อย่างสูงสุดในพระพุทธศาสนา

ปกติอุโบสถ  หมายถึง  อุโบสถที่รักษากันในวันพระตามปกติเฉพาะวันหนึ่งคืนหนึ่งอย่างที่อุบาสกอุบาสการักษาอยู่ปัจจุบัน

 

 

บทสวดต้องท่องไปสอบ ให้ฝึกเขียนให้ถูกต้องทุกบท คําอาราธนาศีล (ออกปี 55, 51)

มยํ ภนฺเต วสุํ วิสุํ รกฺขณตฺถาย ติสรเณน สห, ปญฺจ สีลานิ ยาจาม

ทุติยมฺปิ, มยํ ภนฺเต วิสุํ วสุํ รกฺขณตฺถาย ติสรเณน สห, ปญฺจ สีลานิ ยาจาม

ตติยมฺปิ, มยฺ ภนฺเต วิสุํ วิสุํ รกฺขณตฺถาย ติสรเณน สห, ปญฺจ สีลานิ ยาจาม

 

คําอาราธนาพระปริตร (ออกปี 57, 54 , 45)

วิปตฺติปฏิพาหาย          สพฺพสมฺปตฺติสิทฺธิยา

สพฺพทุกฺขวินาสาย         ปริตฺตํ พฺรูถ มงฺคลํ

วิปตฺติปฏิพาหาย          สพฺพสมฺปตฺติสิทฺธิยา

สพฺพภยวินาสาย          ปริตฺตํ พฺรูถ มงฺคลํ

วิปตฺติปฏิพาหาย          สพฺพสมฺปตฺติสิทฺธิยา

สพฺพโรควินาสาย         ปริตฺตํ พฺรูถ มงฺคลํ

 

คําสมาทานอุโบสถศีล (ออกปี 52) => อยู่ในหมวดกุศลพิธี


.ปาณาติปาตา เวรมณสี

.อทินฺนาทานา เวรมณส


ิกฺขาปทํ สมาทิยามิ

ิกฺขาปทํ สมาทิยามิ


.อพฺรหฺมจริยา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ

.มุสาวาทา เวรมณสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ

.สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ


.วิกาลโภชนา เวรมณสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ

.นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ

.อุจฺจาสยนมหาสยนา เวรมณี สกฺขาปทํ สมาทิยามิ

(ปี 52) อุโบสถศีล มีกี่ข้อ? ข้อที่ ว่าอย่างไร? การเข้าจําอโบสถศีลนี้อยู่ในหมวดไหนของศาสนพิธี?

ตอบ มี ข้อ ข้อที่ ว่า อพฺรหฺมจริยา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ อยู่ในหมวดกุศลพิธี

 

 

การกรวดนํ้า(ปกิณกพิธี ปี 49 ปี 47 ปี 43)

(ปี 49, 43) การกรวดนํ้ามีวิธีทําอย่างไรบ้าง ? คํากรวดนํ้าแบบย่อที่สุดว่าอย่างไร ?

ตอบ วิธีกรวดนํ้าคือ เตรียมนํ้าสะอาดใส่ไว้ในภาชนะที่ใส่นํ้ากรวด พอพระสงฆ์เริ่มอนุโมทนาด้วยบทว่า ยถา ก็เริ่มกรวดนํ้า เวลารินไม่ให้นํ้าขาด สาย โดยตั้งใจนึกอุทิศส่วนบุญฯ

คํากรวดนํ้า แบบย่อว่า อิทํ เม ญาตีนํ โหตุ แปลว่า ขอบุญกุศลนี้ จงสําเรจแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้าเถิด (หรือ สุขิตา โหนฺตุ ญาตโย แปลว่า ขอญาติทั้งหลายจงเป็นสุขๆ เถิดๆ)

(ปี 47) เพื่อปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักศาสนพิธี เจ้าภาพพึงกรวดนํ้าและประนมมือรับพรตอนไหน?

ตอบ เมื่อพระสงฆ์เริ่มอนุโมทนาด้วยบทว่า ยถา วาริวหา ฯเปฯ เจ้าภาพพึงกรวดนํ้า ไม่ใช้นิ้วมือรอง เวลารินไม่ให้นํ้าขาดสาย พอว่าบท สพฺพีติโย ฯเปฯ รินนํ้าให้หมดแล้วประนมมอรับพรต่อไปจนจบ

 

(คําลากลับบ้าน ปี 46) คําว่า หนฺททานิ มยํ ภนฺเต อาปุจฺฉาม พหุกิจฺจา มยํ พหุกรณียา ใครเป็นผู้กล่าว และกล่าวในโอกาสอะไร? ใครเป็นผ กล่าวตอบคํานั้น และกล่าวว่าอย่างไร?

ตอบ อุบาสกอุบาสิกาผู้ไปฟังธรรมในวันธัมมัสสวนะเป็นผู้กล่าวในโอกาสลากลับบ้าน พระสงฆ์กล่าว และกล่าวว่า ยสฺสทานิ ตุมฺเห กาลํ มญฺญถ

 

คําถวายสังฆทานพร้อมคําแปล (ปี 43)

อิมานิ มยํ ภนฺเต, ภตตานิ, สปริวารานิ, ภิกฺขุสงฺฆสฺส, โอโณชยาม, สาธุโน ภนฺเต, ภิกฺขุสงฺโฆ, อิมานิ, ภตฺตานิ สปริวารานิ, ปฏิคฺคณฺหาตุ, อมฺหากํ, ทีฆรตฺตํ, หิตาย, สุขาย

แปล

ข้าแต่พระสงฆ์ผเจรญ  ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวายซึ่งภัตตาหารกับของที่เป็นบริวาร  ทั้งหลายเหล่านี้แด่พระสงฆ์  ขอพระสงฆ์จงรับซึ่งภัตตาหาร

กับของที่เป็นบริวารทั้งหลาย  เหลานี้เพื่อประโยชน์  เพื่อความสุขแกข้าพเจ้าทั้งหลายสิ้นกาลนานเทอญ


สรุปวินัยมุข นักธรรมชั้นตรี

เรื่องการบวช วิธีอุปสมบทมี อย่าง

.เอหิภิกขุอุปสัมปทา พระพุทธเจ้าบวชให้ ด้วยวาจาว่า เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด

.ติสรณคมนูปสัมปทา พระสาวกบวชให้ อุปสมบทด้วยการให้ถึงสรณะ ในปัจจุบันเป็นการบวชเณร

.ญัตติจตุตถกัมมอุปสมปทา มอบให้สงฆ์เป็นใหญ่ในการอุปสมบท อุปสมบทด้วยกรรมมีญัตติเป็นที่

(ปี 47) อุปสัมปทา (การอุปสมบท) มี วิธี ในปัจจุบันใช้วิธีไหน? กําหนดสงฆ์อย่างตํ่าไว้เท่าไร?

ตอบ   ใช้ญัตติจตตถกัมมอุปสัมปทา การอุปสมบทด้วยกรรมมญัตติเป็นที่ ฯ กําหนดสงฆ์อย่างตํ่าไว้คือ ในมัธยมประเทศ ๑๐ รูป ในปัจจันตชนบท รูป

 

ความหมายพระวินัย

พระวินัย ได้แก่ พระพุทธบัญญัติ และอภิสมาจาร [ทั้ง นี้เรยกว่า พระวินัย]

พุทธบัญญัติ คือ ข้อห้ามที่พระพุทธเจ้าทรงตั้งขึ้นเพื่อป้องกันความประพฤติเสียหาย และวางโทษแก่ภิกษุผู้ล่วงละเมิดด้วยปรับอาบัติหนักบ้าง เบา บ้าง

อภิสมาจาร  คือ  ขนบธรรมเนียมที่ทรงแต่งตั้งขึ้นเพื่อชักนําความประพฤติของภิกษุสงฆ์ให้ดีงาม

 

(ปี 64, 62 ,58, 45) พระวินัย คืออะไร? ตอบ คือพระพุทธบัญญัตและอภิสมาจาร

(ปี 55) ภิกษุผู้ปฏิบัติอย่างไร จึงชื่อว่ามีศีล? ตอบ ภิกษุสํารวมกายวาจาให้เรียบร้อย เว้นข้อที่ทรงห้าม ทําตามข้อที่ทรงอนุญาต จึงชื่อวามีศีล

(ปี 53) พระวินัย ได้แก่อะไร? สิกขาบทที่เป็นอเตกิจฉา คือทภิกษุล่วงละเมิด แล้วไม่สามารถจะแก้ไขได้ ได้แก่อะไร?

ตอบ ได้แก่ พระพุทธบัญญัติ และอภิสมาจาร ได้แก่ ปาราชิก

(ปี 52) พุทธบัญญัติและอภิสมาจาร คืออะไร? ทั้ง รวมเรียกว่าอะไร?

ตอบ พุทธบัญญัติ คือข้อห้ามที่พระพุทธเจ้าทรงตั้งขึ้น เพื่อป้องกันความประพฤติเสยหาย และวางโทษแก่ภิกษุผู้ล่วงละเมิดด้วยปรับอาบัติหนัก บ้าง เบาบ้าง ส่วนอภิสมาจาร คือขนบธรรมเนียมที่ทรงแต่งตั้งขึ้น เพื่อชักนําความประพฤติของภิกษุสงฆ์ให้ดีงามฯ ทั้ง นี้รวมเรียกว่า พระวินัย (ปี 50) พระศาสดาทรงบัญญัติพระวินัยไว้เพื่ออะไร?

ตอบ  เพื่อป้องกันความประพฤติเสยหายของภิกษุสงฆ์  และเพื่อชักนําความประพฤติของภิกษุสงฆ์ให้ดีงาม 

(ปี 49) ทําไมต้องมีพระวินัยสําหรบปกครองหมู่ภิกษุ และหมภิกษุทําไมต้องประพฤติตามพระวินัย?

ตอบ หากจะไม่มีพระวินัยสําหรับปกครอง หรือหมู่ภิกษุจะไม่ประพฤติตามพระวินัย ก็จะเป็นหมู่ภิกษุที่เลวทราม ไม่เป็นที่ตั้งแห่งศรัทธาและ เลื่อมใส แต่ถ้าต่างรูปประพฤติตามพระวินัย ก็จะเป็นหมู่ภิกษุที่ดี ทําให้เกิดศรัทธาเลื่อมใส พระวินัยจึงรักษาหมู่ภิกษุให้ตั้งอยู่เป็นอันดี และทําให้ เป็นหมู่ที่งดงาม

(ปี 49) พระศาสดาผู้เป็นสังฆบิดรดูแลภิกษุสงฆ์ ทรงทําหน้าที่ทางพระวินัยอย่างไร ?

ตอบ ทรงทําหน้าที่ ประการ คือ

.ทรงตั้งพุทธบัญญัติเพื่อป้องกันความประพฤติเสียหาย  และวางโทษแก่ภิกษุผู้ล่วงละเมิดด้วยปรับอาบัติหนักบ้างเบาบ้าง

.ทรงตั้งขนบธรรมเนียม  ซึ่งเรียกว่าอภิสมาจารเพื่อชักนําความประพฤติของภิกษุสงฆ์ให้ดีงาม 

(ปี 48) ในพระวินัย กําหนด ปีมีกี่ฤดู? อะไรบ้าง? ตั้งแต่วันแรม คํ่าเดือน ถึงวันขึ้น ๑๕ คํ่า เดอน ๑๒ เป็นฤดูอะไร?

ตอบ ฤดู คือ ฤดูหนาว ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูฝน


(ปี 46) ข้อความว่า พระศาสดาทรงตั้งอยู่ในที่เป็นพระธรรมราชาผู้ปกครอง หมายความว่าอย่างไร?

ตอบ หมายความว่า ทรงตั้งพระพุทธบัญญัติเพื่อป้องกันความประพฤติเสียหาย และวางโทษแก่ผู้ล่วงละเมิด ด้วยปรับอาบัติหนักบ้าง เบาบ้าง อย่าง เดียวกับพระเจ้าแผ่นดินทรงตราพระราชบัญญัติ ฯ

(ปี 46) พระบัญญัติที่ทรงตั้งไว้เดิมเรียกว่าอะไร ?  ตอบ เรียกว่า มูลบัญญัติ

(ปี 45) "อาทิกัมมิกะ" ความหมายอย่างไร?  ตอบ ภิกษุผู้ก่อเหตุให้ทรงบัญญัติสิกขาบทขึ้น

(ปี 44) พุทธบัญญัติ มูลบัญญัติ อนุบัญญัติ คืออะไร?

ตอบ   พุทธบัญญัติ คือข้อที่พระพุทธเจ้าทรงตั้งไว้เป็นบทบังคับให้ภิกษุประพฤติ

มูลบัญญัติ คือข้อที่ทรงบัญญัติไว้เดิม

อนุบัญญัติ  คือข้อที่ทรงบัญญัติเพิ่มเติมภายหลัง

(ปี 44) ท่านเปรียบพระวินัยเหมือนด้ายร้อยดอกไม้ หมายความว่าอย่างไร?

ตอบ  หมายความว่า ด้ายร้อยดอกไม้ควบคุมดอกไม้ไว้ไม่ให้กระจัดกระจายฉันใด  พระวินัยย่อมรักษาสงฆ์ให้ตั้งอยู่เป็นอันดีฉันนั้น

 

 

อานิสงส์ของผู้รักษาวินัยด

.ไม่เดือดร้อนใจภายหลัง (เกิดวิปฏิสาร)

.ได้รับความแช่มชื่นใจ เพราะรู้สกว่าตนประพฤติดีงามแล้ว

.มีความองอาจในหมู่ภิกษุผมีศีล

(ปี 64, 62 ,58) ภิกษุผู้รักษาพระวินัยนั้นดีแล้ว ย่อมได้อานิสงส์อะไร?

ตอบ ได้อานิสงส์ คือไม่ต้องเดือดรอนใจ ได้รับความแช่มชื่นว่า ได้ประพฤติดีงาม จะเข้าหมู่ภิกษุผู้มีศีลก็องอาจไม่สะทกสะท้าน

(ปี 64, 59) ภิกษุปฏิบัติศีล สมาธิ ปัญญาดีแล้ว จะได้รับประโยชน์อย่างไร ?

ตอบ ย่อมได้รับประโยชน์ คือ ปฏิบัติศีล ทําให้เป็นผู้มีกาย วาจาเรียบร้อย

ปฏิบัติสมาธิ ทําให้ใจสงบมั่นคง ไม่ฟุู้งซ่าน ปฏิบัติปัญญา ทําให้รอบรู้ในกองสงั ขาร

(ปี 54 ,44) พระภิกษุผู้รักษาพระวินัยดีโดยถูกทางแล้ว ย่อมได้อานิสงส์อะไร?

 

 

ความหมายสิกขา สิกขาบท อาบัต

สิกขา ได้แก่ ข้อทภิกษุควรศึกษา มี อย่าง คือ สีลสิกขา จิตตสิกขา และ ปัญญาสิกขา สิกขาบท ได้แก่ พระบัญญติมาตราหนึ่งๆ (มาในพระปาติโมกข์ และมานอกปาติโมกข์) อาบัติ ได้แก่ โทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าห้าม

 

(ปี 63 ,61) สิกขา คืออะไร? มีอะไรบ้าง? ตอบ คือ ข้อที่ภิกษุต้องศึกษาฯ มี  . ศีล ความรักษากาย วาจา ให้เรียบร้อย

. สมาธิ ความรักษาใจมั่น . ปัญญา ความรอบรู้ในกองสังขาร

(ปี 60) สิกขา กับ สิกขาบท ต่างกันอย่างไร ?

ตอบ ต่างกันอย่างนี้ สิกขา ได้แก่ขอที่ควรศึกษา คือศีล สมาธิ และปัญญา              สิกขาบท ได้แก่พระบัญญัติมาตราหนึ่ง

(ปี 58) สิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์มีเท่าไร ? สิกขาบทว่าด้วยปาราชิกมีอะไรบ้าง ?

ตอบ มี ๒๒๗ สิกขาบท มี . เสพเมถุน


. ภิกษุถือเอาของที่เจ้าของเขาไม่ได้ให้ ได้ราคา มาสก

. ภิกษุแกล้งฆ่ามนุษย์ให้ตาย

. ภิกษุอวดอุตตริมนุสสธรรม (คือธรรมอันยิ่งของมนุษย์) ที่ไม่มีในตน

(ปี 57) สิกขา และ สิกขาบท ได้แก่อะไร? ตอบ สิกขา ได้แก่ข้อที่ควรศึกษา             สิกขาบท ได้แก่พระบัญญัติมาตราหนึ่ง

(ปี 56) อาบัติ คืออะไร? อาการที่ภิกษุต้องอาบัติมี อย่าง จงบอกมาสัก อย่าง ตอบ คือ โทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม (เลือกตอบเพียง ข้อ)

. ต้องด้วยไม่ละอาย                         . ต้องด้วยสําคัญว่าควรในของที่ไม่ควร

. ต้องด้วยไม่รู้ว่าสิ่งนี้จะเป็นอาบัติ               . ต้องด้วยสําคัญว่าไม่ควรในของที่ควร

. ต้องด้วยสงสัยแล้วขืนทําลง                  . ต้องด้วยลืมสติฯ

(ปี 54) สิกขา สิกขาบท และอาบัติ ได้แก่อะไร?

(ปี 52 ,47 ,45) สิกขากับสิกขาบท ต่างกันอย่างไร? อย่างไหนมีเท่าไร? อะไรบ้าง? ตอบ สิกขา คือ ข้อที่ภิกษุควรศึกษา มี ได้แก่ สีลสิกขา จิตตสิกขา ปัญญาสิกขา ส่วนสิกขาบท คือ พระบัญญัติมาตราหนึ่ง เป็นสิกขาบทหนึ่ง

มี ๒๒๗ สิกขาบท ได้แก่ ปาราชิก สังฆาทิเสส ๑๓ อนิยต นิสสคคิยปาจิตตีย์ ๓๐ ปาจิตตีย์ ๙๒ ปาฏิเทสนียะ เสขิยะ ๗๕ และ อธิกรณสมถะ

(ปี 51) อะไรเรียกว่า สิกขาบท? มาจากไหน? ตอบ พระบัญญัติมาตราหนึ่งๆ เรียกว่า สิกขาบทฯ  มาในพระปาติโมกข์๑ มานอกพระปาติโมกข์๑

(ปี 50 ,45) สิกขาบทที่มีมาในพระปาติโมกข์ มีเท่าไร? ว่าโดยหมวดมีอะไรบ้าง?

ตอบ มี ๒๒๗ สิกขาบท มี ปาราชิก สังฆาทิเสส ๑๓ อนิยต นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐ ปาจิตตีย์ ๙๒ ปาฏิเทสนียะ เสขิยะ ๗๕ อธิกรณสมถะ

(ปี 45) สิกขา เมื่อศึกษาแล้วจะได้ประโยชน์อย่างไร?

ตอบ ย่อมได้ประโยชน์ดังนี้ ศึกษาเรื่องศีล ทําให้เป็นผู้มีกาย วาจาเรยบร้อย ศึกษาเรื่องสมาธิทําให้ใจสงบมั่นคง ไม่ฟุ้งซ่าน ศึกษาเรื่องปัญญา ทําให้ รอบรู้ในกองสังขาร

 

อาบัติที่เป็นโลกวัชชะ/อาบัติที่เป็นปัณณัตติวัชชะ

(ปี 52 ,44) อาบัติ คืออะไร? อาบัติที่เป็นโลกวัชชะและที่เป็นปัณณตติวัชชะหมายความว่าอย่างไร?จงยกตัวอย่างประกอบด้วย

ตอบ คือ โทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าห้าม

อาบัติที่เป็นโลกวัชชะหมายความว่า อาบัติที่มีโทษซึ่งภิกษุทําเป็นความผิดความเสีย คนสามัญทํากเป็นความผิดความเสียเหมือนกัน เช่น ทํา


โจรกรรม เป็นต้น ส่วนที่เป็นปัณณต ต้น ฯ


ติวัชชะหมายความว่า อาบัติทมีโทษเฉพาะภิกษุทํา แต่คนสามัญทําไม่เป็นความผดความเสีย เช่น ขุดดิน เป็น


อนุศาสน์

นิสสัย คือ ปัจจัยเครื่องอาศัยของบรรพชิต

.เที่ยวบิณฑบาต         .นุ่งห่มผาบังสกุล        .อยู่โคนไม้     .ฉันยาดองด้วยนํ้ามูตรเน่า

อกรณียกิจ คือ กิจที่ไม่ควรทํา

.เสพเมถุน              .ลักของเขา             .ฆ่าสัตว์        .พูดอวดคุณพิเศษที่ไม่มีในตน

(ปี 64, 58) ปัจจัยเครื่องอาศัยของบรรพชิตเรียกว่าอะไร ? มีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?

ตอบ เรียกว่านิสสัย มี อย่าง คือ .เที่ยวบิณฑบาต .นุ่งห่มผ้าบังสุกุล .อยู่โคนต้นไม้ .ฉันยาดองด้วยนํ้ามูตรเน่า

(ปี 63 ,56) อกรณียกิจ คือกิจที่บรรพชิตไม่ควรทํา มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?

ตอบ มี อย่าง คือ . เสพเมถุน . ลักของเขา . ฆ่าสัตว์ . พูดอวดคุณพิเศษที่ไม่มีในตน

(ปี 62 ,53) นิสสัยคืออะไร ? มีเท่าไร ? อะไรบ้าง ?

ตอบ คือปัจจัยเครื่องอาศัยของบรรพชิต มี อย่าง

ได้แก่ . เที่ยวบิณฑบาต . นุ่งห่มผ้าบังสุกุล . อยู่โคนต้นไม้ . ฉันยาดองด้วยนํ้ามูตรเน่า

(ปี 61 ,59) กิจที่บรรพชิตไม่ควรทํา เรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง ?

ตอบ เรียกว่า อกรณยกิจ มี คือ . เสพเมถุน . ลักทรัพย์ . ฆ่าสัตว์ . พูดอวดคุณวิเศษที่ไม่มีในตน

(ปี 60, 47 ,44) นิสสัย และ อกรณียกิจ คืออะไร? ทั้ง อย่างรวมเรียกว่าอะไร?

ตอบ นิสสัยคือ ปัจจัยเครื่องอาศัยของบรรพชิต อกรณียกิจคือ กิจทบรรพชิตไม่ควรทํา ทั้ง อย่าง รวมเรียกว่า อนุศาสน์

(ปี 55) นิสสย ในอนุศาสน์ อย่าง หมายถึงอะไร? มีอะไรบ้าง?

(ปี 51) อรณียกิจ คืออะไร? ข้อที่ ว่าอย่างไร ตอบ คือ กิจที่ไม่ควรทํา ว่า ฆ่าสัตว์

(ปี 49 ,48) กิจที่บรรพชิตไม่ควรทําซึ่งเรียกว่า อกรณียกิจ มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?

 

 

อาบัติมีโทษ สถาน

·        อย่างหนัก ยังผู้ต้องให้ขาดจากความเป็นภิกษุ

·        อย่างกลาง ยังผู้ต้องให้อยู่กรรม คือประพฤติวัตรอย่างหนึ่ง เพื่อทรมานตน

·        อย่างเบา ยังผู้ต้องให้ประจานตนต่อหน้าภิกษุด้วยกัน

อาบัติมีโทษ สถาน

·        อเตกิจฉา อาบัติที่แก้ไขไมไ่ ด้

·        สเตกิจฉา อาบัติที่แก้ไขได้

(ปี 61) อาบัติ คืออะไร ? มีโทษกี่สถาน ? อะไรบ้าง ?

ตอบ คือ โทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม

มี สถาน        คือ     อย่างหนัก ยังผู้ต้องให้ขาดจากความเป็นภิกษุ

อย่างกลาง ยังผู้ต้องให้อยู่กรรม คือประพฤติวัตรอย่างหนึ่ง เพื่อทรมานตน อย่างเบา ยังผู้ต้องให้ประจานตนต่อหน้าภิกษุด้วยกัน

(หรือจะตอบว่า มี สถาน คือ แก้ไขได้ และแก้ไขไม่ได้ ก็ได้)

(ปี 57) จงอธิบายความหมายของอาบัติต่อไปนี้    . สเตกิจฉา       . สจิตตกะ ตอบ   . ได้แก่อาบัติที่แก้ไขได้     . ได้แก่อาบัติที่ต้องเพราะมีเจตนา


(ปี 55 ,45 ,44) อเตกิจฉา และสเตกิจฉา ได้แก่อาบัติอะไร? ทั้ง อย่างนั้น ภิกษุต้องเข้าแล้ว จะเกิดโทษอย่างไร?

ตอบ อเตกิจฉา อาบัติที่แก้ไขไม่ได้ คือ ปาราชิก ทําให้ขาดจากความเป็นภิกษุ

สเตกิจฉา อาบัติที่แก้ไขได้ คือ สังฆาทิเสส และอาบัติอีก ที่เหลือ สังฆาทิเสสต้องอยู่กรรมจึงพ้นได้ อาบัติอีก ที่เหลือพึงแสดงต่อหน้าสงฆ์ หรือคณะหรือรูปใดรูปหนึ่งจึงพ้นได้

(ปี 54) ครุกาบัติ ที่แก้ไขได้ก็มี ที่แก้ไขไม่ได้ก็มี ที่แก้ไขไดไ้ ด้แก่อาบัติอะไร?

ตอบ ที่แก้ไขได้ ได้แก่ อาบัติสังฆาทิเสส             ที่แก้ไม่ได้ ได้แก่อาบัติปาราชิก

(ปี 50) เมื่อภิกษุต้องอาบัติแล้ว จะพึงปฏิบัติอย่างไร? ตอบ พึงบอกภิกษุด้วยกันในวันนั้น และพึงแก้ไขตามวิธีนั้น

(ปี 49 ,44) คําว่า ต้องอาบัติ หมายความว่าอย่างไร? อาบัติมีโทษกี่สถาน? อะไรบ้าง? ตอบ หมายความว่า ต้องโทษ คือมีความผดฐานละเมิดข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม มี สถาน คือ อย่างหนัก อย่างกลาง และ อย่างเบา

(หรือจะตอบว่า มี สถาน คือ แก้ไขได้ และแก้ไขไม่ได้ ก็ได้)

 

 

สจิตตกะ/อจิตตกะ

สจิตตกะ อาบัติทต้องเพราะมีเจตนาล่วงละเมิด                 อจิตตกะ อาบัติที่ต้องแม้ไม่มเจตนาล่วงละเมิด

(ปี 59) ปาราชิกทั้ง สิกขาบท เป็นสจิตตกะหรืออจิตตกะ ? เพราะเหตุใด ?              ตอบ เป็นสจิตตกะ เพราะมเจตนาล่วงละเมิด

(ปี 57) จงอธิบายความหมายของ สจิตตกะ

(ปี 48) สจิตตกะ และ อจิตตกะ มีความหมายอย่างไร

ตอบ   สจิตตกะ อาบัติที่ต้องเพราะมเจตนาล่วงละเมิด          อจิตตกะ อาบัติทต้องแม้ไม่มีเจตนาล่วงละเมิด

 

 

อาการที่ภิกษุต้องอาบัติ อย่าง

.ต้องด้วยไม่ละอาย                      .ต้องด้วยสําคัญว่าควรในของที่ไม่ควร

.ต้องด้วยไม่รู้ว่าสิ่งนี้จะเป็นอาบัติ           .ต้องด้วยสําคัญว่าไม่ควรในของที่ควร

.ต้องด้วยสงสัยแล้วขืนทํา                 .ต้องด้วยลืมสติ

(ปี 60, 59 ,43) อาบัติคืออะไร ? อาการที่ภิกษุต้องอาบัติ อย่างนั้น อย่างไหนเสยหายมากที่สุด ?

ตอบ คือ โทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าห้าม   ต้องด้วยไม่ละอาย จัดว่าเสียหายมากที่สุด

(ปี 56) อาบัติ คืออะไร? อาการที่ภิกษุต้องอาบัติมี อย่าง จงบอกมาสัก อย่าง

ตอบ คือ โทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม

(เลือกตอบเพียง ข้อ) .ต้องด้วยไม่ละอาย             .ต้องด้วยไม่รู้ว่าสิ่งนี้จะเป็นอาบัติ   .ต้องด้วยสงสัยแล้วขืนทํา

.ต้องด้วยสําคัญว่าควรในของที่ไม่ควร  .ต้องด้วยสําคัญว่าไม่ควรในของที่ควร  .ต้องด้วยลืมสติ

(ปี 54) อาการที่ภิกษุจะต้องอาบัติ มีอะไรบ้าง?

(ปี 50) อาการที่ภิกษุจะต้องอาบัติ มีเท่าไร?  ต้องด้วยไม่ละอาย มีอธิบายอย่างไร?

ตอบ มี อย่าง ภิกษุรู้อยู่แล้ว และละเมิดพระบัญญติด้วยใจด้านไม่รู้จักละอาย ชื่อว่าต้องด้วยไม่ละอาย

(ปี 47) อาการที่ภิกษุจะต้องอาบัติข้อที่ว่า ต้องด้วยสงสัยแล้วขืนทําลง มีอธิบายอย่างไร ?

ตอบ มีอธิบายว่า ภิกษุสงสัยอยู่ว่า ทําอย่างนั้นๆ ผิดพระบัญญติหรือไม่ แต่ขืนทําด้วยความสะเพร่าเช่นนี้ ถ้าการที่ทํานั้นผิดพระบัญญัติก็ต้องอาบัติ

ตามวัตถุ ถ้าไม่ผด ก็ต้องอาบัติทุกกฏเพราะสงสัยแล้วขืนทํา


(ปี 45) อาการที่ภิกษุจะต้องอาบัติมีเท่าไร? อะไรบ้าง?

 

 

อาบัติว่าโดยชื่อมี อย่าง คือ

.ปาราชิก       .สังฆาทิเสส    .ถุลลัจจัย      .ปาจิตตีย์      .ปาฏิเทสนียะ   .ทุกกฏ         .ทุพภาสต

(ปี 63 ,57) อาบัติ คืออะไร? ว่าโดยชื่อมีอะไรบ้าง?

ตอบ อาบัติ คือโทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าห้าม

มี . ปาราชิก    . สังฆาทิเสส  . ถุลลัจจัย   . ปาจิตตีย์  . ปาฏิเทสนียะ  . ทุกกฏ   . ทุพภาสิต

(ปี 53) อาบัติว่าโดยชื่อมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?

 

 

อนุปสัมบัน หมายถึง บุคคลที่มิใชภิกษุ

(ปี 54) อนุปสัมบัน หมายถึง?

 

 

เภสัช ได้แก่ เนยใส เนยข้น นํ้ามัน นํ้าผึ้ง นํ้าอ้อย พระภิกษุรับประเคนแล้วเก็บไว้ฉันได้ วัน (ปี 63 ,57) เภสัช ได้แก่อะไรบ้าง? ตอบ ได้แก่ เนยใส เนยข้น นํ้ามัน นํ้าผึ้ง นํ้าอ้อย

(ปี 61 ,43) เภสัช มีอะไรบ้าง? นํ้าตาลทรายจัดเข้าในเภสัชประเภทใด?

ตอบ เภสัช มี เนยใส เนยข้น นามัน นํ้าผึ้ง นํ้าอ้อย นํ้าตาลทรายจัดเข้าในนํ้าอ้อย

(ปี 54 ,48) เภสัช ได้แก่อะไรบ้าง? ภิกษุรับประเคนแล้วเก็บไว้ฉันได้กี่วันเป็นอย่างยิ่ง?

(ปี 51) เภสัช ในปัตตวรรคที่ ได้แก่อะไรบ้าง? รับประเคนแล้วเก็บไว้ฉันได้กี่วัน?

 

 

ไตรครอง/อติเรกจีวร/จีวรกาล

จีวรกาล หมายถึง คราวที่เป็นฤดูถวายจีวร (คืออยู่จําพรรษาแล้ว ถาไม่ได้กรานกฐิน นับแต่วันปวารณาไป เดือน ถ้าได้กรานกฐิน เพิ่มออกไปอีก

เดือนในฤดูหนาว)

ไตรจีวร ประกอบด้วย ผ้าสังฆาฏิ (ผ้าคลุม) ผ้าอุตตราสงค์ (จีวร หรือ ผ้าห่ม) และอันตรวาสก (สบง หรือ ผ้านุ่ง)

ผ้าไตรครอง เป็นผ้าที่ภิกษุอธิษฐาน มีจํานวนจํากัด คือ ผืน

อติเรกจีวร หมายถึง จีวรที่ไม่ใช่จีวรอธิษฐาน [หรือ ผ้าที่นอกเหนือจากผ้าไตรครองมีได้ไม่จํากัดจํานวน]

ผ้าจํานําพรรษา ได้แก่ผ้าที่ทายกถวายแก่ภิกษุผู้ปวารณาออกพรรษาแล้ว

 

(ปี 64, 61, 59) ผ้าไตรจีวร ที่ทรงอนุญาตให้ภิกษุอธิษฐานไว้ใช้มีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?

ตอบ มี อย่าง คือ . สังฆาฏิ (ผ้าคลุม) . อุตตราสงค์ (ผ้าห่ม) . อันตรวาสก (ผ้านุ่ง)

(ปี 57) อติเรกจีวร และผ้าจํานําพรรษา ได้แก่ผ้าเช่นไร?

ตอบ   อติเรกจีวร ได้แก่ผ้ายาว นิ้ว กว้าง นิ้วขึ้นไป พอใช้ประกอบเข้าเป็นเครื่องนุ่งห่มได้ นอกจากผ้าที่อธิษฐาน ผ้าจํานําพรรษา ได้แก่ผ้าที่ทายกถวายแก่ภิกษุผู้ปวารณาออกพรรษาแล้ว

(ปี 56) ไตรจีวร อติเรกจีวร ได้แก่จีวรเช่นไร?

ตอบ   ไตรจีวร ได้แก่จีวร ผืน ประกอบด้วย อุตตราสงค์ (ผ้าห่ม) อันตรวาสก (ผ้านุ่ง) และสังฆาฏิ (ผ้าคลมหรือผ้าทาบ) อติเรกจีวร ได้แก่ผ้ามีขนาดกว้าง นิ้วยาว นิ้ว ซึ่งอาจนําไปทําเป็นเครื่องนุ่งห่มได้ นอกจากผ้าที่อธิษฐาน


(ปี 54) อติเรกจีวร หมายถึง? จีวรกาล หมายถึง?

ตอบ อติเรกจีวร หมายถึงจีวรที่ไม่ใช่จีวรอธิษฐาน

จีวรกาล หมายถึงคราวที่เป็นฤดูถวายจีวร (คืออยู่จําพรรษาแล้ว ถ้าไม่ได้กรานกฐิน นับแต่วันปวารณาไป เดือน ถ้าได้กรานกฐิน เพิ่มออกไปอีก เดือนในฤดูหนาว)

(ปี 52) ผ้าไตรครอง มีอะไรบ้าง? ต่างจากอติเรกจีวรอย่างไร?

ตอบ มี สังฆาฏิ อุตตราสงค์ อันตรวาสก ต่างกันอย่างนี้ ผ้าไตรครองเป็นผ้าที่ภิกษุอธิษฐาน มีจํานวนจํากัด คือ ผืน ส่วนอติเรกจีวร คือผ้าที่ นอกเหนือจากผ้าไตรครอง มีได้ไม่จํากัดจํานวน

(ปี 48) ผ้าไตรจีวรคือผ้าอะไร? ได้แก่อะไรบ้าง?

(ปี 48) อติเรกบาตร คืออะไร? ภิกษุเก็บไว้เกินกี่วัน ต้องอาบัตินิสสคคิยปาจิตตีย์? ตอบ คือ บาตรนอกจากบาตรอธิษฐาน เกิน ๑๐ วัน

(ปี 46) อติเรกจีวร ได้แก่จีวรเช่นไร? การที่ทรงห้ามไม่ให้ภิกษุเก็บอติเรกจีวร  ด้วยมีพระพุทธประสงค์อย่างไร?

ตอบ ได้แก่ จีวรนอกจากจีวรอธิษฐาน ด้วยมีพระพุทธประสงค์เพื่อป้องกันความสุรุ่ยสุร่าย และความมักมากของภิกษุ

 

 

ปาจิตตีย

(ปี 60) ภิกษุต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ หรืออาบัติปาจิตตีย์ มีวิธีแสดงอาบัติ ต่างกันอย่างไร ?

ตอบ นิสสัคคิยปาจิตตย์ ต้องเสยสละวัตถุอันเป็นเหตุให้ต้องอาบัตินั้นเสียก่อน จึงแสดงอาบัติได้ ส่วนอาบัติปาจิตตีย์นั้น ภิกษุพึงแสดงอาบัติได้เลย ไม่มีวัตถุใด ๆ ที่ต้องสละ ฯ

(ปี 49 , 46 ,44) นิสสัคคิยปาจิตตีย์ หมายความว่าอย่างไร? ภิกษุต้องอาบัตินี้แล้ว ทําอย่างไรจึงจะพ้น? ตอบ นิสสัคคิยปาจิตตย์ หมายความว่า อาบัติปาจิตตีย์ที่จําต้องสละสิ่งของ ภิกษุต้องอาบัตินี้แล้วต้องสละสิ่งของอันเป็นเหตุให้ต้องอาบัตินั้นก่อนแล้วแสดงอาบัติจึงพ้นจากอาบัตินั้นได้  (ปี 47) จีวรที่เป็นนิสสัคคีย์แล้ว ควรสละให้แก่ใคร? ถ้าจีวรนั้นสูญหาย พึงปฏิบัติเช่นไร?

ตอบ ควรสละให้แก่สงฆ์ก็ได้ แก่คณะก็ได้ แก่บุคคลก็ได้ ถ้าจีวรนั้นสูญหาย พึงแสดงอาบัติเท่านั้น

(ปี 44) ปาจิตตย์แบ่งเป็น นิสสัคคิยปาจิตตีย์ และสุทธิกปาจิตตีย์ เพราะเหตุไร?

ตอบ เพราะว่านิสสัคคิยปาจิตตียนั้น จําต้องเสียสละวัตถุอันเป็นเหตุให้ต้องอาบัตินั้นเสียก่อน จึงแสดงอาบัติได้ ส่วนสุทธิกปาจิตตีย์นั้น ภิกษุพึง แสดงอาบัติได้เลย ไม่มีวัตถุใด ที่จําต้องสละ

(ปี 43) ในปาจิตตีย์ วรรคนั้น วรรคที่เท่าไร มี ๑๒ สิกขาบท? ตอบ วรรคที่ (สหธรรมิกวรรค)

 

 

บริขาร

(ปี 43) บริขาร มีอะไรบ้าง?

ตอบ บริขาร มี .สังฆาฏิ .อุตตราสงค์ .อันตรวาสก .บาตร .มีดโกน .กล่องเข็ม .ประคดเอว .ผ้ากรองนํ้า

 

 

อาบัติที่ไม่มีมูล กําหนดโดยอาการอย่างไร?

.ไม่ได้เห็นเอง    .ไม่ได้ยินเอง     .ไม่ได้เกิดรังเกียจสงสัย

(ปี 60, 52 ,45) อาบัติไม่มีมูล กําหนดโดยอาการอย่างไร ? โจทด้วยอาบัติไม่มีมูลเป็น อาบัติอะไร ? ตอบ กําหนดโดยอาการ คือ ไม่ได้เห็นเอง ไม่ได้ยิน ไม่ได้รังเกียจ ว่าภิกษุนั้นต้องอาบัติชื่อนน โจทด้วยอาบัติปาราชิกต้องสังฆาทิเสส







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น