วันอังคารที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

สรุปนักธรรมชั้นตรี หน้าที่ 11/12

 


















โจทด้วยอาบัติสังฆาทิเสสต้องปาจิตตีย์ โจทด้วยอาบัติอื่นจากนี้ต้องปาจิตตีย์ ในสัมปชานมุสาวาทสิกขาบท

(ปี 58) ภิกษุโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติปาราชิกอย่างไร ภิกษุผู้โจทจึงต้องอาบัติสังฆาทิเสส ?

ตอบ ภิกษุโกรธเคือง แกล้งโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติปาราชิกไม่มมูล และภิกษโกรธเคือง แกล้งหาเลสโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติปาราชิก

 

 

อาบัติที่ต้องให้ท่องจําเป็นชุดๆ

(ปี 46) ภิกษุต้องอาบัติเพราะความซุกซน มีอย่างไรบ้าง? ภิกษุซ่อนบาตร ซ่อนปากกาของภิกษุอื่นเพื่อล้อเล่น ต้องอาบัติอะไร?

ตอบ มีอย่างนี้ คือ เล่นจี้ เล่นนํ้า หลอนภิกษุ ซ่อนของเพื่อล้อเล่น พูดเย้าให้เกิดรําคาญ ซ่อนบาตร ต้องอาบัติปาจิตตย์ ซ่อนปากกา ต้องอาบัติทุกกฏ

 

ซ่อนบริขาร

·        ภิกษุซ่อนบริขาร คือ บาตร จีวร ผ้าปูนั่ง กล่องเข็ม ประคดเอว สิ่งใดสิ่งหนึ่งของภิกษุอื่น ด้วยคิดว่าจะล้อเล่น ต้องปาจิตตีย์

·        ภิกษุซ่อนบริขารอื่น(ไม่ใช่บาตร จีวร ผ้าปูนั่ง กล่องเข็ม ประคดเอว) หรือซ่อนของอนุปสัมบัน(ผู้ไม่ใช่ภิกษุ) เป็นทุกกฏ

·        เก็บบริขารไม่ได้หมายจะล้อเล่น เห็นวางไม่ดี ช่วยเก็บให้ ไม่เป็นอาบัติ

(ปี 61) ภิกษุซ่อนบาตร จีวร ร่ม และรองเท้าของเพื่อนภิกษุเพื่อล้อเล่น ต้องอาบัติอะไรบ้าง ?

ตอบ ซ่อนบาตร จีวร ต้องอาบัติปาจิตตีย์                  ซ่อนร่ม รองเท้า ต้องอาบัติทุกกฏ

(ปี 51) ภิกษุซ่อนผ้าอาบนํ้าฝน บาตร จีวร กล่องเข็ม ด้าย ของเพื่อนภิกษุหรือสามเณรเพื่อล้อเล่น เป็นอาบัติอะไร?

ตอบ   ซ่อนผ้าอาบนํ้าฝน ด้าย ของเพื่อนภิกษุ เป็นอาบัติทุกกฏ

ซ่อน บาตร จีวร กล่อมเข็ม ของเพื่อนภิกษุ เป็นอาบัติปาจิตตีย์ ซ่อนของสามเณรทุกอย่างเป็นอาบัติทุกกฏ

 

ลักทรัพย์ที่เจ้าของไม่ได้ให้ ต้อง

ทรัพย์ มีราคาตั้งแต่ มาสกขึ้น เป็นเหตุให้ต้องอาบัติปาราชิก

ทรัพย์ มีราคาไม่ถืง มาสก แต่มากกว่า มาสก เป็นเหตุให้ต้องอาบัติถุลลัจจัย ทรัพย์ มีราคาตั้งแต่ มาสกลงมา เป็นเหตุให้ต้องอาบัติทุกกฏ

(ปี 58) ในอทินนาทานสิกขาบท กําหนดราคาทรัพย์ เป็นวัตถุแห่งอาบัติไว้อย่างไรบ้าง ?

ตอบ   ทรัพย์มีราคาตั้งแต่ มาสก ขึ้นไป เป็นวัตถุแห่งอาบัติปาราชิก ทรัพย์มีราคาตํ่ากว่า มาสก แต่สูงกว่า มาสก เป็นวัตถุแห่งอาบัติถุลลจจัย ทรัพย์มีราคาตั้งแต่ มาสก ลงไป เป็นวัตถุแห่งอาบัติทุกกฏ

(ปี 52) ในสิกขาบทที่ แห่งอาบัติปาราชิก ทรัพย์เป็นเหตุให้ต้องอาบัติปาราชิก อาบัติถุลลัจจัย และอาบัติทุกกฏ มีกําหนดราคาไว้เท่าไร? ตอบ   ทรัพย์ มีราคาตั้งแต่ มาสกขึ้น เป็นเหตุให้ต้องอาบัติปาราชิก

ทรัพย์ มีราคาไม่ถืง มาสก แต่มากกว่า มาสก เป็นเหตุให้ต้องอาบัติถุลลัจจัย ทรัพย์ มีราคาตั้งแต่ มาสกลงมา เป็นเหตุให้ต้องอาบัติทุกกฏ


ภิกษุมีความกําหนัดจับต้อง... ภิกษุมีความกําหนัดจับต้องกายหญิง ต้องสังฆาทิเสส ภิกษุมีความกําหนัดจับต้องกายกะเทย(บัณเฑาะก์) ต้องถุลลจจัย

ภิกษุมีความกําหนัดจับต้องกายบุรุษ  จับต้องสัตว์ดิรัจฉานทั้งเพศผเพศเมีย  ต้องทุกกฏ

(ปี 63, 59 ,57) ภิกษุมีความกําหนัด จับต้องกายอนุปสัมบัน ต้องอาบัติอะไร ?

ตอบ ต้องอาบัติดังนี้ . จับต้องกายหญิง ต้องอาบัติสังฆาทิเสส               . จับต้องกายกะเทย(บัณเฑาะก์) ต้องอาบัติถุลลัจจัย

. จับต้องกายบุรุษ ต้องอาบัติทุกกฏ

(ปี 49 ,45) ภิกษุมีความกําหนัดจับต้องกายหญิง กะเทย บุรุษ สัตว์ดิรัจฉานเพศผู้ สัตว์ดิรจฉานเพศเมีย ต้องอาบัติอะไร?

 

พระภิกษุจับต้องวัตถุอนามาสโดยไม่มีความกําหนัด เป็นอาบัติทุกกฏ

หมายเหตุ อธิบายเพิ่มเติม วัตถุอนามาส คือ สิ่งที่พระไม่ควรแตะตอง มี ประเภท ดังนี้

.คน👉ญิง คนกะเทย เครื่องแต่งกายของคนเ👉ล่านั้น แต่ที่เขาสละแล้วไม่นับ ตุ๊กตา👉ญิง สัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย

.ทอง เงิน มุกดา มณี ไพฑูรย์ ประพาฬ ทับทิม บุษราคัม สังข์ที่ขัดแล้ว ศิลาชนิดดี เช่น 👉ยก โมรา

.ศัสตราวุธต่างชนิด ที่ใช้ทําร้ายชีวิตร่างกาย

.เครื่องดักสัตว์บก-นํ้า

.เครื่องประโคม

.ข้าวเปลือกและผลไม้อันเกิดอยู่ในที่

 

 


ภิกษุแกล้งฆ่าสัตว์ให้ตาย ต้องอาบัติฆ่ามนุษย์ให้ตาย ต้องอาบัติปาราชิก ฆ่าอมนุษย์ให้ตาย และ การปลงชวิตมนุษย์แต่ไม่สําเรจ ฆ่าสัตว์เดรัจฉานให้ตาย ต้องอาบัติปาจิตตีย์ พยายามฆ่าตนเอง ต้องอาบัติทุกกฏ


 

คือไม่ตาย เป็นแค่บาดเจ็บ ต้องอาบัติถุลลัจจัย


(ปี 63 ,59) ภิกษุทําคนอื่นให้ถึงแก่ความตาย ต้องอาบัติอะไรหรือไม่?

ตอบ ถ้าไม่จงใจ ไม่เป็นอาบัติ แต่ถ้าจงใจประสงค์จะให้เขาตาย เป็นอาบัติ

(ปี 57) ภิกษุฆ่ามนุษย์ ฆ่าสัตว์เดียรัจฉาน ต้องอาบัติอะไร? ตอบ ฆ่ามนุษย์ ต้องอาบัติปาราชิก                  ฆ่าสัตว์เดียรัจฉาน ต้องอาบัติปาจิตตีย์ฯ

(ปี 56) ภิกษุพยายามฆ่าตนเอง แต่ทําไม่สําเร็จ จะต้องอาบัติอะไร? ตอบ ต้องอาบัติทุกกฏ

(ปี 54) ภิกษุแกล้งฆ่าสัตว์ให้ตาย ต้องอาบัติอะไร?

ตอบ   ฆ่ามนุษย์ให้ตาย ต้องอาบัติปาราชิก


ฆ่าอมนุษย์ให้ตาย และ การปลงชวิตมนุษย์แต่ไม่สําเรจ ฆ่าสัตว์เดรัจฉานให้ตาย ต้องอาบัติปาจิตตีย์ พยายามฆ่าตนเอง ต้องอาบัติทุกกฏ


คือไม่ตาย เป็นแค่บาดเจ็บ ต้องอาบัติถุลลัจจัย


(ปี 48 ,44) ภิกษุฆ่าสัตว์ให้ตายและพยายามฆ่าตนเอง ต้องอาบัติอะไร?

(ปี 46) การปลงชีวิตอย่างไร ต้องอาบัติถุลลจจัย?

ตอบ การปลงชีวิตมนุษย์แต่ไม่สําเร็จ คือไม่ตาย เป็นแค่บาดเจ็บ                     ปลงชีวิตอมนุษย์ มียักษ์ เปรต เป็นต้น


ภิกษุโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติไม่มีมูล ต้องอาบัติโจทด้วยอาบัติปาราชิก เป็นอาบัติสังฆาทิเสส โจทด้วยอาบัตินอกจากนี้ เป็นอาบัติปาจิตตีย์

(ปี 53) ภิกษุโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติไม่มีมูล เป็นอาบัติอะไรบ้าง

ตอบ โจทด้วยอาบัติปาราชิก เป็นอาบัติสังฆาทิเสส               โจทด้วยอาบัตินอกจากนี้ เป็นอาบัติปาจิตตีย

 

 

ภิกษุรู้อยู่ น้อมลาภเพอ ต้องอาบัต

น้อมมาเพื่อตน เป็นอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ น้อมมาเพื่อบุคคลอื่น เป็นอาบัติปาจิตตีย์ น้อมมาเพื่อเจดีย์และเพื่อสงฆ์หมู่อื่น เป็นอาบัติทุกกฏ

(ปี 59 ,46) ภิกษุรู้อยู่ น้อมลาภที่เขา จะถวายสงฆ์มาเพื่อตนต้องอาบัติอะไร ? ลาภนั้น ได้แก่อะไรบ้าง ?

ตอบ ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ ได้แก่ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และเภสัช ซึ่งเรยกว่าปัจจัย และของที่เป็นกัปปิยะอย่างอื่นอีก

(ปี 56) มีผู้นําอาหารบิณฑบาตมาถวายแก่สงฆ์ ภิกษุแนะนําให้ถวายแก่ตนเองและได้มา เช่นนี้จะต้องอาบัติหรือไม่ ? ถ้าต้อง จะต้องอาบัติอะไร ?

ตอบ ต้องอาบัติ ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์

(ปี 53 ,47) ภิกษุรู้อยู่ น้อมลาภที่เขาน้อมไปจะถวายสงฆ์ มาเพื่อตน เพื่อบุคคลอื่น เพื่อเจดีย์ เพื่อสงฆ์หมู่อื่น จะต้องอาบัติอะไร?

ตอบ   น้อมมาเพื่อตน เป็นอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ น้อมมาเพื่อบุคคลอื่น เป็นอาบัติปาจิตตีย์ น้อมมาเพื่อเจดีย์และเพื่อสงฆ์หมู่อื่น เป็นอาบัติทุกกฏ

 

(ปี 51) ภิกษุนอนในที่มุงที่บังอันเดียวกับอนุปสัมบัน(ผู้ไม่ใช่ภกษุ) เป็นอาบัติหรือไม่อย่างไร?

ตอบ ถ้าเป็นผู้ชาย เกินกว่า คืน เป็นอาบัติปาจิตตีย์                  ถ้าเป็นผู้หญิง แม้ในคืนแรก เป็นอาบัติปาจิตตีย

 

 

 

เสขิยวัตร ๗๕ คือ ธรรมเนียมหรอวัตรที่ภิกษุพึงศึกษา มี ๗๕ ข้อ ภิกษุไม่ปฏิบัติตาม ต้องอาบัติทุกกฏ

แบ่งออกเป็น หมวด ดังนี้

.สารูป ว่าด้วยธรรมเนียมควรประพฤติในเวลาเข้าบ้าน

.โภชนปฏิสังยุต ว่าด้วยธรรมเนียมรับบิณฑบาตและฉันอาหาร (การขบฉัน) หมวด๒ ออกข้อสอบบ่อย**

.ธัมมเทสนาปฏิสังยุต ว่าด้วยธรรมเนียมไม่ให้แสดงธรรมแก่บุคคลผู้แสดงอาการไม่เคารพ

.ปกิณกะ ว่าด้วยธรรมเนียมถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หมวด๔ ออกขอสอบบ่อย**

(ปี 64, 59) เสขิยวัตร คืออะไร ? ภิกษุไม่ปฏิบัติตาม ต้องอาบัติอะไร ? ตอบ คือธรรมเนียมที่ภิกษุต้องศึกษา ต้องอาบัติทุกกฏ

(ปี 63 ,49) เสขิยวัตร คืออะไร? มีกี่ข้อ? ภิกษุละเมิดต้องอาบัติอะไร? ตอบ คือวัตรที่ภิกษุจะต้องศึกษา มี ๗๕ ข้อ ต้องอาบัติทุกกฏ

(ปี 62 ,56) เสขิยวัตร คืออะไร ? โภชนปฏิสังยุต ว่าด้วยเรื่องอะไร ?

ตอบ คือ วัตรหรือธรรมเนียมที่ภิกษุจําต้องศึกษา ว่าด้วยเรื่องการรับและการฉันอาหาร (ปี 61, 48 ,44) เสขิยวัตร คืออะไร ? ภิกษุไม่เอื้อเฟื้อในเสขิยวัตรนั้น ต้องอาบัติอะไร ? ตอบ คือ วัตรหรือธรรมเนียมที่ภิกษุต้องศึกษา ต้องอาบัติทุกกฏ


(ปี 57) วัตรที่ภิกษสามเณรจะต้องศึกษา เรียกว่าอะไร? มีทั้งหมดกี่ข้อ? ตอบ เรียกว่าเสขิยวัตร มี ๗๕ ข้อ

(ปี 56) ภิกษุไม่เอื้อเฟื้อในเสขิยวัตร ปฏิบัติผิดธรรมเนียมไป ต้องอาบัติอะไร? ตอบ ต้องอาบัติทุกกฏ

(ปี 53) เสขิยวัตร คืออะไร? แบ่งเป็นกี่หมวด? หมวดที่ ว่าด้วยเรื่องอะไร?

ตอบ คือ ธรรมเนียมหรือวัตรที่ภิกษุพึงศึกษา แบ่งเป็น หมวด ว่าด้วยเรื่อง โภชนปฏิสังยุต คือธรรมเนียมว่าด้วยเรื่องการขบฉัน

(ปี 51) เสขิยวัตร คืออะไร? มีทั้งหมดกี่ข้อ? ตอบ คือ ธรรมเนียมหรือวัตรที่ภิกษุต้องศึกษา มี ๗๕ ข้อ

(ปี 46) เสขิยวัตร คืออะไร? หมวดที่ ว่าด้วยเรื่องอะไร? ภิกษุไมเ่ อื้อเฟื้อในเสขิยวัตร ปฏิบัติผดธรรมเนียม ต้องอาบัติอะไร?

ตอบ คือ วัตรหรือธรรมเนียมที่ควรศึกษา หมวดที่ ว่าด้วยธรรมเนียมรับบิณฑบาตและฉันอาหาร ต้องอาบัติทุกกฏ

 

 

อธิกรณ์

อธิกรณ์ คือ เรื่องที่เกิดขึ้นแล้วจะต้องจัดต้องทํา เมื่อเกิดขึ้นแล้วต้องระงับด้วยอธิกรณสมถะอย่างใดอย่างหนึ่งตามสมควรแก่อธิกรณ์นั้นๆ มี

ประเภท ดังนี้

.วิวาทาธิกรณ์ คือ วิวาท การเถียง ได้แก่ การเถียงว่า สิ่งนั้นเป็นธรรมเป็นวินัย สิ่งนี้ไม่ใช่ธรรมไม่ใช่วินัย นี้จะต้องได้รับชี้ขาดว่าถูกว่าผิด

.อนุวาทาธิกรณ์ คือ การโจทกันด้วยอาบัติ นี้จะต้องได้รับวินิจฉัยว่าจริงหรือไม่จริง

.อาปัตตาธิกรณ์ คือ กิริยาที่ต้องอาบัติหรือถูกปรับอาบัติ นี้จะต้องทําคืน คือทําให้พ้นโทษ

.กิจจาธิกรณ์ คือ กิจธุระที่สงฆ์จะพึงทํา เช่น ให้อุปสมบท นี้จะต้องทําให้สําเร็จ

 

อธิกรณสมถะ คือ ธรรมเครื่องระงบอธิกรณ์ มี อย่าง เช่น เยภุยยสิกา เป็นต้น การตัดสินอธิกรณ์ตามเสยงข้างมาก เรียกว่า เยภุยยสิกา (อันนี้ออกข้อสอบบ่อย)

 

(ปี 63 ,58) การเถียงกันด้วยเรื่องอะไรจึงจัดเป็นวิวาทาธิกรณ์ ? ตอบ การเถียงกันว่า สิ่งนั้นเป็นธรรมเป็นวินัย สิ่งนี้ไม่ใช่ธรรมไม่ใช่วินัย

(ปี 61 ,56) ภิกษุเถียงกันด้วยเรื่องอะไร จึงเรียกว่า วิวาทาธิกรณ์? ตอบ เถียงกันด้วยเรื่อง สิ่งนั้นเป็นธรรมเป็นวินัย สิ่งนี้ไม่ใช่ธรรมไม่ใช่วินัย (ปี 57) อธิกรณ์ อธิกรณสมถะ คืออะไร? ตอบ อธิกรณ์ คือเรื่องที่เกิดขึ้นแล้วจะต้องจัดต้องทําฯ อธิกรณสมถะ คือธรรมเครื่องระงับอธิกรณ์ (ปี 54) อธิกรณ์คืออะไร? การตัดสินอธิกรณตามเสียงข้างมาก เรียกว่าอะไร?

ตอบ อธิกรณ์ คือ เรื่องที่เกิดขึ้นแล้วจะต้องจัดต้องทํา เรียกว่า เยภุยยสิกา

(ปี 52) อธิกรณ์ คืออะไร? เมื่อเกิดขึ้นแล้วต้องทําอย่างไร?

ตอบ คือ เรื่องที่เกิดขึ้นแล้วจะต้องจัดต้องทํา ต้องระงับด้วยอธิกรณสมถะอย่างใดอย่างหนึ่งตามสมควรแก่อธิกรณ์นั้น

(ปี 51) อธิกรณสมถะ คืออะไร? มีกี่อย่าง? การตัดสินตามเสียงข้างมาก เรียกว่าอะไร? ตอบ คือ ธรรมเครื่องระงับอธิกรณ์ ฯ มี ๗ อย่าง ฯ                   เรียกว่า เยภุยยสิกา (ปี 51) วิวาทาธิกรณ์กับอนุวาทาธิกรณ์ ต่างกันอย่างไร ?

ตอบ วิวาทาธิกรณ์ คือการเถียงว่า สิ่งนั้นเป็นธรรมเป็นวินัย สิ่งนี้ไม่ใช่ธรรมไม่ใช่วินัย ส่วนอนุวาทาธิกรณ์ คือการโจทกันด้วยอาบัติ

(ปี 46) อธิกรณ์  คืออะไร?  อธิกรณ์ย่อมระงับได้ด้วยอะไร?  การแสดงอาบัติจัดเข้าในอธิกรณสมถะข้อไหน? สําหรับระงับอธิกรณ์อะไร?

ตอบ คือ เรื่องที่เกิดขึ้นแล้วจะต้องจัดต้องทํา ระงับได้ด้วยอธิกรณสมถะ คือธรรมสําหรับระงับอธิกรณ์ จัดเข้าในปฏิญญาตกรณะ สําหรับระงับอาปัตตาธิกรณ์

(ปี 43) การอุปสมบทจัดเป็นอธิกรณ์อะไร? ใครเป็นผระงับอธิกรณนั้น? ตอบ จัดเป็นกิจจาธิกรณ์ สงฆ์เป็นผู้ระงับอธิกรณ์นั้น

(ปี  43)ภิกษุเถียงกันเรื่องการแก้ปัญหาจราจรเป็นอธิกรณ์อะไรหรือไม่  ตอบ  ไม่จัดเป็นอธิกรณ์ เพราะไม่ใช่การเถียงกันปรารถพระธรรมวินัย


เรื่องอื่นๆน่าจะไม่ออกข้อสอบ

(ปี 45 ยาก ไม่ได้ออกนานแล้ว) ผ้าจีวรที่ทรงอนุญาตให้ใช้ได้ทําด้วยวัตถุกี่ชนิด? อะไรบ้าง?

ตอบ ชนิด คือ    .ทําด้วยเปลือกไม้ เช่น ผ้าลินิน           .ทําด้วยขนสัตว์ เช่น ผ้าสักหลาด

.ทําด้วยฝ้าย คือ ผ้าสามัญ               .ทําด้วยเปลือกไม้ เช่น ผ้าป่าน (สาณะ)

.ทําด้วยไหม คือ ผา้ แพร               .ทําด้วยสัมภาระเจือกัน

 

 

 

รายละเอียดอาบัติเป็นข้อๆ

ปาราชิก

·        สิกขาบทที่ ภิกษุเสพเมถุน (ร่วมประเวณี, ร่วมสังวาส) ต้องปาราชิก

·        สิกขาบทที่ ภิกษุถือเอาของที่เจ้าของไม่ได้ให้ ได้ราคา มาสก ต้องปาราชิก

·        สิกขาบทที่ ภิกษุแกล้ง (จงใจ) ฆ่ามนุษย์ให้ตาย ต้องอาบัติปาราชิก

·        สิกขาบทที่ ภิกษุอวดอุตรมนุสสธรรม(คือธรรมอันยิ่งยวดของมนุษย์)ที่ไม่มีในตน ต้องปาราชิก

 

(ปี 62 ,45) ปาราชิก สิกขาบทไหนที่ภิกษุใช้ให้คนอื่นทําก็ต้องอาบัติถึงที่สุด? ตอบ สิกขาบทที่ และสิกขาบทที่

(ปี 58) สิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์มีเท่าไร ? สิกขาบทว่าด้วยปาราชิกมีอะไรบ้าง ?

ตอบ มี ๒๒๗ สิกขาบท มี . เสพเมถุน

. ภิกษุถือเอาของที่เจ้าของเขาไม่ได้ให้ ได้ราคา มาสก

. ภิกษุแกล้งฆ่ามนุษย์ให้ตาย

. ภิกษุอวดอุตตริมนุสสธรรม (คือธรรมอันยิ่งของมนุษย์) ที่ไม่มีในตน

 

(ปี 58) ในอทินนาทานสิกขาบท กําหนดราคาทรัพย์ เป็นวัตถุแห่งอาบัติไว้อย่างไรบ้าง?

ตอบ   ทรัพย์มีราคาตั้งแต่ มาสก ขึ้นไป เป็นวัตถุแห่งอาบัติปาราชิก ทรัพย์มีราคาตํ่าากว่า มาสก แต่สูงกว่า มาสก เป็นวัตถุแห่งอาบัติถุลลจจัย ทรัพย์มีราคาตั้งแต่ มาสก ลงไป เป็นวัตถุแห่งอาบัติทุกกฏ

(ปี 57) สังหารมทรัพย์ และ อสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ทรัพย์เช่นไร?

ตอบ   สังหาริมทรัพย์ ได้แก่ทรัพย์หรือสิ่งของที่เคลื่อนที่ได้ เช่น สัตว์ เงินทอง เป็นต้น อสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ทรัพย์หรือสิ่งของที่เคลื่อนที่ไม่ได้ เช่น ที่ดิน ต้นไม้ เรือน เป็นต้น

(ปี 50) สังหารมทรัพย์ และ อสังหาริมทรัพย์คือทรัพย์เช่นไร? ภิกษุจะต้องอาบัติถึงที่สุดในเพราะลักทรัพย์ทั้ง อย่างนั้นเมื่อใด?

ตอบ สังหาริมทรัพย์ คือทรัพย์ทเคลื่อนที่ได้ อสังหาริมทรัพย์ คือทรัพย์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้

สําหรับสังหารมทรัพย์ ภิกษุจะต้องอาบัติถึงที่สุด ในเมื่อทําให้ทรัพย์นั้นเคลื่อนจากที่เดิม ส่วนอสังหาริมทรัพย์ จะต้องอาบัติถึงที่สุด ในเมื่อเจ้าของ ทอดกรรมสิทธิ์

(ปี 45) สังหารมทรัพย์ และอสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ทรัพย์เช่นไร ? การถือเอาทรัพย์ทั้ง อย่างนั้น กําหนดว่าถึงที่สุดไว้อย่างไร?


ตอบ สังหาริมทรัพย์ ได้แก่ทรัพย์หรือสิ่งของที่เคลื่อนที่ได้ ทั้งที่มีวิญญาณและไม่มีวิญญาณ เช่นสัตว์และเงินทองเป็นต้น ส่วนอสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ทรัพย์หรือสิ่งของที่เคลื่อนที่ไม่ได้ โดยตรงได้แก่ที่ดิน โดยอ้อมนับของที่ติดเนื่องอยู่กับที่นั้นด้วย เช่น ต้นไม้และเรือนเป็นต้น สังหาริมทรัพย์ กําหนดว่าถึงที่สุดด้วยทําให้เคลื่อนจากฐาน                                        อสังหาริมทรัพย์ กําหนดว่าถึงที่สุดด้วยขาดกรรมสิทธิ์แห่งเจ้าของ

(ปี 49 ,45) คําว่า "ไถยจิต" หมายถึงอะไร? ในอทินนาทานสิกขาบท กําหนดราคาทรัพย์เป็นวัตถุแห่งอาบัติไว้อย่างไรบ้าง?

ตอบ หมายถึงจิตคิดจะลัก คือจิตคิดถือเอาของที่เจ้าของไม่ให้ด้วยอาการแห่งขโมย กําหนดไว้อย่างนี้                ทรัพย์มีราคาตั้งแต่ มาสก ขึ้นไป เป็นวัตถุแห่งอาบัติปาราชิก

ทรัพย์มีราคาตํ่ากว่า มาสก แต่สูงกว่า มาสก เป็นวัตถุแห่งอาบัติถุลลจจัย ทรัพย์มีราคาตั้งแต่ มาสก ลงไป เป็นวัตถุแห่งอาบัติทุกกฏ

 

(ปี 49) อุตตรมนุสสธรรม คืออะไร? มีอะไรบ้าง?

ตอบ คือ ธรรมอันยิ่งของมนุษย์ หรือคุณอย่างยวดยิ่งของมนุษย์ มี ฌาน วิโมกข์ สมาธิ สมาบัติ มรรค ผล นิพพาน

(ปี 44) ภิกษุพูดอวดอุตตริมนุสสธรรมซึ่งไม่มีจริงในตน เมื่อคนอื่นฟังแล้วเข้าใจแต่ไม่เชื่อ  ภิกษุนี้จะตองอาบัติอะไร? ตอบ ต้องอาบัติปาราชิก

(ปี 43) ปาราชิก ข้อไหนเป็นสจิตตกะ ข้อไหนเป็นอจิตตกะ? ทําไมเป็นเช่นนั้น?

ตอบ ปาราชิก ข้อ เป็นสจิตตกะ ที่เป็นเช่นนั้น เพราะต้องด้วยจงใจ เกิดขึ้นโดยมีเจตนาเป็นสมุฏฐาน

 

 

สังฆาทิเสส ๑๓

·        . ภิกษุแกล้งทํานํ้าอสจิเคลื่อน

·        . ภิกษุมีความกําหนัดอยู่ จับต้องกายหญิง

·        . ภิกษุมีความกําหนัดอยู่ พูดเกี้ยวหญิง

·        . ภิกษุมีความกําหนัดอยู่ พูดล่อให้หญิงบําเรอตนด้วยกาม

·        . ภิกษุชักสื่อให้ชายหญิงเป็นผัวเมียกัน

·       . ภิกษุสร้างกุฎิที่ต้องก่อและ โบกด้วยปูนหรือดิน เป็นเจ้าของจําเพาะเป็นที่อยู่ของตน ต้องทําให้ได้ประมาณ โดยยาวเพียง ๑๒ คืบพระ สุคต กว้างเพียง คืบพระสุคต ( คืบพระสุคต = ๒๕ ซม) และตองให้สงฆ์แสดงที่ให้ก่อน ถ้าไม่ให้พระสงฆ์แสดงที่ให้ก็ดี ทําให้เกิน ประมาณก็ดี ต้องสังฆาทิเสส

·       . ถ้าที่อยู่ซึ่งจะสร้างขึ้นนั้น มีทายกเป็นเจ้าของ ทําให้เกินประมาณนั้นได้ แต่ต้องให้สงฆ์ แสดงที่ให้ก่อน ถ้าไม่ให้สง)แสดงที่ให้ก่อนต้อง สังฆาทิเสส

·        . ภิกษุโกรธเคือง แกล้งโจทภิกษอื่นด้วยอาบัติปาราชิกไม่มีมูล ต้องสังฆาทิเสส

·        . ภิกษุโกรธเคือง แกล้งหาเลศโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติปาราชิก ต้องสังฆาทิเสส

·       ๑๐. ภิกษุพากเพียรเพื่อจะทําลายพระสงฆ์ให้แตกกัน ภิกษุอื่นห้ามไม่ฟังสงฆ์สวดกรรมเพื่อจะให้ละข้อที่ประพฤตินั้น ถ้าไม่ละ ต้อง สังฆาทิเสส

·        ๑๑. ภิกษุประพฤติตามภิกษุผู้ทําลายสงฆ์นั้น ภิกษุอื่นห้ามไม่ฟัง สงฆ์สวดกรรมเพื่อจะให้ละข้อที่ประพฤตินั้น ถ้าไม่ละ ต้องสังฆาทิเสส


·        ๑๒. ภิกษุว่ายากสอนยาก ภิกษุอื่นห้ามไม่ฟัง สงฆ์สวดกรรมเพื่อจะให้ละประพฤตินั้น ถ้าไมล


ต้องสงั ฆาทิเสส


·       ๑๓. ภิกษุประทุษร้ายตระกูล คือประจบคฤหัสถ์ สงฆ์ไลเสียจากวัด กลับติเตียนสงฆ์ ภิกษุอื่นห้ามไม่ฟัง สงฆ์สวดกรรมเพื่อจะให้ละข้อที่ ประพฤตินั้น ถาไม่ละ ต้องสังฆาทิเสส


สังฆาทิเสส สิกขาบทข้างต้นให้ต้องอาบัติแต่แรกที่เราเรียกว่า ปฐมาปัตติกะ

ส่วน สิกขาบทข้างปลาย ให้ต้องอาบัติต่อเมื่อสงฆ์สวดประกาศห้ามครบ ครั้ง เรียกว่า ยาวตติยกะ

อาบัติหนักในฝ่ายอาบัติที่จะแก้ไขได้ เรียกว่า ครุกาบัติ มีเรื่องหยาบคายอยู่มาก จึงเรยกว่า ทุฏฐลลาบัติ ภิกษุผู้ต้องแล้วจะทําได้ด้วยอยู่กรรม จึง เรียกว่า วุฏฐานคามินี

 

(ปี 64, 62 ,46) คําว่า "ภิกษุประทุษร้ายตระกูล" ในสิกขาบทที่ ๑๓ แห่งสังฆาทิเสสหมายถึงการทําอย่างไร ?

ตอบ หมายถึงการที่ภิกษุประจบคฤหัสถ์ ยอมตนให้เขาใช้สอย เช่น เดินส่งข่าวให้เขาเป็นต้น หรือด้วยการเอาเปรียบโดยเชิงให้สิ่งเล็กน้อยด้วยหวัง ได้มาก ฯ

(ปี 63, 59 ,57) ภิกษุมีความกําหนัด จับต้องกายอนุปสัมบัน ต้องอาบัติอะไร ?

ตอบ ต้องอาบัติดังนี้  . จับต้องกายหญิง ต้องอาบัติสังฆาทิเสส            . จับต้องกายกะเทย(บัณเฑาะก์) ต้องอาบัติถุลลัจจัย

. จับต้องกายบุรุษ ต้องอาบัติทุกกฏ

(ปี 62 ,46) คําว่า "ภิกษุประทุษร้ายตระกูล" ในสิกขาบทที่ ๑๓ แห่งสังฆาทิเสสหมายถึงการทําอย่างไร ?

ตอบ หมายถึงการที่ภิกษุประจบคฤหัสถ์ ยอมตนให้เขาใช้สอย เช่น เดินส่งข่าวให้เขาเป็นต้น หรือด้วยการเอาเปรียบโดยเชิงให้สิ่งเล็กน้อยด้วยหวัง ได้มาก ฯ

(ปี 60) คําว่า มาตุคาม ในสังฆาทิเสส สิกขาบทที่ และ ต่างกันอย่างไร ?

ตอบ ในสิกขาบทที่ หมายรวมทั้งหญิงที่รู้เดียงสาและไม่รู้เดียงสา โดยที่สุดแม้เกิดในวันนั้น ส่วนในสิกขาบทที่ หมายเฉพาะหญิงที่รู้เดียงสาแล้วเท่านั้น

(ปี 58) ภิกษุประพฤติอย่างไร ชื่อว่าประทุษร้ายตระกูล ? ตอบ ประจบคฤหัสถ์

(ปี 56) ข้อความว่า ภิกษุชักสื่อให้ชายหญิงเป็นผัวเมียกัน ตามสิกขาบทที่ แห่งสังฆาทิเสสนั้น หมายถึงการทําอย่างไร? ตอบ หมายถึงการที่ภิกษุบอกความประสงค์ของชายแก่หญิง หรือบอกความประสงค์ของหญิงแก่ชายในความเป็นผัวเมีย (ปี 51) สังฆาทิเสส มีกี่สิกขาบท? ภิกษุต้องอาบัตินี้จะพ้นได้ด้วยวิธีอย่างไร?

ตอบ มี ๑๓ สิกขาบท ด้วยวิธีอยู่กรรม ที่เรียกว่า วุฏฐานคามินี

(ปี 50) ภิกษุรู้ตัวว่าต้องอาบัติสังฆาทิเสส จึงแสดงอาบัตินั้นต่อภิกษุอีกรูปหนึ่ง อย่างนี้จะพ้นจากอาบัตินั้นได้หรือไม่ เพราะเหตไุ ?

ตอบ พ้นไม่ได้ เพราะอาบัติสังฆาทิเสสนั้น ภิกษุผู้ต้องจะพ้นได้ด้วยอยู่กรรม

(ปี 47 ,44) คําว่า มาตุคาม ในสังฆาทิเสส สิกขาบทที่ , , และ ต่างกันอย่างไร ?

ตอบ มาตุคามในสังฆาทิเสสสิกขาบทที่ หมายหญิงมนุษย์โดยที่สุดแม้เกิดในวันนั้นรวมทั้งหญิงที่รู้เดียงสาและไม่รู้เดียงสา  ส่วนมาตุคามใน สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ , และ หมายเฉพาะหญิงผู้รเดียงสาแลวเท่านั้น

(ปี 46) สังฆาทิเสส ๑๓ สิกขาบท ที่ชื่อว่า ยาวตติยกะ หมายความว่าอย่างไร ?

ตอบ ที่ชื่อว่า ยาวตติยกะ เพราะให้ต้องอาบัติต่อเมื่อสงฆ์ประกาศห้ามครบ ครั้ง


(ปี 46) ภิกษุว่ายากสอนยาก ภิกษุอื่นห้ามไม่ฟัง สงฆ์สวดกรรมเพื่อจะให้ละข้อที่ประพฤตินั้น ถ้าไมล บัญญัติเพื่อประสงค์ใด? ตอบ สิกขาบทที่ ๑๒ แห่งสังฆาทิเสส เพื่อป้องกันไม่ไห้ภิกษุดื้อด้าน


ะต้องสังฆาทิเสส คือสิกขาบททเท่าไร ทรง


(ปี 45) สังฆาทิเสส ๑๓ สิกขาบทไหนบ้างต้องอาบัติตั้งแต่แรกทํา? มีชื่อเรียกอย่างไร? ตอบ สิกขาบทที่ ถึงที่ เรียกว่า ปฐมาปัตตกะฯ

(ปี 43) เพราะเหตไุ สังฆาทิเสส จึงเรียกว่า ครุกาบัติ ทุฏฐุลลาบัติ วุฏฐานคามินี?

ตอบ   เพราะเป็นอาบัติหนัก จึงเรยกว่า ครุกาบัติ


เพราะมีเรื่องหยาบคายมาก จึงเรียกว่า ทุฏฐุลลาบัติ เพราะภิกษุผู้ต้องแล้วจะทําได้ด้วยอยู่กรรม จึงเรียกว่า วุฏฐานคามินี

 

อนิยต แปลว่า วางอาบัติไว้ไม่แน่

·       ภิกษุนั่งในที่ลับตากับหญิงสองต่อสอง ถ้ามีคนที่ควรเชื่อไดมาพูดขึ้นด้วยธรรม อย่าง คือ ปาราชิก หรือสังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย์ อย่าง ใดอย่างหนึ่ง ภิกษุรับอย่างใดให้ปรับอย่างนั้นหรือเขาว่าจําเพาะธรรมอย่างใดให้ปรับอย่างนั้น

·       ภิกษุนั่งในที่ลับหูกับหญิงสองต่อสอง ถ้ามีคนที่ควรเชื่อได้มาพูดขึ้นด้วยธรรม อย่าง คือ สังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย์ อย่างใดอย่างหนึ่ง ภิกษุรับอย่างใดให้ปรับอย่างนั้นหรือเขาว่าจําเพาะธรรมอย่างใดให้ปรับอย่างนั้น

(ปี 50) ที่ลับตา กับที่ลับหู ต่างกนอย่างไร? ที่ลับทั้ง นั้น เป็นทางให้ปรับอาบัติได้มากน้อยกว่ากันอย่างไร ?

ตอบ ต่างกันอย่างนี้ ที่ที่มีสิ่งกําบัง เห็นกันไม่ได้ เรียกว่า ที่ลับตา ที่ที่ไม่มสิ่งกําบัง เห็นกันได้ แต่ฟังเสียงพูดกันไม่ได้ยิน เรียกว่า ที่ลับหู

ที่ลับตา เป็นทางให้ปรับอาบัติได้มากกว่า คือตั้งแต่ปาราชิก สังฆาทิเสส ถึง ปาจิตตย์ ส่วนที่ลับหู เป็นทางให้ปรับอาบัติตั้งแต่สังฆาทิเสสลงมา

(ปี 47) ในอนิยต ที่ลับตา และที่ลับหู ได้แก่ที่เช่นไร? ภิกษุอยู่กับมาตุคามสองต่อสองในที่เช่นนั้น เป็นทางปรับอาบัติอะไรได้บ้าง?

ตอบ   ที่ลับตา ได้แก่ ที่มีวัตถุกําบัง แลเห็นไม่ได้ ที่ลับหู ได้แก่ ที่แจ้ง แลเห็นได้ แต่ห่าง ไม่ได้ยินเสียงพูด ในที่ลับตา เป็นทางปรับอาบัติปาราชิก สังฆาทิเสส และ ปาจิตตีย์

ในที่ลับหู เป็นทางปรับอาบัติสังฆาทิเสส และ ปาจิตตีย์

 

 

ถุลลัจจัย

·        ฆ่าอมนุษย์ให้ตาย ต้องอาบัติถุลลจจัย

·        ภิกษุลักทรัพย์ มีราคาไม่ถืง มาสก แต่มากกว่า มาสก เป็นเหตุให้ต้องอาบัติถุลลัจจัย

·        ภิกษุมีความกําหนัดจับต้องกายกะเทย  ต้องถุลลัจจัย

 

 

นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐

(ปี 60) ภิกษุต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ หรืออาบัติปาจิตตีย์ มีวิธีแสดงอาบัติ ต่างกันอย่างไร ?

ตอบ นิสสัคคิยปาจิตตย์ ต้องเสยสละวัตถุอันเป็นเหตุให้ต้องอาบัตินั้นเสียก่อน จึงแสดงอาบัติได้ ส่วนอาบัติปาจิตตีย์นั้น ภิกษุพึงแสดงอาบัติได้เลย ไม่มีวัตถุใด ๆ ที่ต้องสละ ฯ

·       จีวรและบาตรนอกจากจีวรและบาตรที่อธิษฐาน เก็บเกิน ๑๐ วัน ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ (ในนิสสคคิยปาจิตตีย์ จีวรวรรค และปัตต วรรค)

(ปี 55) อติเรกจีวร อติเรกบาตร ได้แก่จีวรและบาตรเช่นไร? จีวรและบาตรชนิดนี้ ภิกษุเก็บไว้ได้กี่วัน?

·        ภิกษุอยู่ปราศจากไตรจีวรแม้เพียงคืนหนึ่ง ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่ได้สมมติ (สงฆ์ตกลงกันให้อยู่ปราศจากไตรจีวรได้) (ใน


นิสสัคคิยปาจิตตีย์ จีวรวรรค) ต้องสละไตรจีวรผืนที่อยู่ปราศจากนั้น แล้วแสดงอาบัตินิสสัคคิยปาจต ต้องอธิษฐานใหม่

(ปี 62 ,53) ไตรจีวร มีอะไรบ้าง ? ภิกษุอยู่ปราศจากไตรจีวรแม้คืนหนึ่ง ต้องอาบัติอะไร ?


ตีย์ เมื่อได้รับผ้ากลับคืนมาแล้ว


ตอบ มี สังฆาฏิ คือผ้าคลุม อุตตราสงค์ คือผ้าห่ม และอันตรวาสก คือผ้านุ่ง ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์

(ปี 54) ไตรจีวรประกอบด้วยผ้าอะไรบ้าง? ภิกษุอยู่ปราศจากไตรจีวร ต้องปฏิบัติอย่างไร?

ตอบ ไตรจีวร ประกอบด้วย ผ้าสังฆาฏิ (ผ้าคลุม) ผ้าอุตตราสงค์ (จีวร หรือ ผ้าห่ม) และอันตรวาสก (สบง หรือ ผ้านุ่ง) ต้องสละไตรจีวร ผืนที่อยู่ปราศจากนั้น แล้วแสดงอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตย์ เมื่อได้รับผากลับคืนมาแล้ว ต้องอธิษฐานใหม่

·       ภิกษุขอจีวรต่อคฤหัสถ์ผู้ไม่ใช่ญาติ ไม่ใช่ปวารณา (คือไม่ได้บอกให้ขอ) ได้มา ต้องนิสสัคคิยปาจิตตย์ เว้นไว้แต่มีสมัยที่จะขอจีวรได้ คือ เวลาภิกษุมีจีวรอันโจรลักไป หรือมีจีวรอันฉิบหายเสีย

(ปี 58) พระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้ภิกษุขอจีวรต่อคฤหัสถ์ผู้ไม่ใช่ญาติ ไม่ใช่ปวารณา ได้ในสมัยใดบ้าง ?

ตอบ ในสมัยที่ภิกษุมีจีวรอันโจรลกไป หรือมีจีวรอันฉิบหายเสีย

(ปี 56) ภิกษุขอจีวรต่อสามีของน้องสาวแล้วได้มา เธอจะต้องอาบัติอะไรหรือไม่?

ตอบ   ถ้าสามีของน้องสาวเป็นญาติก็ดมิใช่ญาติแต่ปวารณาก็ดี ไม่ต้องอาบัติ ถ้ามิใช่ญาติและมไิ ด้ปวารณา เป็นเพียงน้องเขย ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่สมัย (คือในเวลาจีวรถูกขโมยหรือเสียหาย)

·        น้อมมาเพื่อตน เป็นอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ (ในนิสสัคคิยปาจิตตีย์ โกสิยวรรค)

(ปี 56) มีผู้นําอาหารบิณฑบาตมาถวายแก่สงฆ์ ภิกษุแนะนําให้ถวายแก่ตนเองและได้มา เช่นนี้จะต้องอาบัติหรือไม่ ? ถ้าต้อง จะต้อง อาบัติอะไร ? ตอบ ต้องอาบัติ ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์

 

ปาจิตตีย์ ๙๒ หรือเรียกอีกอย่างว่า สุทธิกปาจิตตีย

·       ภิกษุนอนในที่มุงที่บังอันเดียวกันกับอนุปสัมบัน(ผไู้ ม่ใช่ภิกษุ เช่น คฤหัสถ์ผู้ชาย สามเณร) เกิน คืนขึ้นไป ต้องอาบัติปาจิตตีย์ (ใน ปาจิตตีย์ มุสาวาทวรรค)

(ปี 61 ,53) ภิกษุนอนในที่มุงที่บังเดียวกันกับสามเณร จะเป็นอาบัติหรือไม่?

ตอบ นอนได้ คืนไม่อาบัติ เกินกว่านั้นต้องอาบัติปาจิตตย์

·        ภิกษุนอนในที่มุงที่บังอันเดียวกันกับผู้หญิง แม้ในคืนแรกต้องปาจิตตีย์ (ในปาจิตตีย์ มุสาวาทวรรค)

·       ภิกษุบอกอุตตริมนุสธรรม (ธรรมอันยวดยิ่งของมนุษย์ คือ คุณวิเศษ ได้แก่ ฌาณ วิโมกข์ สมาธิ สมาบัติ มรรคผล)ที่มีจริงแก่อนุปสัมบัน(ผู้ ไม่ใช่ภิกษุ) ต้องปาจิตตย์ (ในปาจิตตีย์ มุสาวาทวรรค)

·        ภิกษุบอกอาบัติชั่วหยาบของภิกษุแก่อนุปสัมบัน เว้นไว้แต่ภิกษไุ ด้รบสมมติ ต้องปาจิตตีย์ (ในปาจิตตย์ มุสาวาทวรรค)

(ปี 64, 62, 60 ,44) พูดอย่างไรเรียกว่า อวดอุตตริมนุสสธรรม ?

ตอบ พูดอวดคุณพิเศษอันยิ่งของมนุษย์ เช่น ฌาน วิโมกข์ สมาธิ สมาบัติ มรรค ผล นิพพาน เรียกว่า อวดอุตตริมนุสสธรรม

(ปี 64) ภิกษุบอกอาบัติชั่วหยาบของภิกษุอื่นแก่อนุปสัมบัน เป็นอาบัติอะไรหรือไม่ ?

ตอบ   ถ้าได้รับสมมตไิ ว้ ไม่เป็นอาบัติ

แต่ถ้าไม่ได้รับสมมติ เป็นอาบัติปาจิตตีย์ ตามสิกขาบทที่ แห่งมุสาวาทวรรค

(ปี 60) ในปาจิตตย์ ภิกษุต้องอาบัติเพราะพูดเรื่องจริง มีหรือไม่ ? เพราะเหตุใด ?

ตอบ มี เพราะบอกอุตตริมนุสสธรรมที่มีจริงแก่อนุปสัมบัน ตามสกขาบทที่ แห่งมุสาวาทวรรค และเพราะบอกอาบัติชั่วหยาบของ ภิกษุแก่อนุปสัมบัน เว้นไว้แต่ได้รบสมมติ ตามสิกขาบท ที่ แห่งมุสาวาทวรรค

(ปี 45) ภิกษุพูดปดต้องอาบัตินั้นทราบแล้ว แต่ถ้าพูดเรื่องจริง จะต้องอาบัติอะไรหรือไม่?


ตอบ ต้องอาบัติเหมือนกันคือ บอกอุตตริมนุสสธรรมที่มีจริงแก่อนุปสัมบัน ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ตามสกขาบทที่ แห่งมุสาวาทวรรค บอกอาบัติชั่วหยาบของภิกษุแก่อนุปสัมบัน เว้นไว้แต่ได้รับสมมติ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ตามสิกขาบทที่ แห่งมุสาวาทวรรค

·        พูดปด ต้องปาจิตตีย์ (ในปาจิตตย์ มุสาวาทวรรค) และ ภิกษุดื่มนํ้าเมา ต้องปาจิตตีย์ (ในปาจิตตีย์ สุราปานวรรค)

(ปี 52) พระ . นําเบียร์มาให้พระ . ดื่ม โดยหลอกว่าเป็นนํ้าอัดลม พระ . หลงเชื่อจึงดื่มเข้าไป ถามว่าพระ . และพระ . ต้องอาบัติ อะไรหรือไม่?

ตอบ พระ . เป็นอาบัติปาจิตตีย์ เพราะพูดปด ส่วนพระ . เป็นอาบัติปาจิตตีย์ เพราะดื่มนํ้าเมา แม้ไม่รู้ก็ต้องอาบัติ เพราะสิกขาบทนี้ เป็นอจิตตกะ(คือไม่เจตนา สําคัญว่ามิใช่นํ้าเมาดื่มเข้าไปก็คงเป็นอาบัติ)

·        ด่าภิกษุ ต้องปาจิตตีย์ (ในปาจิตตย์ มุสาวาทวรรค)

[ประดับความรู้ ไม่ต้องจํา] อักโกสวัตถุ เรื่องสํา👉รับด่า มี ๑๐ อย่าง คือ

. ชาติ ได้แก่ชั้น👉รือกําเนิดของคน                 . โรค

. ชื่อ                                   . รูปพรรณสัณฐาน

. โคตร คือตระกูล👉รือแซ่                       . กิเลส

. การงาน                               . อาบัติ

. ศิลปะ                                 ๑๐. คําสบประมาทอย่างอื่นๆ

โอมสวาท คือ คําพูดเสียดแทงให้เจ็บใจ

(ปี 64, 59) พูดอย่างไร ชื่อว่าส่อเสียดภิกษุ? ภิกษุพูดอย่างนั้นต้องอาบัติอะไร?

ตอบ เก็บความข้างนี้ไปบอกข้างโน้น เก็บความข้างโน้นมาบอกข้างนี้ ด้วยประสงค์จะให้เขารักตนหรือให้เขาแตกกัน ชื่อว่าส่อเสียดภิกษุฯ ต้องอาบัติปาจิตตย์ ฯ

(ปี 46) โอมสวาท หมายถึง?  อักโกสวัตถุ หมายถึง?

ตอบ โอมสวาท คือ คําพูดเสียดแทงให้เจ็บใจ           อักโกสวัตถุ คือ เรื่องสําหรับด่า ๑๐ อย่าง

·       ภิกษุเอาเตยง ตั่ง ฟูก เก้าอี้ ของสงฆ์ไปตั้งในที่แจ้งแล้วเมื่อหลีกไปจากที่นั้น ไม่เก็บเองก็ดี ไม่ใช้ให้ผู้อื่นเก็บก็ดี ไม่มอบหมายแก่ผู้อื่นก็ดี ต้องอาบัติปาจิตตย์ (ในปาจิตตย์ ภูตคามวรรค)

(ปี 63, 58 ,55) ภิกษุนําเก้าอี้ของสงฆ์ไปใช้ในที่แจ้ง เมื่อหลีกไปจากที่นั้น พึงปฏิบัติอย่างไร? ถ้าไม่ปฏิบัติ อย่างนั้น ต้องอาบัติอะไร?

ตอบ พึงเก็บเอง หรือใช้ให้ผู้อื่นเก็บ หรือมอบหมายแก่ผู้อื่น ต้องอาบัติปาจิตตีย์

(ปี 52) ภิกษุนําตั่งของสงฆ์ไปตั้งใช้ในที่แจ้ง จะหลีกไปสู่วัดอื่นต้องทําอย่างไรจึงจะไม่เป็นอาบัติ?

ตอบ ต้องเก็บด้วยตนเอง หรือใช้ให้ผู้อื่นเก็บ หรือมอบหมายให้ผู้อื่นจึงจะไม่เป็นอาบัติ

(ปี 44) ภิกษุนํา เตียง ตั่ง ฟูก เก้าอี้ ของสงฆ์ ไปใช้ในที่แจ้งแล้ว ครั้นหลีกไปจากที่นั้น ไม่เก็บหรือไม่มอบหมายให้ผู้อื่นเก็บให้เรียบร้อย ต้องอาบัติอะไรหรือไม่? ภิกษุเข้าบ้านในเวลาวิกาล โดยไม่บอกลาภิกษุอื่นในวัด ต้องอาบัติอะไรหรือไม่?

ตอบ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่มีกิจรีบด่วน

·        ภิกษุพรากของเขียวซึ่งเกิดอยู่กับที่ ให้หลุดจากที่ ต้องปาจิตตีย์ (ในปาจิตตีย์ ภูตคามวรรค)

(ปี 43) ภิกษุยกผักตบชวาที่ลอยอยู่ในแม่นํ้า มาไว้ในสระจะต้องอาบัติอะไร?

ตอบ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ถือการยกออกจากที่เดิมเป็นประมาณ ผักตบชวาจะตายหรือไม่ ไม่สําคัญ

·        ภิกษุฉันของเคี้ยวของฉันที่เป็นอาหารในเวลาวิกาล คือ ตั้งแต่เที่ยงแล้วไปจนถึงวันใหม่ ต้องปาจิตตีย์ (ในปาจิตตีย์ โภชนวรรค)

(ปี 53) ภิกษุ อาพาธ ได้รับคําแนะนําให้ฉันอาหารในเวลาวิกาลเพื่อช่วยให้หายป่วยเร็ว แล้วฉันตามคําแนะนํานั้น มีวินิจฉัยตามพระ วินัยอย่างไร? ตอบ มีวินิจฉัยว่า ภิกษุ ต้องอาบัติปาจิตตีย์



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น