วันพุธที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

สรุปนักธรรมชั้นตรี หน้าที่ 6/12

 


หมวด

Ø  โลกธรรม ธรรมที่ครอบงําสตวโลกอยู่ และสัตวโลกย่อมเป็นไปตามธรรมนั้น

.มีลาภ                 .ไม่มีลาภ

.มียศ                   .ไม่มียศ

.นินทา                 .สรรเสริญ

.สุข                    .ทุกข์

ในโลกธรรม ประการนี้ อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ควรพิจารณาว่า สิ่งนี้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ก็แต่ว่ามันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็น ธรรมดา ควรรตามที่เป็นจริง อย่าให้มันครอบงําจิตได้คือ อย่ายินดีในส่วนที่น่าปรารถนา อย่ายินร้ายในส่วนที่ไม่น่าปรารถนา.

(ปี 63, 55) โลกธรรม มีอะไรบ้าง? ตอบ คือ .มีลาภ .ไม่มีลาภ .มียศ .ไม่มียศ .นินทา .สรรเสริญ .สุข .ทุกข์

(ปี 59) เมื่อโลกธรรม เกิดขึ้นแก่ตน ควรพิจารณาอย่างไร?

ตอบ ควรพิจารณาว่า สิ่งนี้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา กสักแต่ว่าเกิดขึ้น มันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา เมื่อพิจารณาเห็นแล้วก็อย่า

ยินดี ในส่วนที่น่าปรารถนา และอย่ายินร้ายในส่วนที่ไม่น่าปรารถนา

(ปี 47) โลกธรรม คืออะไร? เมื่อเกิดขึ้นแล้วควรพิจารณาอย่างไร? ตอบ คือ ธรรมที่ครอบงําสตวโลกอยู่ และสตวโลกย่อมเป็นไปตามธรรมนั้นฯ ในโลกธรรม ประการนี้ อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ควรพิจารณาว่า สิ่งนี้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ก็แต่ว่ามันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็น ธรรมดา ควรรตามที่เป็นจริง อย่าให้มันครอบงําจิตได้ คืออย่ายินดีในส่วนที่ปรารถนา อย่ายินร้ายในสวนที่ไม่ปรารถนา

(ปี 44) โลกธรรมมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? ท่านสอนให้ปฏิบัติต่อโลกธรรมอย่างไร?

ตอบ มี อย่าง คือ มีลาภ ไม่มลาภ มียศ ไม่มียศ สรรเสริญ นินทา สุข ทุกข์

สอนอย่างนี้ คือในโลกธรรมทั้ง อย่างนี้ อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ควรพิจารณาว่า สิ่งนี้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา มันเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความ แปรปรวนเป็นธรรมดา ควรรตามที่เป็นจริง อย่าให้ครอบงําจิตได้ คืออย่ายินดีในส่วนที่ปรารถนา อย่ายินร้ายในส่วนที่ไม่ปรารถนา

 

Ø  มรรคมีองค์ ทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์

.สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ คือเห็นอริยสัจ (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค)

.สัมมาสังกัปปะ ดําริชอบ คือดําริจะออกจากกาม ดําริในอันไม่พยาบาท ดําริในอันไม่เบียดเบียน .

.สัมมาวาจา เจรจาชอบ คือเว้นจากวจีทุจริต (เท็จ ส่อเสียด หยาบ เพ้อเจ้อ)

.สัมมากัมมันตะ การงานชอบ คือเว้นจากกายทุจริต (ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม)

.สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีวิตชอบ คือเว้นจากความเลี้ยงชีวิตโดยทางที่ผิด

. สัมมาวายามะ เพียรชอบ คือเพียรในที่ สถาน (สัมมัปปธาน ) คือ เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้น เพียรละบาปทีเกิดขึ้นแล้ว เพียรให้กุศลเกิดขึ้น เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้ว

.สัมมาสติ ระลึกชอบ คือระลึกในสติปัฏฐาน (กาย เวทนา จิต ธรรม)

.สัมมาสมาธิ ตั้งใจไว้ชอบ คือเจริญฌาน

 

ในองค์ทั้ง นั้น, เห็นชอบ ดําริชอบ สงเคราะห์เข้าในปัญญาสิกขา. วาจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ สงเคราะห์เข้าในสีลสิกขา. เพียรชอบ ระลึกชอบ ตั้งใจไว้ชอบ สงเคราะห์เข้าในจิตตสิกขา.


(ปี 64, 60, 45) คําว่า เจรจาชอบ ในมรรคมีองค์ นั้น คือเจรจาอย่างไร?


ตอบ คือเว้นจากพูดเท็จ เว้นจากพูดส่อเสยด เว้นจากพดู

(ปี 61) สัมมากัมมันตะ ทําการงานชอบ คือทําอย่างไร ?


คําหยาบ และเว้นจากพูดเพ้อเจ้อ


ตอบ คือ ทําโดยเว้นจากกายทุจริต ได้แก่ เว้นจากการฆ่าสต

(ปี 55, 48) สัมมาวายามะ เพียรชอบ คือเพียรอย่างไร?


ว์ เว้นจากการลักทรัพย์ เว้นจากการประพฤติผดในกาม


ตอบ เพียรในที่ สถาน (สัมมัปปธาน ) คือ         .เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้น       .เพียรละบาปทีเกิดขึ้นแล้ว

.เพียรให้กุศลเกิดขึ้น             .เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้ว

(ปี 50) มรรคมีองค์แปดจัดเข้าในสิกขา ได้หรือไม่ ?  ถ้าได้จงจัดมาดู

ตอบ ได้ จัดดังนี้         สัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะ จัดเข้าในปัญญาสิกขา

สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ จัดเข้าในสีลสิกขา สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ จัดเข้าในจิตตสิกขา

(ปี 46) สัมมาสังกัปปะ ดําริชอบ คือ ดําริอย่างไร? มรรคมีองค์ ข้อใดบ้างสงเคราะห์เข้าในสีลสิกขา?

ตอบ คือ ดําริจะออกจากกาม ดําริในอันไม่พยาบาท ดําริในอันไม่เบียดเบียน ๑ ฯ วาจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีวิตชอบ สงเคราะห์เข้าในสีลสิกขา

 

หมวด

Ø  มละ คือ มลทิน

.โกธะ (โกรธ) แก้ด้วยเจริญเมตตา........ (*ข้อนี้เคยออกข้อสอบ)

.มักขะ (ลบหลู่บุญคุณท่าน) แก้ด้วยกตัญญูกตเวที........... (*ข้อนี้เคยออกข้อสอบ)

.อิสสา (ริษยา) แก้ด้วยมุทิตา

.มัจฉริยะ (ตระหนี่) แก้ด้วยทาน

.มายา (มายา หรือ มารยา) แก้ด้วย อุชุ, อาชวะ ความซื่อตรง

.สาเถยยะ (มักอวด) แก้ด้วยอัตตัญญุตา, อปจายนะ

.มุสาวาท (พูดปด) แก้ด้วยสัจจวาจา

.ปาปิจฉา (มีความปรารถนาลามก) แก้ด้วยสันโดษ, มักน้อย

.มิจฉาทิฏฐิ (เห็นผิด) แก้ด้วยสัมมาทิฏฐิ........ (*ข้อนี้เคยออกข้อสอบ)

(ปี 52, 50) มละ คืออะไร? เป็นศิษย์ได้ดีแล้วทํามึนตึงกับอาจารย์ จัดเข้าในมละอย่างไหน และควรชําระมละอย่างนั้นด้วยธรรมอะไร?

ตอบ มละคือมลทิน เป็นศิษย์ได้ดีแล้วทํามึนตึงกับอาจารย์ จัดเข้าใน มักขะ ลบหลคุณท่าน และควรชําระด้วยกตัญญูกตเวทิตา ความรู้คุณท่าน แล้วตอบแทน

(ปี 43) มละคือมลทิน หมายถึงอะไร? มลทินข้อที่ และข้อที่ คืออะไร? แก้ด้วยธรรมอะไร?

ตอบ   หมายถึงกิเลสเป็นเครื่องทําจิตให้เศร้าหมอง ไมผ่องใส

มลทินข้อที่ คือ โกรธ แก้ด้วยเจริญเมตตา และมลทินข้อที่ คือ เห็นผิด แก้ด้วยสมมาทิฏฐิ


หมวด ๑๐

Ø  ธรรมที่บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ๑๐ อย่าง

. บัดนี้ เรามีเพศต่างจากคฤหัสถ์แลว อาการกิริยาใดๆ ของสมณะ เราต้องทําอาการกิริยานั้นๆ

. การเลยงชีวิตของเราเนื่องด้วยผู้อื่น เราควรทําตัวให้เขาเลี้ยงง่าย

. อาการทางกาย วาจา อย่างอื่นที่เราจะต้องทําให้ดีขึ้นไปกว่านี้ยังมีอยู่อีก ไม่ใช่เพียงเท่านี้

. ตัวเราเองติเตียนตัวเราเองโดยศีลได้หรือไม่

. ผู้รู้ใคร่ครวญแล้วติเตียนเราโดยศีลได้หรือไม่

. เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น

. เรามีกรรมเป็นของตัว เราทําดีจักได้ดี ทําชั่วจักได้ชั่ว

. วันคืนล่วงไป บัดนี้ เราทําอะไรอยู่

. เรายินดีในที่สงัดหรือไม่

๑๐.  คุณวิเศษของเรามีอยู่หรือไม่  ที่จะทําให้เราเป็นผู้ไม่เก้อเขินในเวลาเพื่อนบรรพชิตถามในกาลภายหลัง

(ปี 56) บรรพชิตผู้พิจารณาเนือง ว่า วันคืนล่วงไป บัดนี้เราทําอะไรอยู่ จะได้รับประโยชน์อะไร?

ตอบ จะได้รับประโยชน์คือเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียร งดเว้นสิ่งที่เป็นโทษ ทําในสิ่งที่เป็นประโยชน์

 

 


Ø  นาถกรณธรรม ๑๐

. ศีล รักษากายวาจาให้เรียบร้อย.                              . ธัมมกามตา ความใคร่ในธรรมที่ชอบ.

. พาหุสัจจะ ความเป็นผไู้ ด้สดับตรับฟังมาก.                   . วิริยะ เพียรเพื่อจะละความชั่ว ประพฤติความดี.

. กัลยาณมิตตตา ความเป็นผู้มีเพื่อนดีงาม.                      . สันโดษ ยินดีด้วยผ้านุ่งผ้าห่ม อาหาร ที่นอนที่นั่งและยาตามมต

. โสวจัสสตา ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย.                        . สติ จําการที่ทํา และคําที่พูดแล้วแม้นานได้.

. กิงกรณีเยสุ ทักขตา ความขยันช่วยเอาใจใส่ในกจธุระของเพื่อนภกิ ษุสามเณร.  ๑๐. ปัญญา รอบรู้ในกองสังขารตามเป็นจริงอย่างไร.

(ปี 45) นาถกรณธรรมคืออะไร? นาถกรณธรรมข้อว่า กัลยาณมิตตตา หมายความว่าอย่างไร?

ตอบ คือธรรมทําที่พึ่ง ความเป็นผู้มีเพื่อนดีงาม ไม่คบคนชั่ว


 

 

ามได้.


 

 


 

(ปี 49) คิหิปฏิบัติ คืออะไร? หมวดธรรมต่อไปนี้ คือ

. อิทธิบาท

. สังคหวัตถุ

. อธิษฐานธรรม

. ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์

. ปาริสุทธิศีล หมวดไหนมีในคิหิปฏิบัติ ?


คิหิปฎิบัต หลักปฏิบัติของคฤหัสถ์


ตอบ คือ หลักปฏิบัติของคฤหัสถ์         ข้อ . และข้อ . มีในคิหิปฏิบัติ






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น