วันอังคารที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

สรุปนักธรรมชั้นตรี หน้าที่ 7/12









หมวด

Ø  อบายมุข คือ เหตุเครื่องฉิบหาย หรือ ทางแห่งความเสื่อม

อบายมุข มี อย่างดังนี้

.ความเป็นนักเลงหญิง    .ความเป็นนักเลงเล่นการพนัน

.ความเป็นนักเลงสุรา     .ความคบคนชั่วเป็นมิตร

อบายมุข มี อย่างดังนี้

.ดื่มนํ้าเมา                 .เล่นการพนัน

.เที่ยวกลางคืน          .คบคนชั่วเป็นมิตร

.เที่ยวดูการเล่น         .เกียจคร้านทําการงาน

 

โทษของคบคนชั่วเป็นมิตร คือ (มาจากอบายมุข และ อบายมุข )

.ทําให้เป็นนักเลงการพนัน            . ทําให้เป็นคนลวงเขาด้วยของปลอม

. ทําให้เป็นนักเลงเจ้าชู้              . ทําให้เป็นคนโกงเขาซึ่งหนา้

. ทําให้เป็นนักเลงเหล้า            . ทําให้เป็นนักเลงหัวไม้

(ปี 64, 59) การคบคนชั่วเป็นมิตร เป็นเหตุให้เกิดความเสยหายอย่างไร ?

ตอบ เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายอย่างนี้ คือการร่วมกินร่วมนอน ร่วมเที่ยว ร่วมพรรคร่วมพวก ร่วมไปมาหาสู่กับคนชั่ว มักจะถูกคนชั่วชักจูงไป ในทางชั่ว เช่น คนไม่เคยเป็นนักเลงหญิง ไม่ติดสุรา ไมเล่นการพนัน ไม่เป็นอันธพาล ก็ย่อมถูกชักจูงไปจนกลายเป็นนักเลงหญิงได้ เป็นต้น

(ปี 60) อบายมุข มีอะไรบ้าง?

ตอบ มี . ความเป็นนักเลงหญิง       . ความเป็นนักเลงสรา   . ความเป็นนักเลงเล่นการพนัน      . ความคบคนชั่วเป็นมิตร

(ปี 52) อบายมุข คืออะไร ? คบคนชั่วเป็นมิตรมีโทษอย่างไร ?

ตอบ อบายมุข คือ ทางแห่งความเสื่อม คบคนชั่วเป็นมิตรมีโทษอย่างนี้ คือ .นําให้เป็นนักเลงการพนัน  .นําให้เป็นนักเลงเจ้าชู้

.นําให้เป็นนักเลงเหล้า  .นําให้เป็นคนลวงเขาด้วยของปลอม  .นําให้เป็นคนลวงเขาซึ่งหน้า  .นําให้เป็นคนหัวไม้

 

โทษของการดื่มสุรา (มาจากอบายมุข เรื่องดื่มนํ้าเมา)

. เสยทรัพย์     . ก่อการทะเลาะวิวาท     . เกิดโรค       . ถูกติเตียน     . ไม่รู้จักอาย    . ทอนกําลังปัญญา

(ปี 64, 62, 60, 46) อบายมุข คืออะไร? ดื่มนํ้าเมามีโทษอย่างไรบ้าง?

ตอบ   คือ เหตุเครื่องฉิบหาย

มีโทษ อย่าง คือ . เสียทรัพย์ . ก่อการทะเลาะวิวาท . เกิดโรค . ถูกติเตียน . ไม่รู้จักอาย . ทอนกําลังปัญญา

(ปี 57) อบายมุข คืออะไร? ความเป็นนักเลงสราจัดเป็นอบายมุขเพราะเหตุไร?

ตอบ คือเหตุเครื่องฉิบหาย เพราะเป็นเหตุให้เสียทรัพย์ ก่อการทะเลาะวิวาท เกิดโรค ต้องติเตียน ไมรู้จักอาย ทอนกําลังปัญญา

(ปี 53) จงบอกโทษของการดื่มสรุ ามาสัก ข้อ


โทษของการเที่ยวกลางคืน (ใน อบายมุข ) (ปี 44) การเที่ยวกลางคืนมีโทษอย่างไรบ้าง?

ตอบ มีโทษ อย่างคือ . ชื่อว่าไม่รักษาตัว . ชื่อว่าไม่รักษาลกเมีย . ชื่อว่าไม่รักษาทรัพย์สมบัติ . เป็นที่ระแวงของคนทั้งหลาย

. มักถูกใส่ความ . ได้ความลาํ บากมาก

 

Ø  ธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ในปัจจุบัน เรียกว่า ทิฏฐธัมมกัตถประโยชน์

.อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่นในการประกอบกจเครื่องเลี้ยงชีวิตก็ดี  ในการศึกษาเล่าเรียนก็ดี  ในการทําธุระหน้าที่ของตนก็ดี

.อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรกั ษา คือรักษาทรัพย์ที่แสวงหามาได้ด้วยความหมั่น ไม่ให้เป็นอันตรายก็ดี รักษาการงานของตน  ไม่ให้เสื่อมเสียไปก็ดี

.กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็นคนดี ไม่คบคนชั่ว

.สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กําลังทรัพย์ที่หาได้ไม่ให้ ฝืดเคืองนัก ไม่ให้ฟูมฟายนัก

เมื่อปฏิบัตตามทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ผลที่ต้องการในปัจจุบันทันตาเห็นนี้ ได้แก่ ทรัพย์ ยศ ไมตรี เป็นต้น (ปี 62) ผู้หวังประโยชน์ปัจจุบันจะต้องปฏิบัติอย่างไรจึงจะได้สมหวัง ?

ตอบ ต้องปฏิบัติตามหลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ประการ คือ

. อุฏฐานสมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น ในการประกอบกิจการงานในการศึกษาเลาเรยนในการทําธุระหน้าที่ของตน

. อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษาทั้งทรัพย์และการงานไม่ให้เสื่อมไป

. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็นคนดี ไม่คบคนชั่ว

. สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กําลังทรัพย์ที่หาได้

(ปี 58) ธรรม ประการ ที่เป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลเพื่อสุขในปัจจุบัน เรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง ?

ตอบ เรียกว่า ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ มี        .  อุฏฐานสมปทา  ถึงพร้อมด้วยความหมั่นในการประกอบกิจอันควร

. อารักขสมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา ทั้งทรัพย์และการงานของตน ไม่ให้เสื่อมไป

. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็นคนดี ไม่คบคนชั่ว

. สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กําลังทรัพย์ที่หาได้

(ปี 52) ธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ในปัจจุบันเรียกว่าอะไร? มีอะไรบ้าง? (ปี 48) บุคคลจะได้รับประโยชน์ปัจจุบัน จะต้องปฏิบัติตามหลักธรรมอะไร? ตอบ ต้องปฏิบัติตามหลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ประการ คือ

. อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น ในการประกอบกิจการงาน ในการศึกษาเล่าเรียน ในการทําธุระหน้าที่ของตน

. อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา ทั้งทรัพย์และการงาน ไม่ให้เสื่อมไป

. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็นคนดี ไม่คบคนชั่ว

. สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กําลังทรัพย์ที่หาได้

(ปี 43) เหตุให้เกิดประโยชน์ในปัจจุบันเรียกว่าอะไร? มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? เมื่อปฏิบัติตามเหตุนั้นแล้วจะได้รับผลอะไร?

ตอบ เรียกว่าทิฏฐธัมมิกัตถะ มี อย่าง คือ . อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น . อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา

. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็นคนดี  . สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควร                  จะได้รับผล คือ ทรัพย์ ยศ ไมตรี เป็นต้นในปัจจุบัน


Ø  มิตรแท้ มี  . มิตรมีอุปการะ     . มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์     . มิตรแนะประโยชน์      . มิตรมีความรักใคร่

(ปี 63, 60, 58, 56, 45) มิตรแท้ มีกี่ประเภท ? อะไรบ้าง ?

 

มิตรมีอุปการะ มี ลักษณะ (ในเรื่องมิตรแท้)

.ป้องกันเพื่อนผู้ประมาทแล้ว                   .เมื่อมีภัย เอาเป็นที่พึ่งพํานักได้

.ป้องกันทรัพย์สมบัติของเพื่อนผประมาทแล้ว    .เมื่อมีธุระ ช่วยออกทรัพย์ให้เกินกว่าที่ออกปาก

 

มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ มี ลักษณะ (ในเรื่องมิตรแท)

.ขยายความลับของตนแก่เพื่อน                .ไม่ละทิ้งในยามวิบัติ

.ปิดความลับของเพื่อนไม่ให้แพร่งพราย         .แม้ชีวิตก็อาจสละแทนได

 

 

มิตรแนะประโยชน์ มี ลักษณะ (ในเรื่องมิตรแท)

.ห้ามไม่ให้ทําความชั่ว                           .ให้ฟังสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง

.แนะนําให้ตั้งอยู่ในความดี                    .บอกทางสวรรค์ให้

 

มิตรมีความรักใคร่ มี ลักษณะ (ในเรื่องมิตรแท)

.ทุกข์ ทุกข์ด้วย                               .โต้เถียงคนที่พูดติเตียนเพื่อน

.สุข สุขด้วย                                 .รับรองคนที่พูดสรรเสริญเพื่อน

 

Ø  มิตรเทียม หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มิตรปฏิรูป

.คนปอกลอก                               .คนหัวประจบ

.คนดีแต่พูด                                .คนชักชวนในทางฉิบหาย

 

มิตรปอกลอก มี ลักษณะ (ในเรื่องมิตรเทียม)

.คิดเอาแต่ได้ฝายเดียว                       .เมื่อมีภัยแก่ตัว จึงรับทํากิจของเพื่อน

.เสียให้น้อย คิดเอาให้ไดมาก                    .คบเพื่อนเพราะเห็นแก่ประโยชน์ของตัว

 

มิตรดีแต่พูด มี ลักษณะ (ในเรื่องมิตรเทียม)

.เก็บเอาของที่ล่วงแล้วมาปราศรัย              .สงเคราะห์ด้วยสิ่งที่หาประโยชน์มิได้

.อ้างเอาของที่ยังไม่มีมาปราศรัย               .ออกปากพึ่งมิได้

 

มิตรหัวประจบ มี ลักษณะ (ในเรองมิตรเทียม)

.จะทําชั่วก็คล้อยตาม                         .ต่อหน้าว่าสรรเสริญ

.จะทําดีก็คล้อยตาม                          .ลับหลังตั้งนินทา


มิตรชักชวนในทางฉิบหาย มี ลักษณะ (ในเรื่องมิตรเทียม)

.ชักชวนดื่มนํ้าเมา                            .ชักชวนให้มัวเมาในการเล่น

.ชักชวนเที่ยวกลางคืน                        .ชักชวนเล่นการพนัน

(ปี 54) คนชักชวนในทางฉิบหาย มีลักษณะอย่างไร?

(ปี  53)  จงจับคู่ข้อทางซ้ายมือกับข้อทางขวามือให้ถูกต้อง

. จะทําดีทําชั่ว ก็ต้องคล้อยตาม                    . มิตรดีแต่พูด

. ป้องกันเพื่อนผู้ประมาทแล้ว              . มิตรหัวประจบ ค. สงเคราะห์ด้วยสิ่งหาประโยชนมิได้           . มิตรมีความรักใคร่ . ห้ามไม่ให้ทําความชั่ว                      . มิตรมีอุปการะ

. ทุกข์ ด้วย สุข ด้วย                     . มิตรแนะประโยชน์

ตอบ   ข้อ . คู่กับ ข้อ ,      ข้อ . คู่กับ ข้อ ,     ข้อ คู่กับ ข้อ ,     ข้อ คู่กับ ข้อ ,     ข้อ คู่กับ ข้อ .

(ปี 51) ข้อว่า แม้ชีวิตก็อาจสละแทนได้ ดังนี้ เป็นลักษณะของมิตรแท้ประเภทใด ? ตอบ มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์

(ปี 49) นาย เป็นผู้ฉลาดในการเล่นพนันฟุตบอล เขาหวังให้นาย ผู้เป็นเพื่อน มีเงินทองไว้ก่อร่างสร้างตัว จึงชักชวน นาย ให้เล่นด้วย นาย จัดเข้าในประเภทมิตรแนะประโยชน์ได้หรือไม่? เพราะเหตุไร?

ตอบ ไม่ได้ เพราะ นาย กําลังชักชวนในทางฉิบหาย ผิดลักษณะมตรแนะประโยชน์

(ปี  49)  พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ปฏิบัติต่อพวกมิตรเทียมอย่างไร?

ตอบ ทรงสอนให้หลีกเลี่ยงไม่ควรคบเป็นมิตร เหมือนคนเดินทางหลีกเลี่ยงทางที่มีภัยอันตรายเสีย ฉะนั้น

(ปี 44) มิตรปฏิรูปได้แก่คนพวกไหนบ้าง? พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ปฏิบัติต่อคนพวกนี้อย่างไร?

ตอบ   ได้แก่ . คนปอกลอก . คนดีแต่พูด . คนหัวประจบ . คนชกชวนในทางฉิบหาย ทรงสอนให้หลีกเลี่ยงไม่ควรคบเป็นมิตร เหมือนคนเดินทางหลีกเลี่ยงทางที่มีภัยอันตรายเสีย ฉะนั้น

 


Ø  ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจของผอื่นไว้ได้ คือ สังคหวัตถุ

. ทาน ให้สิ่งของของตนแก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน           . อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แกผ


ู้อื่น


. ปิยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน                 . สมานัตตา ความเป็นคนมีตนสมํ่าเสมอไม่ถือตัว

(ปี 61, 56, 54, 51, 46) คุณธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนํ้าใจของผู้อื่นไว้ได้ คืออะไร? มีอะไรบ้าง?

ตอบ คือ สังคหวัตถุ มี . ทาน ให้ปันสิ่งของของตนแก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน       . ปิยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน

. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แกผู้อื่น      . สมานัตตตา ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว

 

 

Ø  สุขของคฤหัสถ์ อย่าง

. สุขเกิดแต่ความมีทรัพย์                     . สุขเกิดแต่ความไม่ต้องเป็นหนี้

. สุขเกิดแต่การจ่ายทรัพย์บริโภค               . สุขเกิดแต่ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ

(ปี 64, 62) ความสุขของผู้ครองเรือนตามหลักพระพุทธศาสนาเกิดมาจากเหตุอะไรบ้าง ?

ตอบ เกิดจากเหตุ อย่าง คือ           . สุขเกิดแต่ความมีทรัพย์             . สุขเกิดแต่การจ่ายทรัพย์บริโภค

. สุขเกิดแต่ความไม่ต้องเป็นหนี้    . สุขเกิดแต่ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ

(ปี 48) มนุษย์ทุกคนล้วนปรารถนาความสุข พระพุทธศาสนาแสดงความสุขของผู้ครองเรือนไว้อย่างไร?


ตอบ ความสุขของผู้ครองเรือน แสดงไว้ อย่าง คือ . สุขเกิดแต่ความมีทรัพย์                    . สุขเกิดแต่การจ่ายทรัพย์บริโภค

. สุขเกิดแต่ความไม่ต้องเป็นหนี้      . สุขเกิดแต่ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ

 

Ø  ความปรารถนาที่สมหมายได้ยาก อย่าง

. ขอสมบัติ จงเกิดมีแก่เราโดยทางที่ชอบ.            . ขอเราจงรักษาอายุให้ยืนนาน.

. ขอยศ จงมีแก่เรากับญาติพวกพ้อง.                . เมื่อสิ้นชีพแล้ว ขอเราจงไปบังเกิดในสวรรค์.

Ø  ธรรมเป็นเหตุให้สมหมาย อย่าง (หรือเรียกอีกหนึ่งว่า สัมปรายิกัตถประโยชน์ คือ ประโยชน์ภายหน้า อย่าง)

. สัทธาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศรัทธา                 . จาคสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการบริจาคทาน

. สีลสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศีล                     . ปัญญาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยปัญญา

(ปี 47) สมบัติ ยศ อายุยืน สวรรค์ ท่านว่าเป็นผลที่ได้สมหมายยาก บุคคลพึงบําเพ็ญธรรมอะไร จึงจะได้สมหมาย ?

ตอบ พึงบําเพ็ญธรรมเป็นเหตุให้ได้สมหมาย อย่าง คือ           . สัทธาสมปทา ถึงพร้อมด้วยศรัทธา . สีลสมปทา ถึงพร้อมด้วยศีล

. จาคสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการบริจาคทาน . ปัญญาสมปทา ถึงพร้อมด้วยปัญญา

 

Ø  ตระกูลอันมั่งคั่งจะตั้งนานไม่ได้เพราะสถาน

.ไม่แสวงหาพัสดุที่หายแล้ว                   .ไม่รู้จักประมาณในการบริโภคสมบัติ

.ไม่บูรณะพัสดุที่ครํ่าคร่า                      .ตั้งสตรีหรือบุรุษทุศีลให้เป็นแม่เรือนพ่อเรือน

(ปี 55) ตระกูลอันมั่งคั่งจะตั้งนานไม่ได้ เพราะเหตุอะไร?

ตอบ เพราะเหตุ อย่าง คือ .ไม่แสวงหาพัสดุที่หายแล้ว .ไม่บูรณะพัสดุที่ครํ่าคร่า .ไม่รู้จักประมาณในการบริโภคสมบัติ

. ตั้งสตรีหรือบุรุษทุศีลให้เป็นแม่เรือนพ่อเรือน

(ปี  43)  ตระกูลอันมั่งคั่งจะตั้งอยู่ได้นานเพราะสถานใดบ้าง?

ตอบ เพราะสถาน คือ .ไม่แสวงหาพัสดุที่หายแล้ว .ไม่บูรณะพัสดุที่ครํ่าคร่า .ไม่รู้จักประมาณในการบรโภคสมบัติ

. ตั้งสตรีหรือบุรุษทุศีลให้เป็นแม่เรือนพ่อเรือน

 

Ø  ฆราวาสธรรม ธรรมะสําหรับการอยู่ครองเรือนของคฤหัส

. สัจจะ สัตย์ซื่อต่อกัน                        . ขนติ ความอดทน

. ทมะ รู้จักข่มจิตของตน                       . จาคะ สละให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน

(ปี 61, 59, 43) ฆราวาสผู้ครองเรือนควรตั้งอยู่ในธรรมข้อใดบ้าง?

ตอบ ควรตั้งอยู่ในฆราวาสธรรม ประการ คือ . สัจจะ สัตย์ซื่อต่อกัน . ทมะ รู้จักข่มจิตของตน . ขันติ อดทน

. จาคะ สละให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน

(ปี 55) การอยู่ครองเรือนนั้น ควรมีธรรมอะไร? อะไรบ้าง?

(ปี 49) ผู้อยู่ครองเรือนควรมีธรรมของฆราวาสเป็นหลักปฏิบัติจึงจะอยู่เป็นสุข ธรรมของฆราวาสนั้นมีอะไรบ้าง ?




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น