วันพุธที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

สรุปนักธรรมชั้นตรี หน้าที่ 4/12


หมวด

Ø อนันตริยกรรม กรรมอันเป็นบาปหนักที่สุด ห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน ตั้งอยู่ในฐานปาราชิกของผู้ถือพระพุทธศาสนา ห้ามไม่ให้ทําเป็น เด็ดขาด.

. มาตุฆาต ฆ่ามารดา.                       . โลหิตุปบาท ทําร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้ห้อขึ้นไป.

. ปิตุฆาต ฆ่าบิดา.                          . สังฆเภท ยังสงฆ์ให้แตกจากกัน.

. อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์.

(ปี 62, 44) กรรมที่เป็นบาปหนักที่สุด มีชื่อเรียกว่าอะไร ? คืออะไรบ้าง ?

ตอบ มีชื่อเรียกว่า อนันตริยกรรม       คือ . มาตุฆาต ฆ่ามารดา       . ปิตุฆาต ฆ่าบิดา      . อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์

. โลหิตุปบาท ทําร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้ห้อขึ้นไป                . สังฆเภท ยังสงฆ์ให้แตกจากกัน

(ปี 58) กรรมอันเป็นบาปหนักทสด ห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน คือกรรมอะไร ? จงยกตัวอย่างสัก ข้อ

ตอบ คืออนันตริยกรรม มี (เลือกตอบเพียง ข้อ) . มาตฆาต ฆ่ามารดา              . ปิตุฆาต ฆ่าบิดา . อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์

. โลหิตุปบาท ทําร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้ห้อขึ้นไป        . สังฆเภท ยังสงฆ์ให้แตกจากกัน (ปี 47) ในพระพุทธศาสนา บุคคลผู้ฆ่ามารดาบิดา ได้ชื่อว่าเป็นผู้ทําอนันตริยกรรม จะได้รับโทษอย่างไร ? ตอบ จะได้รับโทษคือ ต้องไปสู่ทุคติ ห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน

(ปี 44) กรรมที่เป็นบาปหนักที่สุด มีชื่อเรียกว่าอะไร? คืออะไรบ้าง? เพราะเหตุไรจึงเป็นกรรมที่เป็นบาปหนักที่สุด?

ตอบ มีชื่อเรียกว่า อนันตริยกรรม คือ . มาตฆาต ฆ่ามารดา        . ปิตุฆาต ฆ่าบิดา          . อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์

. โลหิตุปบาท ทําร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้ห้อขึ้นไป        . สังฆเภท ยังสงฆ์ให้แตกจากกัน ฯ เพราะห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน ตั้งอยู่ในฐานปาราชิกของผู้นับถือพระพุทธศาสนา ห้ามไม่ให้ทําเป็นเดดขาด

 

Ø  อภิณหปัจจเวกขณ์ สิ่งที่ควรพิจารณาทุกวัน

.  ควรพิจารณาทุกวัน ว่า เรามีความแก่เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้.

ประโยชน์คือ เพื่อบรรเทาความเมาในความเป็นเด็กหรือในความเป็นหนุ่มเป็นสาว เห็นแก่ความสนุกเพลิดเพลิน ให้ตั้งใจศึกษาเล่า เรียน และทํากิจที่ควรทําในขณะที่ยังไม่แก่.

.  ควรพิจารณาทุก วันว่า เรามีความเจ็บเป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความเจ็บไปได้.

ประโยชน์คือ เพื่อบรรเทาความเมาในความไม่มีโรคภัยไข้เจ็บแล้ว รีบเร่งศึกษาเล่าเรียน และทาํ กิจที่ควรทําในขณะที่ยังไม่มีโรค.

.  ควรพิจารณาทุก วันว่า เรามีความตายเป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความตายไปได้.

ประโยชน์คือ  เพื่อบรรเทาความเมาในชีวิต  แล้วรีบเร่งทํากิจที่ควรทําให้สําเร็จก่อนที่ควรตายจะมาถึง.

. ควรพิจารณาทุก วันว่า เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น.

ประโยชน์คือ เพื่อบรรเทาความยึดมั่น ถือมั่นว่า สิ่งนั้น คนนั้น เป็นที่รักของเรา จักไม่ต้องเสียใจในเมื่อต้องพลัดพรากจริง .

.  ควรพิจารณาทุกวัน ว่า เรามีกรรมเป็นของตัว เราทําดีจักได้ดี ทําชั่วจักได้ชั่ว.

ประโยชน์คือ เพื่อบรรเทาความเห็นผิดว่า คนจะดีก็ดีเอง จะชั่วก็ชั่วเอง จะได้สุขทุกข์กไ็ ด้เอง แล้วรีบเร่งทําแต่กรรมดี งดเว้นกรรมชั่ว.

(ปี 61) สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอนให้พิจารณาเนืองๆ มีอะไรบ้าง ? ทรงให้พิจารณาอย่างไร ?

ตอบ มี ความแก่ ความเจ็บไข้ ความตาย ความพลัดพราก และกรรม

ทรงสอนให้พิจารณาว่า . เรามีความแก่เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้         . เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้

. เรามีความตายเป็นธรรมดาไม่ลวงพ้นความตายไปได้  . เราจะตองพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น


. เรามีกรรมเป็นของตัวเรา ทําดีจักได้ดีทําชั่วจักได้ชั่ว

(ปี 56) อภิณหปัจจเวกขณ์ คือข้อที่ควรพิจารณาเนือง อย่าง ทรงสอนให้พิจารณาอะไรบ้าง?

ตอบ ทรงสอนให้พิจารณา  . ความแก่ ว่าเรามีความแก่เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้

. ความเจ็บไข้ ว่าเรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้

. ความตาย ว่าเรามีความตายเป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความตายไปได้

. ความพลดพราก ว่าเราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น

. กรรม ว่าเรามีกรรมเป็นของตัวเราทําดีจักได้ดีทําชั่วจักได้ชั่วฯ

(ปี 54) อภิณหปัจจเวกขณ์ข้อว่า ควรพิจารณาทุกๆ วันว่า เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น ดังนี้ ผู้พิจารณาได้รับประโยชน์ อย่างไร? ตอบ ประโยชน์คือ ช่วยบรรเทาความพอใจรักใคร่ในของรักของชอบใจและป้องกันความทุกข์โทมนัส ในเวลาเมื่อตนต้องพลัดพรากจาก ของรักของชอบใจ

(ปี 50) ควรพิจารณาทุก วันว่า เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น ข้อความนี้อยู่ในหมวดธรรมอะไร? ท่านให้พิจารณาอย่างนี้ เพื่ออะไร? ตอบ อยู่ในธรรมหมวดอภิณหปัจจเวกขณ์ เพื่อบรรเทาความยึดมั่นถือมั่นว่า สิ่งนั้น คนนั้น เป็นที่รักของเรา จักไม่ต้องเสียใจใน เมื่อต้องพลัดพรากจากสิ่งนั้น คนนั้น จริง

(ปี 46) จงอธิบายความหมายของคําต่อไปนี้ ?  . ปัจจยปัจจเวกขณะ . อภิณหปัจจเวกขณะ

ตอบ .ปัจจยปัจจเวกขณะ คือ พิจารณาเสียก่อนจึงบริโภคปัจจัย คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และเภสัช ไม่บริโภคด้วยตัณหา

.อภิณหปัจจเวกขณะ คือ พิจารณาทุก วันว่า เรามความแก่ มีความเจ็บมีความตายเป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความแก่ เจ็บ ตายไปได้ เราต้อง พลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น เรามีกรรมเป็นของ ตน เราทําดี จักได้ดี ทําชั่ว จักได้ชั่ว

 

Ø  องค์แห่งพระธรรมกถึก คุณสมบัติของนักเทศน์

(ปี 57) การจะเป็นนักเทศก์ที่ดีจะต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง? จงตอบมาสัก ข้อ

ตอบ   . แสดงธรรมโดยลําดับ ไม่ตดลดให้ขาดความ                   . ไม่แสดงธรรมเพราะเห็นแก่ลาภ


. อ้างเหตผ


ลแนะนําให้ผู้ฟังเข้าใจ                   . ไม่แสดงธรรมกระทบตนและผอื่น คือไม่ยกตนเสียดสผ


ู้อื่น


. ตั้งจิตเมตตาปรารถนาให้เป็นประโยชน์แก่ผู้ฟัง

(เลือกตอบเพียง ข้อ)

 

Ø  อานิสงส์แห่งการฟังธรรม อย่าง (ปี 58) อานิสงส์แห่งการฟังธรรม มีอะไรบ้าง ?

ตอบ มี . ผู้ฟังธรรมย่อมได้ฟังสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง                   . ทําความเห็นให้ถูกต้องได้

. สิ่งใดได้เคยฟังแล้ว แต่ไม่เข้าใจชัด ย่อมเข้าใจสิ่งนั้นชัด  . จิตของผู้ฟังย่อมผ่องใส

. บรรเทาความสงสัยเสียได้

 

Ø  พละ ธรรมเป็นกําลัง อย่าง (หรือ จะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อินทรีย์ เพราะเป็นใหญ่ในกิจของตน)

. สัทธา ความเชื่อ        . สมาธิ ความตั้งใจมั่น

. วิริยะ ความเพียร       . ปัญญา ความรอบรู้

. สติ ความระลึกได้


(ปี 52) ธรรมเป็นกําลัง อย่าง คืออะไรบ้าง? ธรรม อย่างนั้น เรียกว่าอินทรีย์ เพราะเหตุไร?

ตอบ ธรรมเป็นกําลัง อย่าง คือ . สัทธา ความเชื่อ . วิริยะ ความเพียร . สติ ความระลึกได้ . สมาธิ         ความตั้งใจมั่น

. ปัญญา ความรอบรู้      ธรรม อย่างนั้น เรียกว่าอินทรีย์ เพราะเป็นใหญ่ในกิจของตน

 

Ø  นิวรณ์ ธรรมอันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี

. กามฉันทะ พอใจรักใคร่อารมณ์ที่ชอบใจ มีรูป เป็นต้น                 . อุทธัจจกุกกุจจะ ฟุ้งซ่านและราคาญ

. พยาบาท ปองร้ายผู้อื่น                                      . วิจิกิจฉา ลังเลไม่ตกลงได้

. ถีนมิทธะ ความที่จิตหดหู่และเคลิบเคลิ้ม

(ปี 60, 50) ธรรมอันเป็นเครื่องกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี คืออะไร? มีอะไรบ้าง?

ตอบ คือ นิวรณ์ มี . กามฉันท์ พอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจมีรูปเป็นต้น . พยาบาท ปองร้ายผู้อื่น

. ถีนมิทธะ ความที่จิตหดหู่และเคลิบเคลิ้ม  . อุทธัจจกุกกุจจะ ฟุ้งซ่านและราคาญ  . วิจิกิจฉา ลังเลไม่ตกลงใจ

(ปี 56) จงให้ความหมายของคําว่า กามฉันท์ ตอบ หมายถึง ความพอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจมีรูปเป็นต้น

(ปี 55) คิดอย่างไรเรยกว่าพยาบาท? คิดอย่างนั้นเกิดโทษอะไร? ตอบ คิดปองร้ายผู้อื่นฯ เกิดโทษคือปิดกั้นจิตใจไม่ให้บรรลุความดีฯ

(ปี 49) อุทธัจจกุกกุจจะ คือความฟุ้งซ่านและรําคาญ จัดเข้าในขันธ์ไหนในขันธ์ ? เพราะเหตุไร?

ตอบ จัดเข้าในสังขารขันธ์ เพราะความฟุ้งซ่านและรําคาญ เป็นเจตสิกธรรมที่เกิดขึ้นกับใจ

(ปี 47) ธรรมอันกั้นจิตไม่ให้บรรลความดี เรยกว่าอะไร? ความดีที่ถูกกั้นไว้ไม่ให้บรรลุ หมายถึง ความดีอย่างไหน?

ตอบ เรียกว่า นิวรณ์   หมายถึงความดีทุกๆ อย่าง  ความดีที่ถูกกั้นไว้ไม่ให้บรรลุแต่เมื่อกล่าวโดยตรง ได้แก่สมาธิ คือการทําจิตใจให้สงบ

 

Ø  ขันธ์ " ขันธ์ " แปลว่า " กอง " คือ กายกับใจ

. รูป ธาตุ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม มาประชุมกันเป็นกายนี้

. เวทนา ความเสวยอารมณ์ สุข ทุกข์ เฉยๆ

. สัญญา ความจําได้หมายรู้

.  สังขาร สิ่งที่ปัจจัยปรุงแต่ง หรือ ความคิด (คิดปรุง คิดดีบ้าง คิดชั่วบ้าง คิดไม่ดีไม่ชั่วบ้าง ความคิดปรุงแต่งจิต ให้มีอาการต่าง )

. วิญญาณ ความรู้แจ้งอารมณ์ ในเวลาเมื่อรูปมากระทบตาเป็นต้น

ขันธ์ นี้ เรียกโดยย่อว่า นามรูป. เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ รวมเข้าเป็นนาม, รูปคงเป็นรูป.

(ปี 63) ขันธ์ ได้แก่อะไรบ้าง ? สังขารขันธ์จัดเป็นรูปหรือนาม ?

ตอบ ได้แก่ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ฯ              จัดเป็นนามฯ

(ปี 59) กายกับใจของเรานี้แบ่งออกเป็นกี่กอง ? อะไรบ้าง ?

ตอบ แบ่งออกเป็น กอง คือ . กองรูป       . กองเวทนา     . กองสัญญา    .กองสังขาร    . กองวิญญาณ

(ปี 56) ขันธ์ ได้แก่อะไรบ้าง ? ย่อเป็น อย่างไร?

ตอบ   ได้แก่ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์

อย่างนี้คือ รูปขันธ์ คงเป็นรูป เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ขันธ์นี้เป็นนาม

(ปี 51, 48) ขันธ์ ได้แก่อะไรบ้าง? โดยย่อเรียกว่าอะไร? ตอบ ขันธ์ ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ โดยย่อเรียกว่า นามรูป






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น