หมวด ๔
Ø
วุฑฒิ ๔ ธรรมเป็นเครื่องเจรญ
๔ อย่าง
๑. สัปปุริสสังเสวะ คบสัตบุรุษ ๓. โยนิโสมนสิการ
ตรตรองให้รู้จักสิ่งที่ดีหรือชั่วโดยอุบายที่ชอบ
๒. สัทธัมมัสสวนะ ฟังคําสั่งสอนของท่านโดยเคารพ ๔. ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรมซึ่งได้ตรองเห็นแล้ว
(ปี 45) บุคคลผู้หวังความเจริญ ควรตั้งอยู่ในธรรมอะไร? มีอะไรบ้าง?
ตอบ ควรตั้งอยู่ในวุฑฒิธรรม ฯ มี ๑. คบสัตบุรุษ ๒. ฟังคําสั่งสอนของท่านโดยเคารพ ๓. ตริตรองให้รู้จักสิ่งที่ดีหรือชั่วโดยอุบายที่ชอบ
๔. ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรมซึ่งได้ตรองเห็นแล้ว ฯ
Ø จักร
๔ ธรรมเป็นดุจล้อรถนําไปสความเจริญ.
๑. ปฏิรูปเทสวาสะ อยู่ในประเทศอันสมควร ๓. อัตตสัมมาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ
๒. สัปปุริสูปัสสยะ คบสัตบุรุษ ๔. ปุพเพกตปุญญตา ความเป็นผไู้ ด้ทําความดีไว้ในปางก่อน
(ปี 58, 46) ธรรมดุจล้อรถนําไปสู่ความเจริญ เรยกว่าอะไร ? จงบอกมาสัก ๒ ข้อ
ตอบ เรียกว่า จักร ฯ ได้แก่ (เลือกตอบเพียง ๒ ข้อ)
๑. ปฏิรูปเทสวาสะ อยู่ในประเทศอันสมควร ๒. สัปปุริสูปัสสยะ คบสัตบุรุษ
๓. อัตตสัมมาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ ๔. ปุพเพกตปุญญตา ความเป็นผู้ได้ทําความดีไว้ในปางก่อน ฯ
(ปี 55, 46) ปุพเพกตปุญญตา หมายความว่าอย่างไร? ตอบ ปุพเพกตปุญญตา หมายถึง ความเป็นผไู้ ด้ทําความดีไว้ในปางก่อน
(ปี 48) ธรรม ๔ อย่าง ดุจล้อรถนําไปสู่ความเจริญ ข้อว่า “คบสัตบุรุษ คือคนดี” นั้น จะนําไปสู่ความเจรญได้อย่างไร?
ตอบ เมื่อคบสัตบุรุษแล้วย่อมเป็นเหตุให้คิดดีพูดดีทําดี อันก่อให้เกิดความสุขความเจริญ ทั้งแก่ตนเองและผู้อื่น พ้นจากความทุกข์ความเดือดร้อน ทั้งยังให้ถึงความเจริญอย่างที่สุดคือพระนิพพานได้ ฯ
(ปี 43) หลักธรรมดุจล้อรถนําไปสความเจริญ มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?
ตอบ มี
๔ อย่างคือ ๑. ปฏิรูปเทสวาสะ อยู่ในประเทศอันสมควร ๒. สัปปุริสูปัสสยะ คบสัตบุรุษ
๓. อัตตสมมาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ ๔. ปุพเพกตปุญญตา ความเป็นผู้ได้ทําความดีไว้ในปางก่อน
Ø
อคติ ๔ ความประพฤติที่ผิดด้วยความลําเอียง ด้วยความไม่เที่ยงธรรม
๑. ฉันทาคติ ลําเอียงเพราะรักใคร่กัน ๓. โมหาคติ ลําเอียงเพราะโง่เขลา
๒. โทสาคติ ลําเอียงเพราะไม่ชอบกัน ๔. ภยาคติ ลําเอียงเพราะกลัว
(ปี 58) บุคคลผู้รักษาความยุติธรรมไว้ได้ ควรเว้นจากธรรมอะไร? ธรรมนั้นมีอะไรบ้าง?
ตอบ ควรเว้นจากอคติ ๔ ฯ มี ๑. ความลําเอียงเพราะรักใคร่กัน เรียกว่า ฉันทาคติ ๒. ความลําเอียงเพราะไม่ชอบกัน เรียกว่า โทสาคติ
๓. ความลําเอียงเพราะเขลา เรียกว่า โมหาคติ ๔. ความลําเอียงเพราะกลัว เรียกว่า ภยาคติ ฯ
(ปี 55) ผู้จะดํารงความยุติธรรมไว้ได้ ต้องประพฤติอย่างไรบ้าง? |
|||
ตอบ ต้องประพฤติดังนี้ |
๑. ไม่ลําเอียงเพราะรักใคร่กัน อันเรียกว่า ฉันทาคติ |
๒. ไม่ลําเอียงเพราะไม่ชอบกัน อันเรียกว่า โทสาคติ |
|
|
๓.ไม่ลําเอียงเพราะเขลา อันเรียกว่า โมหาคติ |
๔.ไม่ลําเอียงเพราะกลัว อันเรยกว่า ภยาคติ ฯ |
|
(ปี 51) ธรรมหมวดหนึ่ง เป็นเหตุให้ผู้ประพฤติขาดความเที่ยงธรรมชื่อว่าอะไร? มีอะไรบ้าง? |
|||
ตอบ ชื่อว่า อคติ ความลําเอียง ฯ มี |
๑. ฉันทาคติ ลําเอียงเพราะรักใคร่กัน |
๒. โทสาคติ ลําเอียงเพราะไม่ชอบกัน |
|
|
๓. โมหาคติ ลาเอียงเพราะเขลา |
๔. ภยาคติ ลําเอียงเพราะกลัว ฯ |
|
Ø
อันตรายของภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ ๔ อย่าง
๑. อดทนต่อคําสั่งสอนไม่ได้ คือเบื่อต่อคําสั่งสอนขี้เกียจทําตาม. ๓. เพลดเพลินในกามคุณ ทะยานอยากไดส
๒. เป็นคนเห็นแก่ปากแก่ท้อง ทนความอดอยากไม่ได้. ๔. รักผหญิง.
(ปี 59) ภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ควรเว้นอันตราย ๔ อย่าง คืออะไรบ้าง ?
ตอบ ควรเว้นอันตราย ๔ อย่าง
คือ ๑. อดทนต่อคําสอนไม่ได้ คือเบื่อหน่ายต่อคําสั่งสอน ขี้เกียจทําตาม
ุขยิ่ง ๆ ขึ้นไป.
๒. เป็นคนเห็นแก่ปากแก่ท้อง ทนต่อความอยากไม่ได้ ๓. เพลิดเพลินในกามคุณ ทะยานอยากได้สขยิ่งๆ ขึ้นไป ๔. รักผู้หญิง ฯ
(ปี 43) อันตรายของภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ ข้อไหนเป็นอันตรายที่สุด? เพราะเหตุไร?
ตอบ ข้อ ๓ คือ เพลิดเพลินในกามคุณ ทะยานอยากได้สุขยิ่ง ๆ ขึ้นไป เป็นอันตรายที่สุด เพราะอันตรายข้ออื่น ๆ ย่อมรวมลงในกามคุณทั้งสิ้น
Ø ปธาน คือความเพียร ๔ อย่าง หรอเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สัมมัปปธาน ๔
๑. สังวรปธาน เพียรระวังมิให้ปาปเกิดขึ้นในสันดาน. ๓. ภาวนาปธาน เพียรให้กุศลเกิดขึ้นในสันดาน.
๒.
ปหานปธาน เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว. ๔. อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อม. ความเพียร ๔ อย่างนี้ เป็นความเพียรชอบ ควรประกอบให้มีในตน.
(ปี 49) ปธานคือความเพียร ๔ มีอะไรบ้าง? งดเหล้าเข้าพรรษาอนุโลมเข้าในปธานข้อไหน?
ตอบ มี ๑.สังวรปธาน เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในสันดาน ๒.ปหานปธาน เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว
๓.ภาวนาปธาน เพียรให้กุศลเกิดขึ้นในสันดาน ๔.อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้วมิให้เสื่อม ฯ งดเหล้าเข้าพรรษาอนุโลมเข้าในปหานปธาน ฯ
(ปี 46) เพียรระวังตนให้ห่างไกลจากสิ่งเสพติด จัดเข้าในปธานข้อไหน? ตอบ จัดเข้าในสังวรปธาน ฯ
(ปี 44) คนเสพยาเสพย์ติด เพียรพยายามจะเลิกให้ได้ ชื่อว่าตั้งอยู่ในปธานข้อไหน? ตอบ ตั้งอยู่ในปหานปธาน
Ø อธิษฐานธรรม ๔ คือ ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อย่าง
(ปี 43) อธิษฐานธรรมคือธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?
ตอบ ๑. ปัญญา
รอบรู้สิ่งที่ควรรู้. ๓. จาคะ สละสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความจริงใจ.
๒. สัจจะ ความจริงใจ คือประพฤติสิ่งใดก็ให้ได้จริง. ๔. อุปสมะ สงบใจจากสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความสงบ.
Ø อิทธิบาท ๔ คุณธรรมเครื่องให้สําเร็จความประสงค์
๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น ๓. จิตตะ
เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้น ไม่วางธุระ
๒. วิริยะ เพียรประกอบสิ่งนั้น ๔. วิมังสา หมั่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนั้น
(ปี
62,
60,
43)
ผู้ที่ทํางานไม่สําเร็จผลตามที่มุ่งหมายเพราะขาดคุณธรรมอะไรบ้าง?
ตอบ เพราะขาดอิทธิบาท คือ คุณเครื่องให้สําเร็จความประสงค์ ๔ อย่าง คือ ๑. ฉันทะ
พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น
๒. วิริยะ
เพียรประกอบสิ่งนั้น ๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้นไมวางธุระ ๔. วิมังสา
หมั่นตรตรองพิจารณาเหตผ
(ปี 57) คุณธรรมเครื่องให้สําเร็จความประสงค์ คืออะไร? มีอะไรบ้าง?
ลในสิ่งนั้น
ตอบ คืออิทธิบาท ๔ ฯ มี ๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น ๒. วิริยะ
เพียรประกอบสิ่งนั้น ๓. จิตตะ
เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้นไม่วางธุระ
๔. วิมังสา
หมั่นตรตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนั้น ฯ
(ปี 53) นักเรียนผู้ต้องการจะเรียนหนังสือให้ได้ผลดี จะนําอิทธิบาทมาใช้อย่างไร?
ตอบ ในเบื้องต้น ต้องสร้างฉันทะคือความพอใจในการศึกษาเลาเรยนก่อน เมื่อมีความพอใจ จะเป็นเหตุให้ขยันศึกษาหาความรู้ที่เรียกว่าวิริยะ และ
เกิดความใฝ่ใจใครรสิ่งต่างๆ มากขึ้น ที่เรียกว่าจิตตะ เมื่อเรียนรู้แล้วก็ต้องนําความรู้นั้นมาใคร่ครวญพิจารณาให้เข้าใจเหตุและผลอย่างถูกต้องที่
เรียกว่าวิมังสา ดังนี้ก็จะประสบผลสําเรจในการศึกษาเล่าเรียนได้ ฯ
(ปี
45) ผู้ประกอบกิจการงานสําเร็จตามความประสงค์เพราะประพฤติธรรมอะไร? มีอะไรบ้าง?
ตอบ เพราะประพฤติอิทธิบาท ๔ มี ๑. ฉันทะ
พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น ๒. วิริยะ เพียรประกอบสิ่งนั้น
๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้น ไม่วางธุระ ๔. วิมังสา หมั่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนั้น ฯ
Ø ปาริสุทธิศีล ๔ ข้อปฏิบัติที่ทําให้ศีลบริสุทธิ์
๑. ปาติโมกขสังวร สํารวมในพระปาติโมกข์ เว้นข้อที่พระพุทธเจ้าห้าม ทําตามข้อที่พระองค์ทรงอนุญาต.
๒. อินทรียสังวร สํารวมอินทรีย์ ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้ยินดียินร้าย ในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส กายสัมผัส รู้ธรรมารมณ์.
๓. อาชีวปาริสุทธิ เลี้ยงชีวิตโดยทางที่ชอบ ไม่หลอกลวงเขาเลี้ยงชีวิต.
๔. ปัจจยปัจจเวกขณะ พิจารณาเสียก่อนจึงบริโภคปัจจัย ๔ คือ จีวร
บิณฑบาต เสนาสนะ และเภสัช ไมบริโภคด้วยตณ
(ปี 56) จงให้ความหมายของคําว่า อินทรียสังวร ตอบ หมายถึง ความสํารวมอินทรีย์
(ปี 55) การสํารวมอินทรีย์ ได้แก่การกระทําอย่างไร? เมื่อกระทําเช่นนั้นแล้วจะได้รับประโยชน์อะไร?
หา.
ตอบ การสํารวมอินทรีย์ ๖
คือ ตา
หู จมูก
ลิ้น กาย
ใจ ไม่ให้ยินดี ยินร้าย เมื่อเห็นรูป ได้ยินเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส กายสัมผัส รู้ธรรมารมณ์ ฯ ได้ประโยชน์ คือ ไมเกิดความยินดี ไม่เกิดความยินร้าย ในเวลาเห็นรูป ได้ยินเสียง เป็นต้น ฯ
(ปี 51) อินทรียสังวร คือสํารวมอินทรีย์ อินทรีย์ได้แก่อะไรบ้าง ? ตอบ อินทรีย์ ได้แก่ ตา
หู จมูก
ลน กาย
ใจ ฯ
(ปี 50) ภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่จะต้องมีอินทรียสังวร คือสํารวมอินทรีย์ สํารวมอินทรีย์นั้น คืออย่างไร ?
ตอบ สํารวมอินทรีย์ คือระวังตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้ความยินดียินร้ายครอบงําได้ ในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส ถูกต้องโผฏฐัพพะ รู้ธรรมารมณ์ ฯ
(ปี 48) ปัจจยปัจจเวกขณะ หมายความว่าอย่างไร?
ตอบ หมายความว่า พิจารณา(ถึงคุณและโทษของปัจจัย๔)ก่อน จึงบริโภคปัจจัย๔ คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และเภสัช ไม่บริโภคด้วยตณ
(ปี 46) จงอธิบายความหมายของคําต่อไปนี้ ? ก. ปัจจยปัจจเวกขณะ ข. อภิณหปัจจเวกขณะ
ตอบ ก. ปัจจยปัจจเวกขณะคือพิจารณาเสยก่อนจึงบริโภคปัจจัย ๔ คือ จีวร
บิณฑบาต เสนาสนะ และเภสัช ไม่บริโภคด้วยตัณหา ฯ
หา ฯ
ข. อภิณหปัจจเวกขณะคือพิจารณาทุก ๆ
วันว่า เรามความแก่ มีความเจ็บมีความตายเป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความแก่ เจ็บ ตายไปได้ เราต้อง พลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น เรามีกรรมเป็นของ ๆ ตน เราทําดี
จักได้ดี ทําชั่ว จักได้ชั่ว ฯ
Ø
พรหมวิหาร ๔ ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของท่านผู้ใหญ่
๑. เมตตา ความรักใคร่ ปรารถนาจะให้เป็นสุข. ๓. มุทิตา ความพลอยยินดี เมื่อผอื่นได้ดี.
๒. กรุณา ความสงสาร คิดจะช่วยให้พ้นทุกข์. ๔. อุเบกขา ความวางเฉย ไมดีใจ ไม่เสียใจ เมื่อผู้อื่นถึงความวิบัติ. (ปี 64, 57) เมื่อเพื่อนร่วมงานได้เลื่อนตําแหน่ง ไม่คิดริษยา พลอยยินดีกับเขาด้วย ชื่อว่าปฏิบัติตามพรหมวิหารธรรมข้อใด? ตอบ มุทิตา ฯ (ปี 53) พรหมวิหาร ๔ มีอะไรบ้าง? ตอบ
มี เมตตา
กรุณา มุทิตา อุเบกขา ฯ
Ø ธาตุกัมมัฏฐาน ๔ การกําหนดพิจารณาร่างกายที่ประกอบด้วยธาตุ ๔ คือ
๑. ปฐวีธาตุ ธาตุดิน ๒. อาโปธาตุ ธาตุนํ้า ๓. เตโชธาตุ ธาตุไฟ ๔. วาโยธาตุ ธาตุลม
(ปี
63) ธาตุ ๔ คืออะไรบ้าง ? ฟันจัดเป็นธาตุอะไร ? ตอบ คือ ธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุไฟ ธาตุลมฯ เป็นธาตุดินฯ
(ปี 51) ธาตุ ๔ มีธาตุอะไรบ้าง? ธาตุมีลักษณะแข้นแข็ง คือธาตุอะไร?
ตอบ ธาตุ ๔ คือ ธาตุดิน ธาตุนํ้า ธาตุไฟ ธาตุลม ฯ ธาตุมีลักษณะแข้นแข็ง คือ
ธาตุดิน ฯ
(ปี 46) ธาตุกัมมัฏฐาน มีอะไรบ้าง? กําหนดพิจารณาอย่างไร เรียกว่า ธาตุกัมมัฏฐาน? ตอบ
มี ๔ คือ ธาตุดิน ธาตุนํ้า ธาตุไฟ ธาตุลม ฯ
กําหนดพิจารณากายนี้ ให้เห็นว่าเป็นแต่เพียงธาตุ ๔ คือ ดิน
นํ้า ไฟ ลม ประชุมกันอยู่ ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เรียกว่า ธาตุกัมมัฏฐาน ฯ
Ø
อริยสัจ ๔ ความจริงอันประเสริฐ
๑. ทุกข์ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ ๓. นิโรธ ความดับทุกข์
๒.
สมุทัย เหตุให้ทุกข์เกิด คือ ตัณหา (ความทะยานอยาก) ๔. มรรค ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ คือ มรรคมีองค์ ๘
·
ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ได้ชอว่าทุกข์ เพราะเป็นของทนได้ยาก.
·
ตัณหา คือความทะยานอยาก ได้ชื่อว่าสมุทัย เพราะเป็นเหตุให้ทุกข์เกิด.
·
ตัณหานั้น มี ๓ ประเภท คือ ความอยากในอารมณ์ที่น่ารักใคร่ เรียกว่า กามตัณหา
ความอยากเป็นโน่นเป็นนี่ เรยกว่า
ภวตัณหา
ความอยากไม่เป็นโน่นเป็นนี่ เรียกว่า
วิภวตัณหา
·
ความดับตัณหาได้สิ้นเชิง ทุกข์ดับไปหมด ได้ชื่อว่านิโรธ เพราะเป็นความดับทุกข์.
· ปัญญาอันเห็นชอบว่า สิ่งนี้ทุกข์ สงิ่ นี้เหตุให้ทุกข์เกิด สิ่งนี้ความดับทุกข์ สิ่งนี้ทางให้ถึงความดับทุกข์ ได้ชื่อว่า มรรค เพราะเป็นข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์.
· มรรคนั้นมีองค์ ๘ ประการ คือ ปัญญาอันเห็นชอบ ๑ ดําริชอบ ๑ เจรจาชอบ ๑ การงานชอบ ๑ เลี้ยงชีวิตชอบ ๑ เพียรชอบ ๑ ตั้งสติชอบ ๑ ตั้งใจชอบ ๑. [หมายเหตุ ปัญญาอันเ👉็นชอบ เรานิยมพูดสั้นๆ ว่า “ความเ👉็นชอบ”]
(ปี 64,61) อริยสัจ ๔ มีอะไรบ้าง ? ความไม่สบายกายไม่สบายใจ จัดเป็นอริยสัจ ข้อไหน ?
ตอบ มี ๑. ทุกข์ ๒. สมุทัย คือเหตุให้เกิดทุกข์ ๓. นิโรธ
คือความดับทุกข์ ๔. มรรค คือข้อปฏิบัตให้ถึงความดับทุกข์ ฯ จัดเป็นทุกข์ ฯ
(ปี 57, 56) เหตุให้เกิดทุกข์ในอริยสัจ ๔ คืออะไร? ตอบ คือตัณหา ความทะยานอยาก ฯ
(ปี 54, 45) ทุกข์ในอริยสัจ ๔ คืออะไร? เหตุให้เกิดทุกข์คืออะไร?
ตอบ ทุกข์ คือ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ เหตุให้เกิดทุกข์คือ ตัณหา (ความทะยานอยาก)
(ปี 52) ปัญญาอันเห็นชอบอย่างไร จึงชื่อว่ามรรคในอริยสัจ ๔? เพราะเหตุไร?
ตอบ ปัญญาอันเห็นชอบว่าสิ่งนี้ทุกข์ สิ่งนี้เหตุให้ทุกข์เกิด สิ่งนี้ความดับทุกข์ สิ่งนี้ทางให้ถึงความดับทุกข์ ได้ชื่อว่ามรรค ฯ เพราะเป็นข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ฯ
(ปี 44) อริยสจ ๔ มีอะไรบ้าง? ปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้สมหวัง จัดเป็นอริยสัจข้อไหน ?
ตอบ มี ๑. ทุกข์ ๒. สมุทัย คือ
เหตุให้ทุกข์เกิด ๓. นิโรธ คือ ความดับทุกข์ ๔. มรรค คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ฯ จัดเป็นทุกข์ ฯ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น