วันศุกร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2567

สรุปนักธรรมตรี รวมหน้า

 สรุปนักธรรมตรี  หน้า 1 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/1.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า  2 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/2.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 3 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/3.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 4 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/4.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 5 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/5.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 6 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/6.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 7 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/7.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 8 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/8.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า  9 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/9.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 10 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/10.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 11 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/11.html

สรุปนักธรรมตรี  หน้า 12 https://educationdhamma.blogspot.com/2024/02/12.html



วันพฤหัสบดีที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

สรุปนักธรรมชั้นเอก หน้าที่ 10/10

 









() เจ้าคณะอําเภอ

() เจ้าคณะตําบล

เมื่อมหาเถรสมาคมเห็นสมควรจะจัดให้มีรองเจ้าคณะภาค รองเจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะอําเภอ และ รองเจ้าคณะตําบล เป็นผู้ช่วยเจ้าคณะนั้น ๆ ก็ได้

 

มาตรา ๒๓ การแต่งตั้ง ถอดถอนพระอุปัชฌาย์ เจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาส พระภิกษุอันเกี่ยวกับตําแหน่งปกครอง คณะสงฆ์ ตําแหน่งอื่น และไวยาวัจกร ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กําหนดในกฎมหาเถรสมาคม

 

หมวด นิคหกรรมและการสละสมณเพศ

มาตรา ๒๔ พระภิกษุจะต้องรับนิคหกรรมก็ต่อเมื่อกระทําการล่วงละเมิดพระธรรมวินัยและ นิคหกรรม ที่จะลงแก่พระภิกษุก็ต้องเป็นนิคหกรรม ตามพระธรรมวินัย

 

มาตรา ๒๕ ภาย ใต้บังคับมาตรา ๒๔ มหาเถรสมาคมมีอํานาจตรากฎมหาเถรสมาคม กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการปฏิบัติ เพื่อให้การลง นิคหกรรมเป็นไปโดยถูกต้อง สะดวก รวดเร็วและเป็นธรรม และให้ถือว่า เป็นการชอบด้วยกฎหมายที่มหาเถรสมาคมจะกําหนดในกฎมหาเถร สมาคมให้มหาเถรสมาคม หรือ พระภิกษุผู้ปกครองสงฆ์ตําแหน่งใดเป็นผู้มีอํานาจลงนิคหกรรมแก่พระภิกษุผู้ล่วง ละเมิดพระธรรมวินัยกับทั้ง การ กําหนดให้การวินิจฉัยการลงนิคหกรรมให้เป็นอันยุติในชั้นใด นั้นด้วย

 

มาตรา ๒๖ พระภิกษุรูปใดล่วงละเมิดพระธรรมวินัย และได้มีคําวินิจฉัยถึงที่สุด ให้ได้รับนิคหกรรม ถ้าให้สึก ต้องสึกภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่เวลา ที่ได้ทราบคําวินิจฉัยนั้น

 

มาตรา ๒๗ เมื่อพระภิกษุรูปใดต้องด้วยกรณีข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้

() ต้องคําวินิจฉัยตามมาตรา ๒๕ ให้รับนิคหกรรมไม่ถึงให้สึก แต่ไม่ยอมรับนิคหกรรมนั้น

() ประพฤติล่วงละเมิดพระธรรมวินัยเป็นอาจิณ

() ไม่สังกัดอยู่ในวัดใดวัดหนึ่ง

() ไม่มีวัดเป็นที่อยู่เป็นหลักแหลง่

ให้พระภิกษุรูปนั้นสละสมณเพศตามหลักเกณฑ์  และวิธีการกําหนดในกฎมหาเถรสมาคม

พระภิกษุผต้องคําวินิจฉัยให้สละสมณเพศตามวรรคสอง  ต้องสึกภายในสามวันนับแต่วันที่ได้รับทราบคําวินิจฉัยนั้น

 

มาตรา ๒๘ พระภิกษุรูปใดต้องคําพิพากษาถึงที่สุดให้เป็นบุคคลล้มละลาย ต้องสึกภายในสามวันนับแต่ วันที่คดีถึงที่สุด

 

มาตรา ๒๙ พระภิกษุรูปใดถูกจับโดยต้องหาว่ากระทําความผิดอาญา เมื่อพนักงานสอบสวนหรือพนักงาน- อัยการไม่เห็นสมควรให้ปล่อยชั่วคราว และเจ้าอาวาสแห่งวัดที่พระภิกษุรูปนั้นสังกัดไม่รับมอบตัวไว้ควบคุม หรือพนักงานสอบสวนไม่เห็นสมควรให้เจ้าอาวาสรับตัวไปควบคุม หรือ พระภิกษุรูปนั้นมิได้สังกัดในวัดใด วัดหนึ่ง ให้พนักงานสอบสวนมีอํานาจจัดดําเนินการให้พระภิกษรูปนั้นสละสมณเพศเสียได้


มาตรา ๓๐ เมื่อจะต้องจําคุก กักขัง หรือขังพระภิกษุรูปใดตามคําพิพากษา หรือคําสั่งของศาลให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ผู้มีอํานาจหน้าที่ปฏิบัติการให้ เป็นไปตามคําพิพากษา หรือคําสั่งของศาลมีอํานาจดําเนินการให้ พระภิกษุรูปนั้นสละสมณเพศเสียได้ และให้รายงานให้ศาลทราบถึงการสละสมณ เพศนั้น

 

หมวด วัด

มาตรา ๓๑ วัดมีสองอย่าง

() วัดที่ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา () สํานักสงฆ์ ให้วัดมีฐานะเป็นนิติบุคคล

เจ้าอาวาสเป็นผู้แทนของวัดในกิจการทั่วไป

 

มาตรา ๓๒ การสร้าง การตั้ง การรวม การย้าย การยุบเลิกวัด และการขอรับพระราชทาน

วิสุงคามสีมา ให้ เป็นไปตามวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง ในกรณยุบเลิกวัด ทรัพย์สินของวัดที่ถูกยุบเลิกให้ตกเป็น ศาสนสมบัติกลาง

 

มาตรา ๓๒ ทวิ วัดใดเป็นวัดร้างที่ไม่มีพระภิกษุอยู่อาศัย ในระหว่างที่ยังไม่มีการยุบเลิกวัด ให้กรมการศาสนามีหน้าที่ปกครองดูแลรักษาวัดนั้น

รวมทั้งวัด ที่ธรณสงฆ์ และทรัพย์สนของวัดนั้นด้วย

การยกวัดรางขึ้นเป็นวัดมีพระภิกษุอยู่จําพรรษา ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง

 

มาตรา ๓๓ ที่วัดและที่ซึ่งขึ้นต่อวัด มีดังนี้

() ที่วัด คือ ที่ซึ่งตั้งวัด ตลอดจนเขตของวัดนั้น

() ที่ธรณีสงฆ์ คือ ที่ซึ่งเป็นสมบัติของวัด

() ที่กัลปนา คือ ที่ซึ่งมีผู้อุทิศแต่ผลประโยชน์ให้วัดหรือพระศาสนา

 

 

มาตรา ๓๔ การโอนกรรมสิทธิ์ที่วัด ที่ธรณสงฆ์ หรือที่ศาสนสมบัติกลาง ให้กระทําได้ก็แต่โดยพระราชบัญญัติ เว้นแต่เป็นกรณตามวรรคสอง

การโอนกรรมสิทธิ์ที่วัด ที่ธรณีสงฆ์ หรือที่ศาสนสมบัติกลาง ให้แก่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่น ของรัฐ เมื่อมหาเถรสมาคม ไม่ขัดข้องและได้รับค่าผาติกรรมจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานนั้น แล้ว ให้กระทําโดยพระราชกฤษฎีกา

ห้ามมิให้บุคคลใดยกอายุความขึ้นต่อสู้กับวัดหรือกรมการศาสนาแล้วแต่กรณีในเรื่องทรัพย์สินอันเป็นที่วัด  ที่ธรณีสงฆ์  หรือที่ศาสนสมบัติ

กลาง

มาตรา ๓๕ ที่วัด ที่ธรณีสงฆ์ และที่ศาสนสมบัติกลาง เป็นทรัพย์สินซึ่งไม่อยู่ในความรับผดแห่งการบังคับคดี มาตรา ๓๖ วัดหนึ่งให้มีเจ้าอาวาสรูปหนึ่ง และถ้าเป็นการสมควรจะให้มีรองเจ้าอาวาสหรือผู้ช่วยเจ้าอาวาสด้วยก็ได้ มาตรา ๓๗ เจ้าอาวาสมีหน้าที่ดังนี้

() บํารุงรักษาวัด จัดกิจการและศาสนสมบัติของวัดให้เป็นไปด้วยดี


() ปกครองและสอดส่องให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ที่มีที่อยู่หรือพํานักอาศัยอยู่ในวัด นั้นปฏิบัติตามพระธรรมวินัย กฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ ระเบียบหรือคําสั่งของมหาเถรสมาคม

() เป็นธุระในการศึกษาอบรมและสั่งสอนพระธรรมวินัยแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์

() ให้ความสะดวกตามสมควรในการบําเพ็ญกุศล

 

มาตรา ๓๘ เจ้าอาวาสมีอํานาจดังนี้

() ห้ามบรรพชิตและคฤหัสถ์ซึ่งมิได้รับอนุญาตของเจ้าอาวาสเข้าไปอยู่อาศัยในวัด

() สั่งให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ซึ่งไม่อยู่ในโอวาทของเจ้าอาวาสออกไปเสียจากวัด

() สั่งให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ที่มีที่อยู่หรือพํานักอาศัยในวัด ทํางานภายในวัดหรือให้ทําทัณฑ์บน หรือให้ ขอขมาโทษ ในเมื่อบรรพชิตหรอคฤหัสถ์ ในวัดนั้นประพฤติผิดคําสั่งเจ้าอาวาส ซึ่งได้สั่งโดยชอบด้วย พระธรรมวินัย กฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ ระเบียบ หรือคําสั่งของมหาเถรสมาคม

 

มาตรา ๓๙ ในกรณีที่ไม่มีเจ้าอาวาสหรือเจ้าอาวาสไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้แต่งตั้งผรักษาการแทนเจ้าอาวาส ให้ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสม อํานาจและหน้าที่เช่นเดียวกับเจ้าอาวาส

การแต่งตั้งผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส  ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดในกฎมหาเถรสมาคม

 

หมวด ศาสนสมบัต

มาตรา ๔๐ ศาสนสมบัติแบ่งออกเป็นสองประเภท

() ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่ ทรัพย์สินของพระศาสนาซึ่งมิใช่ของวัดใดวัดหนึ่ง

() ศาสนสมบัติของวัด ได้แก่ ทรัพย์สินของวัดใดวัดหนึ่ง

การดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติกลาง ให้เป็นอํานาจหน้าที่ของกรมการศาสนา เพื่อการนี้ ให้ถือว่า สํานักงานพระพุทธศาสนา แห่งชาติเป็นเจ้าของศาสนสมบัติกลางนั้นด้วย

การดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติของวัด ให้เป็นไปตามวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง

 

มาตรา ๔๑ ให้กระทรวงศึกษาธิการจัดทํางบประมาณประจําปีของศาสนสมบัติกลางด้วยความเห็นชอบ ของ มหาเถรสมาคม และเมื่อได้ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้งบประมาณนั้นได้

 

มาตรา ๔๒ ผู้ใดมิได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระอุปัชฌาย์หรือถูกถอดถอนจากความเป็นพระอุปัชฌายตามมาตรา ๒๓ แล้ว กระทําการบรรพชาอุปสมบท แก่บุคคลอื่นต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี

 

มาตรา ๔๓ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๕ จัตวา วรรคสองมาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ วรรคสาม หรือมาตรา ๒๘ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี

 

 

มาตรา ๔๔ ผู้ใดพ้นจากความเป็นพระภิกษุเพราะต้องปาราชิกมาแลว ไม่ว่าจะมคําวินิจฉัยตามมาตรา ๒๕ หรือไม่ก็ตาม แต่มารับบรรพชา

อุปสมบทใหม่โดยกล่าวความเท็จหรือปิดบังความจริงต่อพระอุปัชฌาย์  ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนงึ่  ปี


มาตรา ๔๔ ทวิ ผู้ใดหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาต มาดร้ายสมเด็จพระสังฆราช ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

 

มาตรา ๔๔ ตรี ผู้ใดใส่ความคณะสงฆ์หรือคณะสงฆ์อื่นอันอาจก่อให้เกิดความเสื่อมเสียหรือความแตกแยกต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือ ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ"

 

มาตรา ๔๕ ให้ถือว่าพระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในการปกครองคณะสงฆ์และ ไวยาวัจกร เป็น เจ้าพนักงานตามความในประมวล กฎหมายอาญา

 

มาตรา ๔๖ การปกครองคณะสงฆ์อื่นให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

ข้อสอบข้างล่าง จะเฉลยตามยุคสมัยที่บังคับใช้พระราชบัญญัตินั้นๆ

*** ระวังให้ดี ข้อสอบอาจจะออกพระราชบัญญัติใหม่ ท่องจําให้ดีครับ ***

 

 

(ปี 63, 61, 50) พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ คืออะไร? ตอบ คือ กฏหมายฉบับหนึ่งว่าด้วยคณะสงฆ์

(ปี 54) คําว่า คณะสงฆ์ และคณะสงฆ์อื่น แห่งมาตรา ทวิ ในพระราชบัญญติคณะสงฆ์หมายถึงใคร?

ตอบ คณะสงฆ์ หมายถึงบรรดาพระภิกษุที่ได้รับบรรพชาอุปสมบทจากพระอุปัชฌายตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายที่ใช้บังคับก่อน พระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่าจะปฏิบัติศาสนกิจในหรือนอกราชอาณาจักร คณะสงฆ์อื่น หมายถึงบรรดาบรรพชิตจีนนิกายหรืออนัมนิกาย ฯ (ปี 45) ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ใครเป็นผู้สถาปนาสมเด็จพระสังฆราช? ตอบโดยอ้างมาตรา

คําว่า คณะสงฆ์ และคณะสงฆ์อื่น แห่งมาตรา ทวิ ในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์หมายถึงใคร?

ตอบ มาตรา พระมหากษัตริย์ทรงสถาปนาสมเด็จพระสังฆราชองค์หนึ่ง

คณะสงฆ์ หมายถึงบรรดาพระภิกษุที่ได้รับบรรพชาอุปสมบทจากพระอุปัชฌาย์ ตามพระราชบัญญตินี้ หรือตามกฎหมายที่ใช้บังคับก่อน พระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่าจะปฏิบัติศาสนกิจในหรือนอกราชอาณาจักร

คณะสงฆ์อื่น หมายถึงบรรดาบรรพชิตจีนนิกายหรืออนัมนิกาย

Ø  มหาเถรสมาคม

(ปี 60 57, 52) กรรมการมหาเถรสมาคมซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตั้ง พ้นจากตําแหน่งเมื่อใด?

ตอบ พ้นเมื่อ . มรณภาพ                 . พ้นจากความเป็นพระภิกษุ               . ลาออก . สมเด็จพระสังฆราชมีพระบัญชาให้ออก . อยู่ครบวาระ ปี

(ปี  51)  กรรมการมหาเถรสมาคมดํารงอยู่ในตําแหน่งคราวละกี่ปี?

ตอบ กรรมการที่เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ไม่มีกําหนดเวลา                                  กรรมการที่สมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตั้ง ดํารงอยู่ในตําแหน่งคราวละ ปีฯ

(ปี 49) ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญติคณะสงฆ์ กําหนดองค์ประกอบมหาเถรสมาคมไว้อย่างไร?

ตอบ กําหนดไว้ดังนี้

สมเด็จพระสังฆราช ทรงดํารงตําแหน่งประธานกรรมการโดยตําแหน่ง สมเด็จพระราชาคณะทุกรูป เป็นกรรมการโดยตําแหน่ง และพระราชาคณะ ซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตั้ง มีจํานวนไมเกิน ๑๒ รูป เป็นกรรมการ

(ปี  48)  มหาเถรสมาคมมีอํานาจหน้าที่อะไรบ้าง?

ตอบ มีอํานาจหน้าที่ดังนี้


. ปกครองคณะสงฆ์ให้เป็นไปโดยเรียบร้อยดีงาม

. ปกครองและกําหนดการบรรพชาสามเณร

.ควบคุมและส่งเสริมการศาสนศึกษา การศึกษาสงเคราะห์ การเผยแผ่ การสาธารณูปการ และการสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์

. รักษาหลักพระธรรมวินัยของพระพุทธศาสนา

.ปฏิบัติหน้าที่อื่น ตามที่บัญญติไว้ในพระราชบัญญตินี้ หรือกฎหมายอื่น

(ปี  47)  กรรมการมหาเถรสมาคมดํารงอยู่ในตําแหน่งคราวละกี่ปี?

ตอบ       กรรมการมหาเถรสมาคมที่เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ไม่มีกําหนดเวลา กรรมการมหาเถรสมาคมที่สมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตั้ง ดํารงอยู่ในตําแหน่งคราวละ ปี


(ปี 46) องค์กรการปกครองคณะสงฆ์สูงสด ตอบ คือ มหาเถรสมาคม กําหนดไว้ดังนี้


คืออะไร? ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ กําหนดองค์ประกอบขององค์กรนั้นไว้อย่างไร?


สมเด็จพระสังฆราช ทรงดํารงตําแหน่งประธานกรรมการโดยตําแหน่ง สมเด็จพระราชาคณะทุกรูป เป็นกรรมการโดยตําแหน่ง และพระราชาคณะ ซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตั้ง มีจํานวนไมเกิน ๑๒ รูปเป็นกรรมการ

(ปี 45) ผู้มิได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระอุปัชฌาย์ หรือถูกถอดถอนจากความเป็นพระอุปัชฌาย์ กระทําการบรรพชาอุปสมบทแก่บุคคลอื่น ต้องระวาง โทษอย่างไร? ตามพระราชบัญญตคณะสงฆ์ ผดํารงตําแหน่งเลขาธิการมหาเถรสมาคมคือใคร?

ตอบ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี คืออธิบดีกรมการศาสนาโดยตําแหน่ง ตามพระราชบัญญัตคณะสงฆ์ มาตรา ๑๓ ความว่า ให้อธิบดี กรมการศาสนาเป็นเลขาธิการมหาเถรสมาคมโดยตําแหน่ง

(ปี 44) ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญติคณะสงฆ์ กําหนดองค์ประกอบของมหาเถรสมาคมไว้อย่างไร? มหาเถรสมาคมมีอํานาจหน้าที่อย่างไร? ตอบเพียง ข้อ

ตอบ กําหนดไว้ดังนี้

สมเด็จพระสังฆราช ทรงดํารงตําแหน่งประธานกรรมการโดยตําแหน่ง สมเด็จพระราชาคณะทุกรูป เป็นกรรมการโดยตําแหน่ง และ พระราชาคณะซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตั้ง มีจํานวนไม่เกิน ๑๒ รูป เป็นกรรมการ

มีอํานาจหน้าที่อย่างนี้ (ตอบเพียง ข้อ)

. ปกครองคณะสงฆ์ให้เป็นไปโดยเรียบร้อยดีงาม

. ปกครองและกําหนดการบรรพชาสามเณร

. ควบคุมและส่งเสริมการศาสนศึกษา การศึกษาสงเคราะห์ การสาธารณูปการ และการสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์

. รักษาหลักพระธรรมวินัยของพระพุทธศาสนา

. ปฏิบัตหน้าที่อื่นๆ ตามที่บัญญติไว้ในพระราชบัญญตินี้หรือกฎหมายอื่น

(ปี 43) กรรมการมหาเถรสมาคมดํารงอยู่ในตําแหน่งคราวละกี่ปี? ผจะดํารงตําแหน่งเลขาธิการมหาเถรสมาคมมีกําหนดไว้อย่างไร?

ตอบ กรรมการมหาเถรสมาคมที่เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ไม่มีกําหนดเวลา ส่วนกรรมการมหาเถรสมาคมที่สมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตั้ง ดํารง อยู่ในตําแหน่งคราวละ ๒ ปี ฯ

มีกําหนดไว้ว่าต้องเป็นอธิบดีกรมการศาสนา (โดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ .. ๒๕๐๕, (ฉบับที่ ) .. ๒๕๓๕ มาตรา ๑๓ ความว่า ให้อธิบดี กรมการศาสนาเป็นเลขาธิการมหาเถรสมาคมโดยตําแหน่ง)


Ø  การปกครองคณะสงฆ์

(ปี 59, 54) องค์กรปกครองคณะสงฆ์สูงสด ตอบ คือ มหาเถรสมาคม มีการกําหนดองค์ประกอบไว้อย่างนี้ คือ


คืออะไร? มีการกําหนดองค์ประกอบไว้อย่างไร?


สมเด็จพระสังฆราช ทรงดํารงตําแหน่งประธานกรรมการโดยตําแหน่ง สมเด็จพระราชาคณะทุกรูปเป็นกรรมการโดยตําแหน่ง และพระราชาคณะ ซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตั้ง มีจํานวนไมเกิน ๑๒ รูปเป็นกรรมการ

(ปี 57) การปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค จัดแบ่งเขตการปกครองไว้อย่างไร? จงอ้างมาตราประกอบ

ตอบ . ภาค            . จังหวัด                . อําเภอ๔. ตําบล ตามมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ปี 51) ตามมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญติคณะสงฆ์ ให้จัดแบ่งเขตปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาคไว้อย่างไร? ตอบ แบ่งดังนี้ คือ . ภาค . จังหวัด . อําเภอ . ตําบล ส่วนจํานวนและเขตปกครองดังกล่าวให้เป็นไปตามที่กําหนดในกฎมหาเถรสมาคม

(ปี 45) คณะสงฆ์จะตั้งเป็นอิสระ ไม่อยู่ภายใต้การปกครองของมหาเถรสมาคมได้หรือไม่? จงอ้างมาตรา

ตอบ ไม่ได้ ต้องปฏิบัติตามมาตรา ๒๐ ความว่า คณะสงฆ์ต้องอยู่ภายใต้การปกครองของมหาเถรสมาคม (ปี 44) ตามมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญติคณะสงฆ์ ให้จัดแบ่งเขตปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาคไว้อย่างไร? พระภิกษุจะต้องรับนิคหกรรมเมื่อทําผิดเช่นไร? และได้รับนิคหกรรมให้สึก ต้องสึกภายในเวลาเท่าไร?

ตอบ       แบ่งดังนี้คือ              ) ภาค        ) จังหวัด        ) อําเภอ        ) ตําบล ส่วนจํานวนและเขตปกครองดังกล่าวให้เป็นไปตามที่กําหนดในกฎมหาเถรสมาคม

เมื่อกระทําการล่วงละเมิดพระธรรมวินัย และนิคหกรรมที่จะลงโทษแก่ภิกษุจะต้องเป็นนิคหกรรมตามพระธรรมวินัยต้องสึกภายใน ๒๔ ชั่วโมง นับ แต่เวลาที่ได้ทราบคําวินิจฉัยนั้น

Ø  นิคหกรรมและการสละสมณเพศ

(ปี 56) พระภิกษุจะไม่สังกัดอยู่ในวัดใดวัดหนึ่งเลยได้หรือไม่ จงอ้างมาตราประกอบด้วย?

ตอบ ไม่ได้ ตามมาตรา ๒๗ () แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ๒๕๐๕, (แก้ไขเพิ่มเตมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ฉบับที่ ) .. ๒๕๓๕

(ปี 55) ภิกษุผู้ล่วงละเมิดพระธรรมวินัย และได้มคําวินิจฉัยถึงที่สุดให้ได้รับนิคหกรรมให้สึก ต้องปฏิบัติอย่างไร? ถ้าไม่ปฏิบัติตามต้องได้รับโทษ

อะไร?  ตอบ ต้องสึกภายในยี่สิบสชั่วโมงนับแต่เวลาที่ได้ทราบคําวินจฉัย ถ้าไม่ปฏิบัตตาม ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี

(ปี 49) พระภิกษุจะต้องรับนิคหกรรมเมื่อทําผดเช่นไร? และผู้ได้รับนิคหกรรมให้สึก ต้องสึกภายในเวลาเท่าไร?

ตอบ เมื่อกระทําการล่วงละเมิดพระธรรมวินัย และนิคหกรรมที่จะลงโทษแก่ภิกษุนั้น จะต้องเป็นนิคหกรรมตามพระธรรมวินัย   ต้องสึกภายใน

๒๔ ชั่วโมง นับแต่เวลาที่ได้ทราบคําวินิจฉัยนั้น

(ปี 49) พระภิกษุจะไม่สังกัดอยู่ในวัดใดวัดหนึ่งเลยได้หรือไม่? อ้างมาตราประกอบด้วย

ตอบ ไม่ได้ ตามมาตรา ๒๗ () แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติม .. ๒๕๓๕

(ปี 48) ตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ) .. ๒๕๓๕ กําหนดให้พระภิกษุสละสมณเพศในกรณีใดบ้าง?

ตอบ ในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้

. ต้องคําวินิจฉัยตามมาตรา ๒๕ ให้รับนิคหกรรมไม่ถึงให้สึก แต่ไม่ยอมรับนิคหกรรมนั้น . ประพฤติล่วงละเมิดพระธรรมวินัยเป็นอาจิณ

. ไมสังกัดอยู่ในวัดใดวัดหนึ่ง                                                                                    . ไมมีวัดเป็นที่อยู่เป็นหลักแหล่ง


(ปี 46) ภิกษุรูปหนึ่งต้องคําพิพากษาคดีถึงที่สุดให้เป็นบุคคลล้มละลาย ภิกษุนั้นจะต้องปฏิบัติอย่างไร? ตามพระราชบัญญติคณะสงฆ์มาตราไหน? ถ้าภิกษุนั้นฝ่าฝืนไม่ปฏิบัตตามคําพิพากษาจะถูกลงโทษอย่างไร?

ตอบ       ภิกษุนั้นต้องสึกภายในสามวัน นับแต่วันที่คดีถึงที่สุด ฯ                                  ตามมาตรา ๒๘ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ฯ ถ้าฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี ตามมาตรา ๔๓ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์

(ปี 44) ตามมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญติคณะสงฆ์ ให้จัดแบ่งเขตปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาคไว้อย่างไร? พระภิกษุจะต้องรับนิคหกรรมเมื่อทําผิดเช่นไร? และได้รับนิคหกรรมให้สึก ต้องสึกภายในเวลาเท่าไร?

ตอบ       แบ่งดังนี้คือ              . ภาค        . จังหวัด         . อําเภอ        . ตําบล ส่วนจํานวนและเขตปกครองดังกล่าวให้เป็นไปตามที่กําหนดในกฎมหาเถรสมาคม

เมื่อกระทําการล่วงละเมิดพระธรรมวินัย และนิคหกรรมที่จะลงโทษแก่ภิกษุจะต้องเป็นนิคหกรรมตามพระธรรมวินัยต้องสึกภายใน ๒๔ ชั่วโมง นับ แต่เวลาที่ได้ทราบคําวินิจฉัยนั้น

(ปี 44) พระภิกษุจะไม่สังกัดอยู่ในวัดใดวัดหนึ่งเลยได้หรือไม่ อ้างมาตราประกอบด้วย? เจ้าพนักงาน ตามความในประมวลกฎหมายอาญา ในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ได้แก่ใคร?

ตอบ ไม่ได้, ตามมาตรา ๒๗ () แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ๒๕๐๕, (ฉบับที่ ) .. ๒๕๓๕ ได้แก่พระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในการปกครองคณะสงฆ์ และไวยาวัจกร เป็นเจ้าพนักงานตามความในประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา ๔๕)

Ø  วัด

(ปี 64, 61, 43 แนะนําให้จําไปเลย) เจ้าอาวาส ตามกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๔ ใครเป็นผู้แต่งตั้ง?

ตอบ       สมเด็จพระสังฆราช ทรงมีพระบัญชาแต่งตั้งเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ตามมติมหาเถรสมาคม เจ้าคณะจังหวัด แต่งตั้งเจ้าอาวาสวัดราษฎร์

(ปี 63, 58) พระราชบัญญัติคณะสงฆ์มาตรา ๓๗ ระบุหน้าที่เจ้าอาวาสไว้กี่อย่าง? อะไรบ้าง?

ตอบ ระบุไว้ อย่าง คือ

. บํารุงรักษาวัด จัดกิจการและศาสนสมบัติของวัดให้เป็นไปด้วยดี

. ปกครองและสอดส่องให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ที่มีที่อยู่หรือพํานักอาศัยอยู่ในวัดนั้นปฏิบัติตามพระธรรมวินัย กฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ ระเบียบหรือคาสั่งของมหาเถรสมาคม

. เป็นธุระในการศึกษาอบรมและสั่งสอนพระธรรมวินัยแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์

. ให้ความสะดวกตามสมควรในการบําเพ็ญกุศล

(ปี 64, 62, 46) ที่วัด ที่ธรณีสงฆ์ และที่ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่สถานที่เช่นไร ?

ตอบ       ที่วัด ได้แก่ที่ซึ่งตั้งวัดตลอดจนเขตของวัดนั้น                                    ที่ธรณีสงฆ์ ได้แก่ที่ซึ่งเป็นสมบัติของวัด ที่ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่ที่ซึ่งเป็นทรัพย์สินของพระศาสนาซึ่งมิใช่ของวัดใดวัดหนึ่ง

(ปี 62, 52) เจ้าอาวาส หมายถึงใคร ? ภิกษุผู้จะดํารงตําแหน่งเจ้าอาวาสวัดที่ไม่ใช่พระอารามหลวง ต้องมีคุณสมบัติโดยเฉพาะอะไรบ้าง ?

ตอบ  หมายถึง  พระภิกษุผู้ได้รับแต่งตั้งตามกฎมหาเถรสมาคมให้เป็นพระสังฆาธิการปกครองวัดใดวัดหนึ่ง 

คือ          . มีพรรษาพ้น                         .  เป็นผู้ทรงเกียรติคุณเป็นที่เคารพนับถือของคฤหัสถ์และบรรพชิตในถิ่นนั้น 

(ปี 60, 45) จงให้ความหมายของคําต่อไปนี้                                   . ที่วัด            . ที่ธรณีสงฆ์             . ที่กัลปนา

ตอบ       . ที่วัด คือที่ซึ่งตั้งวัดตลอดจนเขตของวัดนั้น                              . ที่ธรณีสงฆ์ คือที่ซึ่งเป็นสมบัติของวัด . ที่กัลปนา คือที่ซึ่งมีผู้อุทิศแต่ผลประโยชน์ให้วัดหรือพระศาสนา ฯ


(ปี 58) ที่วัดและที่ซึ่งขึ้นต่อวด ตามมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญตคณะสงฆ์ มีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?

ตอบ มี อย่าง คือ                    . ที่วัด คือที่ซึ่งตั้งวัดตลอดจนเขตของวัดนั้น                             . ที่ธรณสงฆ์ คือที่ซึ่งเป็นสมบัติของวัด

. ที่กัลปนา คือที่ซึ่งมีผู้อุทิศแต่ผลประโยชน์ให้วัดหรือพระศาสนา

(ปี 55) ตามความในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ วัดมีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? และใครเป็นผู้แทนของวัดในกิจการทั่วไป?

ตอบ มี ประเภท คือ                 . วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา                                . สํานักสงฆ์ เจ้าอาวาสเป็นผู้แทนของวัดในกิจการทั่วไป

(ปี 53) ที่วัด ที่ธรณสงฆ์ หรือที่ศาสนสมบัติกลาง จะสามารถโอนกรรมสิทธิ์ได้หรือไม่? มีหลักปฏิบัติอย่างไร?

ตอบ สามารถโอนได้

มีหลักปฏิบัติตามความในมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ .. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ )


.. ๒๕๓๕ (มาตรา ๓๔ การโอนกรรมสิทธิ์ที่วัด ที่ธรณส วรรคสอง


งฆ์ หรือ ที่ศาสนสมบัติกลาง ให้กระทําได้ก็แต่โดยพระราชบัญญติ เว้นแต่เป็นกรณีตาม


(ปี 48) ที่วัดและที่ธรณสงฆ์ได้แก่ที่เช่นไร?

นาย ได้รับอนุญาตจากเจ้าอาวาสให้เข้าปลูกบ้านอยู่อาศัยในที่เช่นนั้นนานเกินสิบปี ภายหลังจะยึดที่ดินผืนนั้นเป็นสมบัติส่วนตัว จึงยกอายุความ ขึ้นต่อสู้กับวัด โดยอ้างสิทธิครอบครองได้หรือไม่? เพราะเหตไุ ?

ตอบ ที่วัด คือที่ที่ตั้งวัดตลอดจนเขตของวัดนั้น ที่ธรณีสงฆ์ คือที่ซึ่งเป็นสมบัติของวัด

ไม่ได้ เพราะมาตรา ๓๔ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ) .. ๒๕๓๕ บัญญติว่า ห้ามมิให้บุคคลใดยกอายุความขึ้นต่อสู้กับวัด

หรือสํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติแล้วแต่กรณี  ในเรื่องทรัพย์สนอันเป็นที่วัด  ที่ธรณสงฆ์หรือที่ศาสนสมบัติกลาง 

(ปี 47) ที่วัด ที่ธรณสงฆ์ หรือที่ศาสนสมบัติกลาง จะสามารถโอนกรรมสิทธิ์ได้หรือไม่ มีหลักปฏิบัติอย่างไร?

ตอบ สามารถโอนได้ มีหลักปฏิบัตตามความในมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญติคณะสงฆ์ .. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเตมโดยพระราชบัญญัตคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ) .. ๒๕๓๕

(ปี 43) ในกรณียุบเลิกวด ทรัพย์สินของวัดนั้นจะพึงตกแก่ใคร? การดูแลและจัดการศาสนสมบัติ กําหนดให้เป็นหน้าที่ของใคร?

ตอบ ให้ตกเป็นของศาสนสมบัติกลาง จะแบ่งให้ใครไม่ได้ (มาตรา ๓๒ วรรค แห่งพระราชบัญญติคณะสงฆ์ .. ๒๕๐๕, (ฉบับที่ ) ..

๒๕๓๕)

การดูแลและจัดการศาสนสมบัติกลาง                             กําหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมการศาสนา การดูแลและจัดการศาสนสมบัติของวัด                                                 กําหนดให้เป็นหน้าที่ของเจ้าอาวาส

(การดูแลและจัดการศาสนสมบัติกลาง บัญญัติไว้ในมาตรา ๔๐ ว่า ให้เป็นอํานาจหน้าที่ของกรมการศาสนา เพื่อการนี้ให้ถือว่ากรมการศาสนาเป็น เจ้าของศาสนสมบัติกลางนั้นด้วย และมาตรา ๔๑ ว่า ให้กระทรวงศึกษาธิการจัดทํางบประมาณประจําปีของศาสนสมบัติกลาง ด้วยความเห็นชอบ ของมหาเถรสมาคม และเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้งบประมาณนั้นได้ ส่วนการดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติของวัดมีใน มาตรา ๓๗ () ว่า เจ้าอาวาสมีหน้าที่บํารุงรักษาวัด จัด                                                                    กิจการและศาสนสมบัติของวัดให้เป็นไปด้วยดีและใน มาตรา ๔๐ ว่าการดูแลรักษาและ จัดการศาสนสมบัติของวัด ให้เป็นไปตามวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง)

(ปี 43) เจ้าอาวาสผไู้ ด้รบแต่งตั้งมีหน้าที่อย่างไร?

ตอบ เจ้าอาวาสมีหน้าที่ตามมาตรา ๓๗ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ .. ๒๕๐๕, (ฉบับที่ ) .. ๒๕๓๕ ดังนี้

. บํารุงรักษาวด จัดกิจการและศาสนสมบัติของวัดให้เป็นไปด้วยดี

. ปกครองและสอดส่องให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ที่มีที่อยู่หรือพํานักอาศัยอยู่ในวัดนั้น ปฏิบัตตามพระธรรมวินัย กฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ ระเบียบ หรือคําสั่งของมหาเถรสมาคม


. เป็นธุระในการศึกษาอบรม และสั่งสอนพระธรรมวินัยแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์

. ให้ความสะดวกตามสมควรในการบําเพ็ญกุศล

 

Ø  ศาสนสมบัติ

(ปี 64, 62, 46) ที่วัด ที่ธรณีสงฆ์ และที่ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่สถานที่เช่นไร ?

ตอบ       ที่วัด ได้แก่ที่ซึ่งตั้งวัดตลอดจนเขตของวัดนั้น                                    ที่ธรณีสงฆ์ ได้แก่ที่ซึ่งเป็นสมบัติของวัด ที่ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่ที่ซึ่งเป็นทรัพย์สินของพระศาสนาซึ่งมิใช่ของวัดใดวัดหนึ่ง

(ปี 53) ศาสนสมบัติมีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? การจะนําผลประโยชน์จากศาสนสมบัตไิ ปใช้จ่าย มีหลักเกณฑ์อย่างไร?

ตอบ มี ประเภท คือ ศาสนสมบัติกลาง และ ศาสนสมบัติวัด มีหลักเกณฑ์อย่างนี้คือ ศาสนสมบัติกลาง ใช้จ่ายในกิจการของสงฆ์ทั่วไปตาม พระวินัยโดยอนุมัติของสงฆ์ ศาสนสมบัติวัด ใช้จ่ายในกิจการของวัดนั้น แต่จะนําศาสนสมบัติของวัดหนึ่งไปใช้อีกวัดหนึ่งไม่ได้

(ปี 47) ศาสนสมบัติมีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? ใครเป็นผู้มีอํานาจดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติ?

ตอบ มี ประเภท (ตามมาตรา ๔๐) คือ

. ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่ ทรัพย์สินของพระศาสนาซึ่งมิใช่ของวัดใดวัดหนึ่ง สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ มีอํานาจดูแลรักษาและจัดการ

. ศาสนสมบัติของวัด ได้แก่ ทรัพย์สินของวัดใดวัดหนึ่ง เจ้าอาวาสวัดแต่ละวัด มีอํานาจดูแลรักษาและจัดการ

(ปี 46) เจ้าพนักงาน ตามความในประมวลกฎหมายอาญา ในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ได้แก่ใคร? ตอบ ได้แก่พระภิกษุซึ่งได้รบแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในการปกครองคณะสงฆ์และไวยาวัจกร (ปี 44) พระภิกษุจะไม่สังกัดอยู่ในวัดใดวัดหนึ่งเลยได้หรือไม่ อ้างมาตราประกอบด้วย? เจ้าพนักงาน ตามความในประมวลกฎหมายอาญา ในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ได้แก่ใคร?

ตอบ ไม่ได้, ตามมาตรา ๒๗ () แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ๒๕๐๕, (ฉบับที่ ) .. ๒๕๓๕ ได้แก่พระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในการปกครองคณะสงฆ์ และไวยาวัจกร เป็นเจ้าพนักงานตามความในประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา ๔๕)

 

Ø  บทกําหนดโทษ

(ปี 59, 56, 50) ผู้ใดใส่ความคณะสงฆ์หรือคณะสงฆ์อื่นอันอาจก่อให้เกิดความเสื่อมเสยหรือความแตกแยก มีโทษอย่างไร?

ตอบ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

(ปี 45) ผู้มิได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระอุปัชฌาย์ หรือถูกถอดถอนจากความเป็นพระอุปัชฌาย์ กระทําการบรรพชาอุปสมบทแก่บุคคลอื่น ต้องระวาง โทษอย่างไร? ตามพระราชบัญญตคณะสงฆ์ ผดํารงตําแหน่งเลขาธิการมหาเถรสมาคมคือใคร?

ตอบ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี คืออธิบดีกรมการศาสนาโดยตาแหน่ง ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ มาตรา ๑๓ ความว่า ให้อธิบดี กรมการศาสนาเป็นเลขาธิการมหาเถรสมาคมโดยตําแหน่ง