สรุปอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท
(ปี 62, 57) พระอรหันต์ ๖๐ องค์ ที่พระพุทธเจ้าทรงส่งไปประกาศพระศาสนา ครั้งแรกมีใครบ้าง? ตอบ มีพระปัญจวัคคีย์ ๕ พระยสะ ๑ สหายของพระยสะที่ปรากฏนาม ๔ และที่ไม่ปรากฏนามอีก ๕๐ ฯ (ปี 59, 48) ประวัติอนุพุทธบุคคลมีความสาคัญต่อผู้ศึกษาอย่างไร?
ตอบ ท าให้ผู้ศึกษาได้รับความรู้ในจริยาวัตรและคุณความดีที่ท่านได้บ าเพ็ญมา ตลอดจนถึงผลงานในการช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนาอันท าให้เจริญ สืบมาถึงทุกวันนี้ น าให้เกิดความเลื่อมใสและความนับถือ เป็นทิฏฐานุคติอันดี สามารถน้อมน ามาปฏิบัติตามได้ ฯ
(ปี 57) พระสาวกที่พระพุทธองค์ทรงส่งไปประกาศพระศาสนาครั้งแรก มีจ านวนเท่าไร? ประกอบด้วยใครบ้าง?
ตอบ มี ๖๐ องค์ ฯ ประกอบด้วยพระปัญจวัคคีย์ พระยสะ สหายพระยสที่ปรากฏนาม ๔ องค์ และไม่ปรากฏนามอีก ๕๐ องค์ ฯ
(ปี 50) สัมมาสมพุทธะ ปัจเจกพทธะ และอนุพุทธะ ต่างกันอย่างไร? การเรียนอนุพุทธประวัติส าเร็จประโยชน์อย่างไร?
ตอบ สัมมาสัมพุทธะ ตรัสรู้เองโดยชอบ และสอนผู้อื่นให้รู้ตามได้ด้วย ปัจเจกพุทธะ ตรัสรู้เฉพาะตน แต่ไม่สามารถสอนผู้อื่นให้รู้ตามได้
อนุพุทธะ ตรัสรู้ตาม คือมีพระพุทธเจ้าสั่งสอนจึงรู้ตามได้ และสามารถสอนผู้อื่นให้กระท าตามด้วย ฯ เพื่อจะได้ทราบความเป็นไปและปฏิปทาของท่าน ที่ได้ช่วยประกาศพระศาสนาในที่นั้น ๆ จนเป็นเหตุเจริญแพร่หลายและมั่นคง แล้วจักได้ถือเป็น ทิฏฐานุคติ บ าเพ็ญประโยชน์ตนและประโยชน์ท่านโดยควรแก่ฐานะของตน ทั้งให้ส าเร็จเป็นสังฆานุสติมั่นคงอีกด้วย ฯ
(ปี 45) การศึกษาอนุพุทธประวัติมีประโยชน์อย่างไร? เมื่อครั้งที่พระอรหันต์ ๖๑ องค์ เกิดขึ้นในโลก มีใครบ้าง?
ตอบ น าให้เกิดความเลื่อมใสและความนับถือ ก าหนดและจดจ าวัตรปฏิบัติอันงดงามของท่านมาเป็นปฏิปทาเครื่องด าเนินชีวิตของตน และเมื่อ ความดีของพระสาวกปรากฏแล้วจะเชิดชูเกียรติคุณของพระศาสดาให้ยิ่งขึ้น ฯ
มีพระพุทธองค์ ๑ พระปัญจวัคคีย์ ๕ พระยสะ ๑ สหายของพระยสะที่ปรากฏนาม ๔ และที่ไม่ปรากฏนามอีก ๕๐ ฯ
(ปี 45) พระพุทธองค์ทรงส่งสาวกออกไปประกาศพระศาสนา เพราะทรงเห็นประโยชน์อะไร?
ตอบ ทรงเห็นประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อให้เห็นธรรมและตั้งอยู่ในสัมมาปฏิบัติอันเป็นปัจจัยแห่งความสุขความสงบ ฯ
(ปี 43) การศึกษาอนุพุทธประวัติให้ประโยชน์อย่างไรต่อเจ้าของประวัติ? การศึกษาอนุพุทธประวัติให้คุณค่าอย่างไรต่อผู้ศึกษา?
ตอบ เป็นการประกาศเกียรติคุณพระสาวกผู้เป็นอุปการะแก่พระศาสนา ได้เชิดชูพระคุณท่าน น าเพื่อนร่วมศาสนาให้เกิดปสาทะและนับถือ ความด ของพระสาวกปรากฏแล้วจักเชิดชูพระเกียรติคุณของพระศาสดายิ่งขึ้น ฯ ให้คุณค่าในด้านก าหนดและจดจ าวัตรปฏิบัติอันงดงามของท่านมาเป็นปฏิปทาเครื่องด าเนินชีวิตของตน ฯ
·
พุทธบุคคล มี ๓ ประเภท คือ
๑. สัมมาสัมพุทธะ ตรัสรู้เองโดยชอบ และสอนผู้อื่นให้รู้ตามได้ด้วย
๒. ปัจเจกพุทธะ ตรสรู้เฉพาะตน แต่ไม่สามารถสอนผู้อื่นให้รู้ตามได้
๓. อนุพุทธะ ตรสรู้ตาม คือมีพระพุทธเจ้าสั่งสอนจึงรู้ตามได้ และสามารถสอนผู้อื่นให้กระท าตามด้วย
(ปี 64, 61, 56, 49) อนุพุทธบุคคล คือใคร? มีความส าคัญอย่างไร ?
ตอบ คือ สาวกผู้ตรส
รู้ตามพระพุทธเจ้า ฯ อนุพุทธบุคคลเป็นสังฆรตนะในรัตนะ ๓ เป็นพยานยืนยันความตรส
รู้ของพระพุทธเจ้า และเป็นก าลัง
ส าคัญช่วยพระองค์ประกาศพระพุทธศาสนา อันเป็นประโยชน์สุขแกชนเป็นอันมาก จนแพร่หลายมาถึงปัจจุบัน ฯ
(ปี 63, 51) พุทธบุคคล มีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? ตอบ มี ๓ ประเภท ฯ คือ ๑. พระสัมมาสมพุทธะ ๒. พระปัจเจกพุทธะ ๓. พระอนพุทธะฯ
(ปี 62, 47) อนุพุทธบุคคล คือใคร ? เป็นได้เฉพาะบรรพชิตหรือเฉพาะคฤหัสถ์ ?
ตอบ คือ สาวกของพระพุทธเจ้า ที่ท่านได้ตรัสรู้มรรคผลตามพระพุทธเจ้า ฯ เป็นได้ทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์ ฯ
(ปี 60) สัมมาสมพุทธะ ปัจเจกพทธะ และอนุพุทธะ ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ สัมมาสัมพุทธะ ตรัสรู้เองโดยชอบ และสอนผู้อื่นให้รู้ตาม ปัจเจกพุทธะ ตรัสรู้เฉพาะตน ไม่สอนผู้อื่นให้รู้ตาม
อนุพุทธะ ตรัสรู้ตามที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน และสามารถสอนผู้อื่นให้รู้ตาม ฯ
(ปี 52) พระสาวกสงฆ์ผู้ได้ชื่อว่าอนุพุทธะมีความส าคัญอย่างไร?
ตอบ มีความส าคัญคือพระสาวกสงฆ์จัดเป็นรตนะประการหนึ่งในรัตนะ ๓ ซึ่งเป็นผู้มีศีลและทิฏฐิเสมอกัน ถ้าไม่มีพระสาวกสงฆ์เป็นผู้รู้ธรรมและรับ
ปฏิบัติธรรม ความตรสรู้ของพระพุทธเจ้าก็ไม่ส าเร็จประโยชน์และพระสาวกสงฆ์นั้นได้เป็นก าลังใหญ่ของพระศาสนา ในอันช่วยประกาศพระธรรม
ประดิษฐานพระพุทธศาสนาขึ้นเพื่อประโยชน์สุขแก่ชนเป็นอันมาก ฯ
(ปี 49) อนุพุทธบุคคล คือใคร? ท่านเหล่านั้นมีความส าคัญต่อพระศาสดาอย่างไร ?
ตอบ คือ สาวกผู้ตรส
รู้ตามพระพุทธเจ้า ฯ มีความส าคัญอย่างนี้ แม้พระศาสดาได้ตรส
รู้และทรงแสดงธรรม แต่เมื่อขาดผรู้ธรรมและรับปฏิบัต
ความตรสรู้ของพระองค์ก็ไม่สาเรจ็ ประโยชน์ ฯ
(ปี 43) อนุพุทธบุคคลคือบุคคลพวกไหน? ได้ชื่อว่าอย่างนั้นเพราะเหตุไร? อนุพุทธบุคคล เป็นนักบวชหรือบุคคลทั่วไป?
ตอบ คือบุคคลผู้เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า ได้ชื่ออย่างนั้นเพราะเป็นผู้รู้ตามพระพุทธเจ้า ฯ เป็นนักบวชก็มี เป็นบุคคลทั่วไปก็มี ฯ
พระเจ้าพิมพิสาร
·
ปกครองเมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ
·
บรรลโสดาบัน เพราะได้ฟัง อนุปุพพีกถาและอริยสัจ ๔
· ทรงถวายพระราชอุทยาน เพื่อสร้างวัดแห่งแรกของพระพุทธศาสนา ชื่อว่า “วัดเวฬุวัน” ทรงถวายด้วยวิธีการทรงจับพระเต้าทองเตมดวย น ้า หลั่งลงถวายพระราชอุทยานเวฬุวันนั้นแก่พระภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประธาน
(ปี 55) การที่พระเจ้าพิมพิสารเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า เป็นเหตุให้พระองค์ได้รับอนุตตริยะอะไรบ้าง?
ตอบ ได้อนุตตริยะ ๓ อย่าง คือ ๑.พระองค์ได้เฝ้า เป็นทัสสนานุตตริยะ ๒.ได้ทรงสดับธรรม เป็นสวนานุตตริยะ
๓.ได้ธรรมจักษุเห็นธรรมนั้น เป็นลาภานุตตริยะฯ
(ปี 52) พระเจ้าพิมพิสารทรงถวายพระราชอุทยานเวฬุวันแด่พระภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประธาน เพราะทรงพิจารณาเห็นอย่างไรและทรง ถวายด้วยวิธีการอย่างไร? ตอบ เพราะทรงเห็นว่า พระราชอุทยานเวฬุวันเป็นที่ไมไ่ กลไม่ใกล้นัก แต่บ้านบริบูรณ์ด้วยทางเป็นที่ไปและเป็นที่มา ควร ที่ผู้มีธุระจะพึงไปถึง กลางวันไม่เกลื่อนกล่นด้วยหมู่คน กลางคืนเงียบเสียงที่จะอื้ออึงกึกก้อง ปราศจากลมแต่ชนที่เดินเข้าออกสมควรเป็นที่ประกอบ กิจของผู้ต้องการที่สงัด และควรเป็นที่หลีกออกเร้นอยู่ตามวิสยสมณะ ควรเป็นที่เสด็จอยู่ของพระศาสดาดังนี้ และทรงถวายด้วยวิธีการทรงจับพระ เต้าทองเต็มด้วยน ้า หลั่งลงถวายพระราชอุทยานเวฬุวันนั้นแก่พระภกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประธาน ฯ
(ปี 47) ในคราวที่เสด็จไปโปรดพระเจ้าพิมพิสาร ณ ลัฏฐิวัน มีพระสาวกตามเสด็จไปเป็นจ านวนมาก ผู้ที่เป็นหัวหน้าของพระสาวกเหล่านั้นคือใคร? และท่านมีส่วนส าคัญในการประกาศพระศาสนาในครั้งนั้นอย่างไร?
ตอบ คือ พระอุรุเวลกัสสปะ ฯ ท่านเป็นที่เคารพนับถือของมหาชน ได้ประกาศความไม่มีแก่นสารแห่งลัทธิเก่าของตน และความที่ตนเป็นสาวก ของพระพุทธองค์ ท าให้พระเจ้าพิมพิสารพร้อมด้วยบริวาร ๑๒ ส่วน น้อมจิตลงสดับพระธรรมเทศนาเรื่องอนุปุพพีกถาและอริยสัจ ๔ พระเจ้าพิม พิสารพร้อมด้วยบริวาร ๑๑ ส่วน ได้ดวงตาเห็นธรรม อีก ๑ ส่วน ตั้งอยู่ในไตรสรณคมน์ ฯ
มูลเหตุขอบวช
·
พระอัญญาโกณฑัญญะ ได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นพระโสดาบัน จึงขอบวช
·
พระอุรุเวลกัสสปะ เห็นว่าลัทธิของตนหาแก่นสารไม่ได้ ได้ความสลดใจ จึงขอบวช
·
พระรัฐบาล บวชเพราะศรัทธา
·
พระนันทะ บวชเพราะจ าใจ
·
พระวักกลิ บวชเพราะหลงไหลในรูป
· พระมหากัจจายนะ ท่านได้รับมอบหมายจากพระเจ้าจัณฑปัชโชตให้ไปทูลเชญพระพุทธเจ้าเสด็จกรุงอุชเชนี จึงทูลลาบวชด้วย ครั้นได้เข้า เฝ้าฟังธรรมแล้ว บรรลุพระอรหัต จึงทูลขอบวช
·
บวชเพราะเบื่อหน่าย คือ พระยสะ พระมหากัสสปะ
·
บวชเพราะเพื่อน คือ พระภัททิยศากยะ พระวิมละ พระสุพาหุ พระปุณณชิ พระควัมปติ และเพื่อนชาวชนบทอีก ๕๐
คน ฯ (ปี 61) จงระบุชื่อพระสาวกผู้ที่บวชเพราะเหตุต่อไปนี้? ๑. บวชเพราะศรัทธา ๒. บวชเพราะจ าใจ ๓. บวชเพราะหลงใหลในรูป ตอบ ๑. บวชเพราะศรัทธา คือ พระรัฐบาล ๒. บวชเพราะจ าใจ คือ พระนันทะ ๓. บวชเพราะหลงใหลในรูป คือ พระวักกลิ
ฯ (ปี
56) พระสาวกผู้บวชเพราะเบื่อหน่าย บวชเพราะเพื่อน คือใคร?
ตอบ บวชเพราะเบื่อหน่าย คือ พระยสะ พระมหากัสสปะ ฯ
บวชเพราะเพื่อน คือ พระภัททิยศากยะ พระวิมละ พระสุพาหุ พระปุณณชิ พระควัมปติ และเพื่อนชาวชนบทอีก ๕๐ คน ฯ
(ตอบองค์ใดองค์หนึ่งก็ให้ และตอบองค์อื่น ถ้าถูกก็ควรให้)
เอตทัคคะ แปลว่า ผู้เลิศ (ให้ท่องไปสอบ)
·
พระอัญญาโกณฑัญญะ ผรัตตัญญู (แปลว่า ผู้รู้ราตรีนาน ...หมายถึง ผู้มีอายุมาก ผมีประสบการณมาก)
·
พระอุรุเวลกัสสปะ ผมีบริวารมาก
·
พระมหากัสสปะ ผู้เลิศในทางถือธุดงค์
·
พระปุณณมันตานีบุตร ผู้เลิศในทางธรรมกถึก
·
พระสารีบุตร ผู้เลิศในทางมีปัญญามาก
·
พระโมคคัลลานะ ผู้มีฤทธิ์มาก
·
พระโสณกุฏิกัณณะ ผแสดงธรรมด้วยถ้อยค าอันไพเราะ (ผู้มีวาจาไพเราะ)
·
พระราหุล ผู้ใคร่ในการศึกษา
·
พระราธะ ผู้มีปฏิภาณ คือ มีญาณแจ่มแจ้งในธรรมเทศนา
·
พระโมฆราช ผู้ทรงจีวรเศร้าหมอง
·
พระอุบาลี ผู้ทรงพระวินัย
·
พระอานนท์ ผู้เลิศในทางพหูสูต มี ๕
ด้าน คือ
เป็นพหูสต
·
พระอนุรุทธะ ผเลิศในทางทิพยจักขุญาณ (ตาทิพย์)
มีสติ มีคติ มีความเพียร และเป็นพุทธอุปัฏฐาก
·
พระมหากัจจายนะ ผู้เลิศในทางผอธิบายเนื้อความย่อให้พิสดาร
·
พระรัฐบาล ผู้เลิศในทางผู้บวชด้วยศรัทธา
·
พระวักกลิ ผเลิศในทางสัทธาธิมุต คือ ผู้พ้นกิเลสด้วยศรัทธา
·
พระโสณโกฬิวิสะ ผู้เลิศในทางมีความเพียรปรารภแล้ว
·
พระกาฬุทายี ผเลิศทางยังตระกูลให้เลื่อมใส ...ออกนักธรรมเอก อาจจะน ามาออกนักธรรมโทก็ได้ให้เตรียมไปด้วย
·
พระพาหิยทารุจีริยะ ผู้เลิศทางมีขิปปาภิญญาตรัสรู้เร็ว ...ออกนักธรรมเอก อาจจะน ามาออกนักธรรมโทก็ได้ให้เตรียมไปด้วย
·
กิสาโคตมีเถรี ในทางทรงไว้ซึ่งจีวรอันเศร้าหมอง (ภิกษุณี)
·
กุณฑลเกสเถรี ในทางขิปปาภิญญา หรือ ตรส
รู้เร็ว (ภิกษุณี)
·
ภัททกาปิลานีเถรี ในทางระลึกได้ซึ่งปุพเพนิวาส (ภิกษุณี)
·
ภัททากัจจานาเถรี ในทางถึงซึ่งอภิญญาอันใหญ่แล้ว (ภิกษุณี)
·
โสณาเถรี ในทางมีความเพียรปรารภแล้ว (ภิกษุณี)
·
มหาปชาบดีโคตมีเถรี ผรัตตัญญู (ภิกษุณี)
·
ธรรมทินนาเถรี ผู้เลิศในทางธรรมกถึก (ภิกษุณี)
·
อุบลวรรณาเถรี ผู้เลิศในทางมีฤทธิ์ (ภิกษุณี)
·
ปฏาจาราเถรี ผเลิศในทางทรงวินัย (ภิกษุณี)
·
เขมาเถรี ผู้เลิศในทางมีปัญญา (ภิกษุณี) ...ออกนักธรรมเอก อาจจะน ามาออกนักธรรมโทได้ให้เตรียมไปด้วย
·
จิตตคฤหบดี ผู้เลิศในทางธรรมกถึก (ฝ่ายอุบาสก) ...ออกนักธรรมเอก อาจจะน ามาออกนักธรรมโทได้ให้เตรียมไปด้วย
·
นางขุชชุตตรา ผู้เลิศในทางธรรมกถึก (ฝ่ายอุบาสิกา) ...ออกนักธรรมเอก อาจจะน ามาออกนักธรรมโทได้ให้เตรียมไปด้วย
(ปี 64, 58) พระเถระและพระเถรีผู้มีชื่อต่อไปนี้ ได้รับเอตทัคคะในทางไหน?
ก. พระมหากัจจายนะ ข. พระโมฆราช ค. พระราหุล ง. ปฏาจาราเถรี จ. อุบลวรรณาเถรี
ตอบ ก. พระมหากัจจายนะ เป็นเอตทัคคะในทางอธิบายคาย่อให้พิสดาร ข. พระโมฆราช เป็นเอตทัคคะในทางทรงจีวรเศร้าหมอง
ค. พระราหุล เป็นเอตทัคคะในทางผู้ใฝ่ใจศึกษาพระธรรมวินัย ง. ปฏาจาราเถรี เป็นเอตทัคคะในทางทรงวินัย
จ. อุบลวรรณาเถรีเป็นเอตทัคคะในทางมีฤทธิ์ ฯ
(ปี 62) พระโมฆราช และ พระอุบาลี ไดรับการยกย่องว่าเลศในทางไหน?
ตอบ พระโมฆราช ไดรับยกย่องว่าเป็นผู้ทรงจีวรเศร้าหมอง พระอุบาลี ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้ทรงพระวินัย ฯ
(ปี 57) ภิกษุ ภิกษุณี ผู้เอตทัคคะในทางเป็นพระธรรมกถึก คือใคร? ตอบ ภิกษุ คือพระปุณณมันตานีบุตรฯ ภิกษุณี คือนางธรรมทินนาเถรีฯ
พระพุทธเจ้าอุปสมบทให้
·
พระอัญญาโกณฑัญญะ พระพุทธเจ้าตรส
โดยชอบ” เพราะท่านเป็นโสดาบันอยู่
ว่า “จงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์เถิด เพื่อท าที่สุดทุกข
· พระยสะ พระพุทธเจ้าตรส แล้ว
ว่า “จงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์เถิด” เพราะท่านบรรลุพระอรหัตต์
·
พระมหากัสสปะ อุปสมบทด้วยวิธพิเศษ คือ อุปสมบทด้วยวิธีรับพระโอวาท
๓ ข้อ
·
พระนางมหาปชาบดีโคตมี อุปสมบทด้วยวิธีพิเศษ คือ อุปสมบทด้วยวิธีรับครุธรรม
๘
บรรลุ เพราะฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า
·
พระอัญญาโกณฑัญญะ บรรลุพระอรหัตต์เพราะฟัง อนัตตลักขณสูตร
· ยสกุลบุตร บรรลุพระอรหัตต์เพราะฟัง อนุปุพพีกถา ๕
(ทาน ศีล
สวรรค์ โทษแห่งกาม อานิสงส์ของการออกบวช) และอริยสัจ ๔
ณ ป่า อิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี
·
ชฎิล ๓
(พระอุรุเวลกัสสปะ พระนทีกัสสปะ พระคยากัสสปะ) บรรลพระอรหัตต์เพราะฟัง อาทิตตปรย
·
พระมหากัสสปะได้รับอุปสมบทแล้วนาน ๘ วัน จึงบรรลุพระอรหัตต์
ายสูตร
พระสูตร / พระธรรมค˚าสอน
· ธัมมจกรกัปปวัตตนสูตร ว่าด้วยสงิ่
ที่บรรพชิตไม่ควรเสพหรือส่วนสุด ๒
อย่าง คือ
๑.กามสุขัลลิกานุโยค ๒.อัตตกิลมถานุโยค , มัชฌิมาปฏิปทา ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางอริยมรรคมีองค์ 8 และอริยสัจ ๔
=>
แสดงแก่ พระปัญจวัคคีย์
·
อนัตตลักขณสูตร ว่าด้วยเรื่อง ขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น =>
แสดงแก่ พระปัญจวัคคีย์
· อาทิตตปริยายสูตร ว่าด้วยเรื่อง อายตนะภายใน อายตนะภายนอก วิญญาณ ผัสสะ และเวทนาซึ่งเกิดตามล าดับ เป็นของร้อน ร้อน เพราะไฟคือความก าหนัด ความโกรธ ความหลง และร้อนเพราะความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ร ่าไร ร าพัน ความคับแค้นใจ
=> แสดงแก่ ชฎิล ๓ พี่น้อง พร้อมด้วยบริวาร ๑,๐๐๐ คน
· เวทนาปริคคหสูตร มีใจความว่า “ให้พิจารณาร่างกาย ซึ่งมีความแตกท าลายไม่ยั่งยืน และแสดงผลเสียของการยึดมั่น พร้อมกับตรัสให้ ละเลิกทิฏฐิอย่างนั้นเสีย” => แสดงแก่ ทีฆนขปริพาชก ณ ถ ้าสุกรขาตา เขาคิชฌกูฏ แขวงเมืองราชคฤห์ ฯ
(ปี 58) พระธรรมเทศนาที่ได้ชื่อวาอาทิตตปริยายสตร เพราะเหตุไร ? พระพุทธองค์ทรงแสดงแก่ใคร ? ตอบ เพราะแสดงสภาวธรรมเป็นของร้อน
อันเหมาะแก่บุรพจรรยาของผู้ฟัง ฯ แก่พวกปุราณชฎิล ฯ (ปี 56) พระศาสดาทรงแสดงอาทตตปริยายสตรโปรดพวกปุราณชฎิลเพราะเหตุไร?
ตอบ เพราะเป็น พระสตูรที่เหมาะแกบุ่รพจรรยาของพวกปุราณชฎิล ผู้อบรมมาในการบูชาเพลิง ฯ
(ปี 51) อนัตตลักขณสูตร และ อาทิตตปริยายสตร ว่าด้วยเรื่องอะไร? ทรงแสดงแก่ใคร?
ตอบ อนัตตลักขณสูตร ว่าด้วยเรื่อง ขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ทรงแสดง แก่พระปัญจวัคคีย์
อาทิตตปริยายสตร ว่าด้วยเรื่อง สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ร้อนเพราะไฟคือราคะโทสะโมหะ ฯ ทรงแสดงแก่ชฎิล ๓ พี่น้อง พร้อมด้วยบริวาร ๑,๐๐๐ คน ฯ
(ปี 48) ค าที่มีอยู่ในธัมมจักกัปปวตตนสูตรต่อไปนี้ ได้แก่อะไร? ก. ส่วนสุด ๒ อย่าง ข. มัชฌิมาปฏิปทา
ตอบ ก. ส่วนสุด ๒ อย่าง คือ ๑. กามสขัลลิกานุโยค ความหมกมุ่นอยู่ในกาม ๒. อัตตกิลมถานุโยค ความท าตนให้ล าบาก ข. มัชฌิมาปฏิปทา ได้แก่ข้อปฏิบัติสายกลาง คือ มรรคมีองค์ ๘ ฯ
พระปัญจวัคคีย์ (โกณฑัญญะ วปปะ ภัททิยะ มหานามะ อัสสชิ)
(ปี 62, 60, 44) พระปัญจวัคคีย์ได้ส าเร็จเป็นพระอรหันต์ ด้วยพระธรรมเทศนาชื่ออะไร ? ความย่อว่าอย่างไร ? ตอบ ชื่อ อนัตตลักขณสตร ฯ ความย่อว่า รูป เวทนา สญญา สังขาร วิญญาณ ไมเที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯ (ปี 54) ภิกษุผู้รัตตัญญู ย่อมมีคุณสมบัตเช่นไร จึงพ้นจากค าต าหนิว่า โตเพราะกินข้าว เฒ่าเพราะบวชนาน?
ตอบ ย่อมเป็นผู้เก่าแก่ ได้พบเห็นและสันทดในกิจการของคณะ ย่อมอาจจัด อาจท าให้ส าเรจด้วยตนเองหรือบอกเล่าแนะน าผู้อื่น เป็นเจ้าแบบเจ้า แผนดุจผู้รักษาคลังพัสดุ
(ปี 52) เอหิภิกขุอุปสัมปทาที่ประทานแก่พระปัญจวัคคีย์ และพระยสะต่างกันอย่างไร เพราะเหตุไร? ตอบ ต่างกันคือที่ประทานแก่พระปัญจวัคคีย์มค
าว่า เพื่อท าที่สุดทุกข์โดยชอบ ส่วนที่ประทานแก่พระยสะไม่มีค าว่า เพื่อท าที่สุดทุกข์โดยชอบ เพราะพระยสะได้ถึงที่สุดทุกข์แล้ว ฯ
(ปี 52) พระปัญจวัคคีย์องค์ไหนบ้างได้ศิษย์ดมีความส าคัญต่อพระศาสนา ศิษย์นั้นชื่ออะไรและเป็นผเู้ ลิศในทางด้านใด? ตอบ พระอัญญาโกณฑัญญะ ได้พระปุณณมันตานีบุตรเป็นศิษย์เป็นผู้เลศในทางธรรมกถึก พระอัสสชิได้พระสารีบุตรเป็นศิษย์ เป็นผู้เลิศในทางมีปัญญามาก ฯ
(ปี 52) พระปัญจวัคคีย์ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์พร้อมกัน แต่พระอัญญาโกณฑัญญะได้รับยกย่องเป็นปฐมสาวก เพราะเหตุไร?
ตอบ เพราะพระอัญญาโกณฑัญญะเป็นผู้ได้ดวงตาเห็นธรรมก่อนและได้รับอุปสมบทก่อนองค์อื่น
(ปี 51) ปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ท่าน ได้ดวงตาเห็นธรรมก่อนหลังกันอย่างไร? ตอบ ท่านโกณฑัญญะ ได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นองค์แรก ต่อมาท่านวัปปะ
และท่านภัททิยะจึงได้ และต่อมาท่านมหานามะและท่านอสสชิจึงได้ตามล าดับ ฯ
(ปี 47) พระวาจาว่า ท่านจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากล่าวดแล้ว ท่านจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อท าทสี่ ุดทุกข์โดยชอบเถิด ดังนี้ ค าว่า ที่สุด
ทุกข์ คืออะไร? ผู้ท าที่สุดทุกข์ได้ก่อนกว่าผู้อื่นคือใคร? ด้วยพระธรรมเทศนาอะไร?
ตอบ คือ พระอรหัตผล ฯ คือ พระภิกษุปัญจวัคคีย์ ฯ ด้วยพระธรรมเทศนาชื่อว่า อนัตตลักขณสูตร ฯ
·
พระอัญญาโกณฑัญญะ
(ปี 64, 59) เอหิภิกขุอุปสัมปทาที่ประทานแก่พระโกณฑัญญะ และพระยสะต่างกันอย่างไร เพราะเหตุไร? ตอบ ต่างกันคือที่ประทานแก่พระโกณฑัญญะมีค าว่า เพื่อท าที่สดทุกข์โดยชอบ ส่วนที่ประทานแก่พระยสะไม่มีค าว่า เพื่อท าที่สุดทุกข์โดยชอบ ฯ
เพราะพระโกณทัญญะยังไม่ถึงที่สุดทุกข์ ส่วนพระยสะได้ถึงที่สุดทุกข์แล้ว ฯ
(ปี 63) โกณทัญญพราหมณ์ มีเหตุจูงใจอะไร จึงได้ออกบวชตามพระมหาบุรุษ ?
ตอบ เพราะเคยเข้าร่วมท านายพระลักษณะของพระมหาบุรุษโดยเชื่อมั่นว่า จะได้ตรสรู้เป็นพระพุทธเจ้าแน่นอน จึงออกบวชตามด้วยหวังว่า เมื่อ
พระมหาบุรุษตรสรู้แล้วจักทรงเทศนาโปรดตนให้รตาม ฯ
(ปี 61) พระอนุพุทธองค์แรก คือใคร ? ได้ดวงตาเห็นธรรมเพราะฟังพระธรรมเทศนาชื่ออะไร ?
ตอบ คือพระอัญญาโกณฑัญญะ ฯ เพราะฟังธรรมจักกัปปวัตตนสูตร ฯ
(ปี 58) อนุพุทธองค์แรก คือใคร ? ส าเร็จเป็นพระอรหันต์เพราะฟังพระธรรมเทศนาชื่ออะไร ?
ตอบ คือ พระอัญญาโกณฑัญญะ ฯ ชื่ออนัตตลักขณสูตร ฯ
(ปี 55) พระอัญญาโกณฑัญญะ กบพระอุรุเวลกัสสปะทูลขอบวชในพระศาสนาโดยมีมลเหตุความเป็นมาต่างกันอย่างไร?
ตอบ ต่างกันอย่างนี้ พระอัญญาโกณฑฑัญญะได้ธรรมจักษุ คือดวงตาเห็นธรรม ที่ท่านกล่าวว่าเป็นพระโสดาบัน มีศรัทธาในพระศาสนามั่นคงแล้ว จึงขอบวช ฯ พระอุรุเวลกัสสปะได้ปรีชาหยั่งเห็นว่าลัทธิของตนหาแก่นสารไม่ได้หลงถือตนว่า เป็นผู้วิเศษ แต่หาเป็นเช่นนั้นไม่ ได้ความสลดใจจึง ลอยบริขารชฏิลของตนเสียแล้วจึงขอบวช ฯ
(ปี 55) พระวาจาที่ตรสให้อุปสมบทแก่พระอัญญาโกณฑัญญะ และพระยสะเหมือนกันหรือต่างกัน? เพราะเหตุไร?
ตอบ เหมือนกันตรงที่ทรงรับเข้าสพรหมจรรย์ ว่า “จงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์เถิด”
ต่างกันที่พระอัญญาโกณฑัญญะ มีพระพุทธด ารสต่อท้ายว่า “เพื่อท าที่สุดทุกข์โดยชอบ” เพราะท่านยังไม่บรรลุพระอรหัตต
ส่วนพระยสะ ไม่มีค าว่า “เพื่อท าที่สุดทุกข์โดยชอบ” เพราะท่านบรรลุพระอรหัตต์แล้ว ฯ
(ปี 54) พระอัญญาโกณฑัญญะส าเร็จเป็นพระอรหันต์หลังจากบวชเป็นพระภิกษุแล้วกี่วัน? ส าเร็จเพราะฟังพระธรรมเทศนาชื่ออะไร?
ตอบ ๕ วัน ฯ ชื่อ อนัตตลักขณสูตร ฯ
(ปี 53) พระอัญญาโกณฑัญญะมีมูลเหตุจูงใจอะไร จึงได้ออกบวชตามอุปัฏฐากพระมหาบุรุษขณะบ าเพ็ญทุกรกิริยา?
ตอบ เพราะได้เคยเข้าร่วมท านายพระลักษณะของพระมหาบุรุษโดยเชื่อมั่นว่าจะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า จึงตามอุปัฏฐากด้วยหวังว่า เมื่อพระมหา
บุรุษตรสรู้ จักทรงเทศนาโปรด ฯ
(ปี 50) พระอัญญาโกณฑัญญะ ชอเดิมว่าอะไร? เกิดที่ไหน? เรียนจบอะไร ? ท าไมจึงได้ชื่ออัญญาโกณฑัญญะ ?
ตอบ ชื่อเดิมว่าโกณฑัญญะ ฯ เกิดที่บ้านพราหมณ์ชื่อโทณวัตถุ อยู่ไม่ห่างจากกรุงกบิลพัสดุ์ ฯ เรียนจบไตรเพทและรู้ต าราท านายลักษณะ ฯ เพราะอาศัยพระอุทานว่า อญฺญาสิ ที่แปลว่า ได้รู้แล้ว ที่พระผมีพระภาคเจ้าทรงเปล่งเมื่อท่านโกณฑัญญะได้ดวงตาเห็นธรรม ฯ
(ปี 49) พระอัญญาโกณฑัญญะ ใคร่ครวญดูตามประวัติ ความเชื่อถือของท่านหนักไปทางไหน ในต าราทายลักษณะหรือในอัตตกิลมถานุโยค
ปฏิบัติ? ขอฟังเหตุผล ตอบ เห็นว่าหนักไปในอัตตกิลมถานุโยคปฏิบัติ เหตผลคือ เดิมท่านเชื่อต าราแน่ใจ จึงบวชตามและเฝ้าอุปัฏฐาก ครั้นเห็นทรง
เลิกทุกรกิริยา ก็สิ้นหวังนี่ก็เพราะเชื่อมั่นในอัตตกิลมถานุโยคปฏิบัติว่า เลิกเสียเป็นอันไม่สาเรจ เมื่อพระองค์ตรัสบอกว่า ส าเร็จแล้ว ก็คัดค้านไม่
เชื่อถือ อาการที่คัดค้านและพูดถ้อยค าที่แสดงอคารวะนั้น เป็นเครื่องยืนยันความเห็นดังกล่าว ฯ
(ปี 46) อนุพุทธองค์แรกส าเรจเป็นพระภิกษุด้วยพระพุทธด ารัสว่าอย่างไร? อนุพุทธองค์นั้นได้เป็นพระโสดาบันและได้เป็นพระอรหันต์ เพราะได้ฟัง
พระธรรมเทศนาอะไร? ตอบ ด้วยพระพุทธด ารสว่า “ ท่านจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากล่าวดแล้ว ท่านจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อท าที่สุด
ทุกข์โดยชอบเถิด ” ฯ ได้เป็นพระโสดาบัน เพราะได้ฟังธัมมจักกัปปวัตตนสตร และได้เป็นพระอรหันต์ เพราะได้ฟังอนัตตลักขณสูตร ฯ
(ปี 43) พระโกณฑัญญะได้เกิดความรู้เห็นอย่างไรก่อน จึงนับว่าเป็นปฐมอริยสาวก? ท่านได้รับเกียรตยศเป็นพิเศษเพราะเหตุนี้อย่างไรบ้าง?
ตอบ ได้เกิดความรเห็นว่า
สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา
สงิ่ นั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา
คือไดดวงตาเห็นธรรม (ธรรมจักษุ) แล้ว ทูลขอบวชกับพระพุทธองค์ จึงนับได้ว่าเป็นปฐมอริยสาวกในพระศาสนา ฯ
เมื่อท่านเกิดความรู้เห็นดังนี้ พระบรมศาสดาจึงทรงเปล่งอุทาน ว่า "อญฺญาสิ วต โภ โกณฑญฺโญ อญฺญาสิ วต โภ โกณฺฑญฺโญ” แปลว่า โกณฑัญญะ ได้รู้แล้วหนอๆ แต่นั้นมา ท่านมีนามว่า อัญญาโกณฑัญญะ ข้อนี้เป็นเกียรติยศพิเศษส าหรับท่านผู้เป็นปฐมอริยสาวก ฯ
·
พระอัสสชิ
(ปี 64, 57, 45) พระอัสสชิได้แสดงธรรมแก่อุปติสสปริพาชก มีใจความย่อว่าอย่างไร?
ตอบ มีใจความย่อว่า “ธรรมใดเกิดแต่เหตุ พระศาสดาทรงแสดงเหตุแห่งธรรมนั้น และความดับแห่งธรรมนั้น พระศาสดาตรัสสอนอย่างนี้” ฯ
(ปี 53) มารยาทดีมีความส ารวมยอมเป็นศรีของสมณะ สามารถจะปลูกศรัทธา เลื่อมใสให้เกิดแก่ผู้พบเห็น นี่เป็นปฏิปทาจริยาวัตรของพระสาวก รูปใด? จงเล่าประวัติของท่านโดยย่อ
ตอบ ของพระอัสสชิเถระ ฯ ท่านเป็นหนึ่งในพระปัญจวัคคีย์ ได้ฟังพระธรรมเทศนาจนได้บรรลุพระอรหัตแล้ว ได้เป็นก าลังในการประกาศพระ ศาสนา อุปติสสปริพาชกพบเห็นแล้วเกิดความเลื่อมใส ขอฟังธรรมจากท่าน แล้วได้เข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา ฯ
(ปี 51) อุปติสสปริพาชกเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเพราะได้ฟังธรรมจากใคร? มีใจความว่าอย่างไร?
ตอบ จากพระอัสสชิ ฯ มีใจความว่า พระศาสดาทรงแสดงความเกิดแห่งธรรมทั้งหลาย เพราะเป็นไปแห่งเหตุ และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น เพราะดับแห่งเหตุ พระศาสดาตรัสอย่างนี้ ฯ
(ปี 48) ความเป็นผู้ส ารวมกิริยาอาการให้เรยบร้อยดีงามสมความเป็นสมณะ เป็นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาได้ทางหนึ่ง ในข้อนี้มีปฏิปทาของพระ สาวกองค์ใดเป็นตัวอย่าง? จงเล่าประวัติโดยสังเขปมาประกอบ
ตอบ พระอรหันตสาวกทุกรูปล้วนเป็นผู้สารวมกิริยาอาการเรียบร้อยดีงามทั้งสิ้น แต่ที่ได้รับยกย่องเป็นพิเศษคือพระอัสสชิเถระ ท่านมีกิรยาอาการ ที่น่าเลื่อมใส เป็นเหตุให้อุปติสสปริพาชกเห็นแล้วเกิดศรัทธา เข้าไปหา ขอฟังธรรมจนได้บรรลุโสดาปัตติผล ภายหลังยังชักชวนสหายของตนเข้ามา บวชในพระธรรมวินัย ได้เป็นก าลังส าคัญช่วยพระศาสดาเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เจรญรุ่งเรืองกว้างขวางและมั่นคงอย่างรวดเร็ว ฯ
(ปี 44) ค าถามว่า " ผู้มีอายุ อินทรีย์ของท่านหมดจดผ่องใส ท่านบวชจ าเพาะใคร ใครเป็นศาสดาผส ค าถามของใคร? ใครเป็นผตอบ? ตอบว่าอย่างไร?
อนของท่าน ท่านชอบใจธรรมของใคร " เป็น
ตอบ อุปติสสปริพาชก ฯ พระอัสสชิเป็นผตอบ ตอบว่า " ผู้มีอายุ เราบวชจ าเพาะพระม👉าสมณะ ผู้เป็นโอรสศากยราชออกจากศากยสกุล ท่าน เป็นศาสดาของเรา เราชอบใจธรรมของท่าน "
ยสกุลบุตร
(ปี 64, 59) เอหิภิกขุอุปสัมปทาที่ประทานแก่พระโกณฑัญญะ และพระยสะต่างกันอย่างไร เพราะเหตุไร? ตอบ ต่างกันคือที่ประทานแก่พระโกณฑัญญะมีค าว่า เพื่อท าที่สดทุกข์โดยชอบ ส่วนที่ประทานแก่พระยสะไม่มีค าว่า เพื่อท าที่สุดทุกข์โดยชอบ ฯ
เพราะพระโกณทัญญะยังไม่ถึงที่สุดทุกข์ ส่วนพระยสะได้ถึงที่สุดทุกข์แล้ว ฯ
(ปี 64, 58) “ที่นี่วุ่นวายหนอ ที่นี่ขัดข้องหนอ” เป็นค าอุทานของใคร ? เพราะเหตุใดจึงอุทานอย่างนั้น ?
ตอบ ของยสกุลบุตร ฯ เพราะเห็นหมู่ชนบริวารนอนหลับมีอาการพิกลต่าง ๆ ดุจซากศพที่ทิ้งอยู่ในป่าช้า เกิดความสลดใจ คิดเบื่อหน่าย ฯ
(ปี 63, 54) พระพุทธองค์ทรงแสดงอนุปุพพีกถาแก่ใครเป็นคนแรก? อนุปุพพีกถานั้นกล่าวถึงเรื่องอะไร ?
ตอบ แสดงแก่ยสกุลบุตรเป็นคนแรก ฯ กล่าวพรรณนาทานการให้
แล้วพรรณนาศีลความรักษากายวาจาเรียบร้อย พรรณนาสวรรค์คือกามคุณ ที่บุคคลใคร่ซึ่งจะพึงได้พึงถึงด้วยกรรมอันดีคือทานและศีล พรรณนาโทษแห่งกาม และพรรณนาอานิสงส์แห่งความออกไปจากกาม ฯ
(ปี 62, 53) ยสกุลบุตรได้ฟังธรรมจากพระศาสดาเป็นครั้งแรก ณ ที่ไหน ? ธรรมนั้นมีชื่อว่าอะไร ?
ตอบ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ฯ อนุปุพพีกถาและอรยสัจ ๔ ฯ
(ปี 60, 46) อนุปุพพีกถา คืออะไร ? ทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระพุทธประสงค์อย่างไร ? พระสาวกผู้ได้ฟัง อนุปุพพีกถา ครั้งแรกคือใคร? ณ ที่ไหน?
ตอบ คือ ถ้อยค าที่กล่าวโดยล าดับ ฯ ด้วยพระพุทธประสงค์เพื่อฟอกจิตกุลบุตรให้ห่างไกลจากความยินดีในกาม ควรรับพระธรรมเทศนาให้เกิด
ธรรมจักษุ เหมือนผ้าที่ปราศจากมลทิน ควรรับน ้าย้อมได้ ฉะนั้น ฯ คือ ยสกุลบุตร ฯ ณ ป่าอสิปตนมฤคทายวัน ฯ
(ปี 55) พระวาจาที่ตรสให้อุปสมบทแก่พระอัญญาโกณฑัญญะ และพระยสะเหมือนกันหรือต่างกัน? เพราะเหตุไร?
ตอบ เหมือนกันตรงที่ทรงรับเข้าสพรหมจรรย์ ว่า “จงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์เถิด”
ต่างกันที่พระอัญญาโกณฑัญญะ มีพระพุทธด ารสต่อท้ายว่า “เพื่อท าที่สุดทุกข์โดยชอบ” เพราะท่านยังไม่บรรลุพระอรหัตต
ส่วนพระยสะ ไม่มีค าว่า “เพื่อท าที่สุดทุกข์โดยชอบ” เพราะท่านบรรลุพระอรหัตต์แล้ว ฯ
(ปี 52) เอหิภิกขุอุปสัมปทาที่ประทานแก่พระปัญจวัคคีย์ และพระยสะต่างกันอย่างไร เพราะเหตุไร?
ตอบ ต่างกันคือที่ประทานแก่พระปัญจวัคคีย์มค าว่า เพื่อท าที่สุดทุกข์โดยชอบ ส่วนที่ประทานแก่พระยสะไม่มีค าว่า เพื่อท าที่สุดทุกข์โดยชอบ ส่วน ที่ประทานแก่พระยสะไม่มีค าว่า เพื่อท าที่สุดทุกข์โดยชอบ เพราะพระยสะได้ถึงที่สุดทุกข์แล้ว ฯ
(ปี 51) พระสาวกผู้สาเรจเป็นพระอริยบุคคลเพราะฟังธรรมเทศนาเรื่องเดียวซ ้า ๒ ครั้ง คือใคร? ธรรมเทศนาเรื่องอะไร?
ตอบ คือ พระยสะ ฯ เรื่อง อนุปุพพีกถาและอริยสัจ ๔ ฯ
(ปี 50) เศรษฐีบิดาพระยสะออกติดตามหาพระยสะให้กลับบ้าน แต่เหตุไฉนเมื่อพบแล้วจึงมิได้น ากลับไปตามความประสงค์เดม ทราบว่า พระยสะบรรลุเป็นพระอรหันต์แล้ว ไม่ควรเพื่อจะกลับไปครองเรือนอีกต่อไป ควรจะออกบวชเป็นพระภิกษุ ฯ
(ปี 49) พระยสะมมารดาบิดาตั้งภูมิล าเนาอยู่ที่ไหน? ออกบวชเพราะเหตุไร?
? ตอบ เพราะได้
ตอบ อยู่ที่เมืองพาราณสี ใกล้ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ฯ เพราะมีความเบื่อหน่ายในการครองฆราวาส เนื่องจากได้เห็นอาการของพวกชนบริวารอัน วิปริตไปโดยอาการต่างๆ ไม่เป็นที่ตั้งแห่งการยังจิตให้เพลิดเพลิน จึงได้เดินออกจากเรือนไปพบพระพุทธองค์ได้ฟังพระธรรมเทศนาจนบรรลุเป็น พระอรหันต์ จึงได้ออกบวช ฯ
(ปี 47) พระพุทธเจ้าทรงท าอิทธาภิสังขารแก่ใครเป็นครั้งแรก? ทรงท าเช่นนั้นด้วยพระพุทธประสงค์อย่างไร?
ตอบ ทรงท าแก่ ยสกุลบุตรและบิดาของยสกุลบุตรเป็นครั้งแรก ฯ ด้วยพระพุทธประสงค์เพื่อให้ยสกุลบุตรพิจารณาภูมิธรรมอันตนได้เห็นแล้ว จนถึงได้บรรลุพระอรหัต และให้บิดาได้ฟังธรรมแล้วบรรลุพระโสดาปัตติผล ฯ
ชฎิล ๓ (พระอุรุเวลกัสสปะ พระนทีกัสสปะ พระคยากัสสปะ)
(ปี 63, 55) ชฎิล ๓ พี่น้อง มีชื่ออะไรบ้าง? ได้บรรลุพระอรหัตตเพราะฟังพระธรรมเทศนาชื่ออะไร?
ตอบ พระอุรุเวลกัสสปะ พระนทีกัสสปะ พระคยากัสสปะฯ ฟังอาทิตตปริยายสตร ฯ
(ปี 61) ชฎิล ๓ พี่น้อง ตั้งอาศรมบูชาไฟอยู่ ณ สถานที่ใด ?
ตอบ ๑. อุรุเวลกัสสปะ ตั้งอาศรมอยู่ที่ต าบลอุรุเวลา ๒. นทีกัสสปะ ตั้งอาศรมอยู่ล าน ้าอ้อมหรือคุ้งแห่งแม่คงคา
๓. คยากัสสปะ ตั้งอาศรมอยู่ที่ต าบลคยาสีสะ ฯ
(ปี 56) พระศาสดาทรงแสดงอาทตตปริยายสตรโปรดพวกปุราณชฎิลเพราะเหตุไร?
ตอบ เพราะเป็น พระสูตรที่เหมาะแก่บุรพจรรยาของพวกปุราณชฎิล ผู้อบรมมาในการบูชาเพลิง ฯ
(ปี 52) ชฎิล ๓ พี่น้องต่างละลัทธของตน บวชเป็นภิกษุในพระพุทธศาสนาเพราะเหตุใด?
ตอบ อุรุเวลกัสสปะ ถือตัวว่าเป็นผู้วิเศษ แต่พระพุทธเจ้าทรงใช้อิทธิปาฏิหาริย์และอาเทสนาปาฏิหาริย์ทรมานจนถอนทิฏฐิมานะ ได้ปรช
าหยั่งเห็น
ว่าลัทธิของตนหาแก่นสารมิได้ ตนมิได้เป็นผู้วิเศษแต่ประการใด ได้ความสลดใจ จึงทูลขออุปสมบท ส่วนนทีกัสสปะและคยากัสสปะ เห็นพี่ชายถือ เพศเป็นภิกษุ ถามทราบความว่าพรหมจรรย์นี้ประเสริฐ จึงเข้าไปเฝ้าพระพุทธเจ้าทูลขออุปสมบท ฯ
(ปี 51) อนัตตลักขณสตร และ อาทิตตปริยายสตร ว่าด้วยเรื่องอะไร? ทรงแสดงแก่ใคร?
ตอบ อนัตตลักขณสูตร ว่าด้วยเรื่อง ขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ทรงแสดง แก่พระปัญจวัคคีย์
อาทิตตปริยายสตร ว่าด้วยเรื่อง สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ร้อนเพราะไฟคือราคะโทสะโมหะ ฯ ทรงแสดงแก่ชฎิล ๓ พี่น้อง พร้อมด้วยบริวาร ๑,๐๐๐ คน ฯ
(ปี 46) ชฎิล ๓ พี่น้อง ชื่ออะไรบ้าง? ใครได้รับยกย่องว่าเป็นผู้มีบรวารมาก? ท่านเหล่านั้นพร้อมบริวารได้บรรลอรหัต เพราะฟังพระธรรมเทศนาอะไร? ใจความย่อว่าอย่างไร?
ตอบ ชื่อ อุรุเวลกัสสปะ นทีกัสสปะ และคยากัสสปะ ฯ อุรุเวลกัสสปะ ฯ เพราะฟังอาทิตตปริยายสูตร ฯ
ใจความย่อว่า อายตนะภายใน อายตนะภายนอก วิญญาณ ผสสะ และเวทนาซึ่งเกิดตามล าดับ เป็นของร้อน ร้อนเพราะไฟคือความก าหนัด
ความโกรธ ความหลง และร้อนเพราะความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ร ่าไร ร าพัน ความคับแค้นใจ ฯ
·
พระอุรุเวลกัสสปะ
(ปี 64, 48) พระสาวกผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้มีบริวารมาก คือใคร? เพราะท่านมีคุณธรรมอะไร?
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น