ตอบ คือ พระอุรุเวลกัสสปะ ฯ เพราะท่านรู้จักสงเคราะห์บริวารด้วยอามิสบ้าง ด้วยธรรมบ้าง จึงเป็นที่รักใคร่นับถือ สามารถยึดเหนี่ยวน ้าใจบริวาร ไว้ได้ ฯ
(ปี 62, 49) ความเป็นผมีบริวารมาก เป็นผลมาจากอะไร ? พระสาวกองค์ใดได้รับการยกย่องว่าเลิศในทางนี้ ? ตอบ เป็นผลมาจากความรู้จักเอาใจบริษัท รู้จักสงเคราะห์ด้วยอามิสบ้าง ด้วยธรรมบ้าง ฯ พระอุรุเวลกัสสปะ ฯ (ปี 60) พระสาวกผู้ได้รบยกย่องว่าเป็นผู้มีบริวารมาก คือใคร ? ท่านท าอย่างไร จึงมีบริวารมากอย่างนั้น ?
ตอบ คือพระอุรุเวลกัสสปะฯ ท่านรู้จักสงเคราะห์บริวารด้วยอามิสบ้างด้วยธรรมบ้างจึงเป็นที่รักใคร่นับถือ สามารถยึดเหนี่ยวน้าใจบริวารไว้ได้ฯ
(ปี 59) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องใครว่าเป็นผู้มีบริวารมาก ? เพราะเหตุไร ?
ตอบ พระอุรุเวลกัสสปะ ฯ เพราะเหตุที่ท่านเป็นผู้รู้จักเอาใจบริวาร รู้จักสงเคราะห์ด้วยธรรมบ้าง ด้วยอามิสบ้าง ผู้ประกอบด้วยคุณสมบัตินี้ ย่อม เป็นผู้สามารถควบคุมบริวารใหญ่ไว้ได้ ฯ
(ปี 55) พระอัญญาโกณฑัญญะ กบพระอุรุเวลกัสสปะทูลขอบวชในพระศาสนาโดยมีมลเหตุความเป็นมาต่างกันอย่างไร?
ตอบ ต่างกันอย่างนี้ พระอัญญาโกณฑฑัญญะได้ธรรมจักษุ คือดวงตาเห็นธรรม ที่ท่านกล่าวว่าเป็นพระโสดาบัน มีศรัทธาในพระศาสนามั่นคงแล้ว จึงขอบวช ฯ
พระอุรุเวลกัสสปะได้ปรีชาหยั่งเห็นว่าลัทธิของตนหาแก่นสารไม่ได้หลงถือตนว่า เป็นผู้วิเศษ แต่หาเป็นเช่นนั้นไม่ ได้ความสลดใจจึงลอยบริขารชฏิล ของตนเสียแล้วจึงขอบวช ฯ
(ปี 53) พระสาวกผู้ได้รบยกย่องว่าเป็นผู้มีบริวารมากคือใคร? ท่านมีบริวารมากเพราะเหตุไร ?
ตอบ พระอุรุเวลกัสสปะ ฯ เพราะท่านรู้จักเอาใจบริษัท รู้จักสงเคราะห์ด้วยอามิสบ้าง ด้วยธรรมบ้าง ฯ
(ปี 50) พระอุรุเวลกัสสปะบวชเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา เพราะเหตุใด? พระพุทธองค์ทรงพาท่านไปกรุงราชคฤห์ด้วย เพราะทรงมีพุทธ ประสงค์อย่างไร?
ตอบ พระอุรุเวลกัสสปะเห็นอภินิหารของพระพุทธองค์หลายประการ จนถอนทิฏฐิมานะของตน เห็นว่าลัทธิของตนหาแก่นสารมิได้ และตนก็มิได้ เป็นผู้วิเศษ ได้ความสลดใจ จึงทูลขออุปสมบทฯ ทรงมีพุทธประสงค์จะปลูกศรัทธาแก่มหาชน เพราะท่านเป็นที่นับถือของมหาชนมานานฯ
(ปี 49) ความเป็นผู้มีบริวารมาก เป็นผลมาจากอะไร? และดีอย่างไร? พระสาวกองค์ใดได้รับการยกย่องว่าเลิศในทางนี้?
ตอบ เป็นผลมาจากความรู้จักเอาใจบริษัท รู้จักสงเคราะห์ด้วยอามิสบ้าง ด้วยธรรมบ้าง ฯ
ดีอย่างนี้คือ ภิกษุผู้ประกอบด้วยคุณสมบัติเห็นปานนี้ ย่อมเป็นผู้อันบริษัทรักใคร่นับถือ สามารถควบคุมบริษัทไว้อยู่ เป็นผู้อันจะพึงปรารถนาใน สาวกมณฑล ฯ พระอุรุเวลกัสสปะ ฯ
(ปี 44) พระสาวกรูปใดที่ได้รับยกย่องจากพระศาสดาว่า เป็นยอดแห่งภิกษุผู้มีบริวารมาก? ความเป็นผู้มีบริวารมากนั้น เป็นผลเกิดจากอะไร?
ตอบ พระอุรุเวลกัสสปะ ฯ เกิดจากเหตุ คือความรู้จักเอาใจบริษัท รู้จักสงเคราะห์ด้วยอามิสบ้าง ด้วยธรรมบ้าง ฯ
พระสารีบุตร (อุปติสสะ) /
พระโมคคัลลานะ(โกลิตะ)
· พระสารีบุตร เกิดที่หมู่บ้านอุปติสคาม ต าบลนาลันทา กรุงราชคฤห์ แขวงมคธ บรรลโสดาปัตติผล เพราะฟังธรรมจากพระอัสสชิ
หลังบวชได้ ๑๕ วัน บรรลุอรหัตตผล เพราะฟังเวทนาปริคคหสตร ณ ถ ้าสุกรขาตา ภูเขาคิชฌกูฏ กรุงราชคฤห์ ท่านนิพพานที่บ้านเกิด ต าบลนาลนทา กรุงราชคฤห์ แขวงมคธ อัฐิธาตุของท่านบรรจุไว้ที่เจดีย์ใกล้ซุ้มประตูแห่งวัดเชตวัน
· พระโมคคัลลานะ เกิดที่หมู่บ้านโกลิตคาม ต าบลโกลตคาม กรุงราชคฤห์ แขวงมคธ บรรลโสดาปัตติผล เพราะฟังธรรมจากอุปติสสะ
หลังบวชได้ ๗ วัน บรรลุอรหัตตผล ณ บ้านกัลลวาลมุตตคาม แขวงมคธ(ก่อนพระสารีบุตร ๘ วัน) ท่านนิพพานหลังพระสารีบุตร ๑๕ วัน ณ ต าบลกาฬศิลา แขวงมคธ อัฐิธาตุของท่านบรรจุไว้ที่เจดีย์ใกล้ซุ้มประตูแห่งวัดเวฬุวัน
(ปี 64, 57, 45) พระอัสสชิได้แสดงธรรมแก่อุปติสสปริพาชก มีใจความย่อว่าอย่างไร?
ตอบ มีใจความย่อว่า “ธรรมใดเกิดแต่เหตุ พระศาสดาทรงแสดงเหตุแห่งธรรมนั้น และความดับแห่งธรรมนั้น พระศาสดาตรัสสอนอย่างนี้” ฯ
(ปี 63 ,59, 43) พระพุทธองค์ทรงยกย่องพระสารบุตรคู่กับพระโมคคัลลานะโดยอุปมาไว้อย่างไร? ที่ตรัสอุปมาไว้อย่างนั้นเพราะเหตุไร? ตอบพระพุทธองค์ตรัสอุปมาว่า พระสารีบุตรเปรียบเหมือนมารดาผให้ทารกเกิด พระโมคคัลลานะเปรียบเหมือนนางนมผู้เลี้ยงทารกนั้นที่เกิดแล้วฯ ที่ตรัสอุปมาไว้อย่างนั้นเพราะพระสารีบุตรย่อมแนะน าให้ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล พระโมคคัลลานะย่อมแนะน าให้ตั้งอยู่ในคุณเบื้องบนที่สงู กว่านั้นฯ (ปี 62, 60, 48) ธรรมเสนาบดี และ นวกัมมาธิฏฐายี เป็นนามของพระสาวกองค์ใด ? เพราะเหตุไรจึงมีนามเช่นนั้น ?
ตอบ ธรรมเสนาบดี เป็นนามของพระสารีบุตรเถระ เพราะท่านเป็นก าลังส าคญยิ่งในการประกาศพระพุทธศาสนา ฯ
นวกัมมาธิฏฐายี เป็นนามของพระโมคคัลลานเถระ เพราะท่านเป็นผสามารถก ากับดูแลการก่อสร้าง ฯ
(ปี 61) พระสาวกองค์ใด เมื่อทราบว่าพระอาจารย์ของตนอยู่ในทิศใด ก็นอนหันศีรษะไปทางทิศนั้น ? การปฏิบัติเช่นนั้นจัดเป็นคุณธรรมอะไร?
ตอบ พระสารีบุตร ฯ จัดเป็นกตัญญู ฯ
(ปี 60, 52) “คนเหล่านี้ทั้งหมดยังไม่ทันถึง ๑๐๐ ปี ก็จักไมมีเหลือจักล่วงไปหมด ดูการเล่นไม่มีประโยชน์อะไร ควรขวนขวายหาธรรมเครื่องพ้น ดีกว่า” นี่เป็นค าพูดของใครพูดกะใคร? ตอบ ของอุปติสสมาณพ พูดกะโกลิตมาณพ ฯ
(ปี 58) โกลตะถามอุปติสสะว่า “ดูท่านไมสนุกเหมือนในวันอื่น วันนี้ดูใจเศร้า ท่านเป็นอย่างไรหรือ ?” อุปติสสะตอบว่าอย่างไร ?
ตอบ ตอบว่า “โกลิตะ อะไรที่ควรดูในการเล่นนี้มีหรือ ? คนเหล่านี้ทงั้ หมดยังไม่ทันถึง ๑๐๐ ปี ก็จักไม่มีเหลือ จักล่วงไปหมด ดูการเล่นไม่มี ประโยชน์อะไร ควรขวนขวายหาธรรมเครื่องพ้นดีกว่า” ฯ
(ปี 58) พระโอวาทว่า “เราจักไม่ชูงวง เข้าไปสู่สกุล” พระพุทธองค์ตรัสแก่พระสาวกองค์ใด? ที่ไหน?
ตอบ แก่พระมหาโมคคัลลานะ ฯ ที่บ้านกัลลวาลมุตตคาม แคว้นมคธ ฯ
(ปี 56) พระสาวกรูปใดได้รับยกย่องจากพระศาสดาว่าเป็นผู้กตัญญกตเวที? จงแสดงตัวอย่างมาสัก ๒ เรื่อง
ตอบ พระสารีบุตรเถระ ฯ
เรื่องที่ ๑ พระสารีบุตรนับถือพระอัสสชิเป็นอาจารย์ เมื่ออาจารย์อยู่ในทิศใด ก่อนจะนอน ท่านจะนมัสการและนอนหันศีรษะไปทางทิศนั้น เรื่องที่ ๒ พระสารีบุตรระลึกถึงอุปการะของราธพราหมณ์ที่เคยถวายภิกษาแก่ท่านทัพพีหนึ่ง ฯ
(ปี 54) พระสารีบุตรได้รับการสรรเสริญว่าเป็นผู้กตัญญูกตเวที จงเล่าเรื่องมาประกอบสัก ๑ เรื่อง เพื่อยืนยันค ากล่าวนี้ (ให้ตอบเพียง ๑ เรื่อง) ตอบ เรื่องที่ ๑ พระสารีบุตรนับถือพระอัสสชิเป็นอาจารย์ เมื่ออาจารย์อยู่ในทิศใด ก่อนจะนอน ท่านจะนมัสการและนอนหันศีรษะไปทางทิศนั้น ฯ เรื่องที่ ๒ ราธพราหมณ์เสียใจมีร่างกายซูบซีดเพราะไม่ได้อุปสมบทตามปรารถนาพระศาสดาทรงทราบความแล้วตรัสถามภิกษุทั้งหลายว่า มีใคร
ระลึกถึงอุปการะของราธะได้บ้าง, พระสารีบุตรทูลว่าราธพราหมณ์เคยถวายภิกษาแก่ท่านทัพพีหนึ่งพระศาสดาตรส อุปการะเพียงเท่านี้ก็ยังจ าได้ ฯ
สรรเสริญว่าเป็นผู้กตัญญูดีนัก
(ปี 54) ความเห็นว่าพระขีณาสพตายแล้วดับสญ
เป็นความเห็นผด
ความเห็นที่ถูกต้องเป็นอย่างไร?
ตอบ ความเห็นที่ถูกต้องว่า พระขีณาสพตายแล้ว รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่ไม่เที่ยงดับไป ฯ
(ปี 49) เมื่อเอ่ยถึง พระสารีบุตร ท าให้นึกถึงพระสาวกอีกองค์หนึ่ง คือใคร? ท่านได้บรรลุพระอรหัตและนิพพานที่ไหน? ก่อนหรือหลังพระสารีบุตร
กี่วัน? ตอบ คือพระโมคคัลลานะ ฯ ท่านได้บรรลุพระอรหัตที่บ้านกล ศิลา แขวงมคธ หลังพระสารีบุตร ๑๕ วัน ฯ
ลวาลมุตตคาม แขวงมคธ ก่อนพระสารีบุตร ๘ วัน และนิพพานที่ต าบลกาฬ
(ปี 47) เมื่อครั้งพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่เมืองเทวทหะ รับสั่งกับพระภิกษุผู้เข้าเฝาเพื่อทูลลาไปปัจฉาภูมิชนบท ให้ไปลาพระเถระรูปใด? และทรง ยกย่องพระเถระรูปนั้นว่าอย่างไร? ตอบ รับสั่งให้ไปลาพระสารีบุตรเถระ ฯ ทรงยกย่องท่านว่า เป็นผมีปัญญา อนุเคราะห์เพื่อนบรรพชิต ฯ
(ปี 47) บุคคลประเภทที่ว่า ธัมมัปปมาณิกา ผู้ถือธรรมเป็นประมาณ มีอธิบายอย่างไร? ในข้อนี้มีตัวอย่างแสดงไว้อย่างไร?
ตอบ มีอธิบายว่า บุคคลประเภทนี้ถือธรรมเป็นส าคัญ ชอบใจเฉพาะข้อปฏิบัติ เห็นผู้ที่ตั้งอยู่ในสังวรมีมรรยาทเรียบร้อย และได้ฟังธรรมอันท่าน แสดงมุ่งกล่าวเฉพาะข้อปฏิบัติ ย่อมเลื่อมใส ฯ
ตัวอย่างเช่นพระสารีบุตรได้เห็นพระอัสสชิ และได้ฟังธรรมของท่านแล้ว จึงเกิดความเลื่อมใส ฯ
(ปี 46) พระสารีบุตรได้บรรลุอรหตผลช้ากว่าบริวาร เพราะเหตุไร? พระโมคคัลลานะ นิพพานที่ไหน? อัฐิธาตุของท่านบรรจุไว้ทไี่ หน?
ตอบ เพราะท่านเป็นผู้มีปัญญามาก ต้องใช้บริกรรมใหญ่ ซึ่งเปรียบด้วยการเสด็จไปข้างไหน ๆ แห่งพระราชา ต้องตระเตรียมราชพาหนะและราช บริพารที่จ าเป็น จึงช้ากว่าการไปของคนสามัญ ฯ
นิพพานที่ต าบลกาฬศิลา แขวงมคธ ฯ อัฐิธาตุของท่านบรรจุไว้ที่เจดีย์ใกล้ซุ้มประตูแห่งเวฬุวนาราม ฯ
(ปี 45) ปัญหาว่า "พระขีณาสพตายแล้วเป็นอะไร" ใครเป็นผู้ถาม? ใครเป็นผตอบ? และตอบว่าอย่างไร?
ข้อความว่า "ท่านควรส าเหนียกใจอย่างนี้ว่า เราจักไม่พูดค าอันเป็นเหตุ เถียงกัน ถือผิดต่อกัน" ใครพูดกับใคร? ที่ไหน?
ตอบ พระสารีบุตรเป็นผู้ถาม พระยมกะเป็นผู้ตอบ และตอบว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่ไม่เที่ยง ดับไปแล้ว ฯ
พระผมีพระภาคเจ้าตรสแก่พระโมคคัลลานะ ที่บ้านกัลลวาลมุตตคาม แขวงมคธ ฯ
(ปี 43) การพบกันของพระอัสสชิและอุปติสสปริพาชกมีผลต่อพระพุทธศาสนาอย่างไร ?
พระสารีบุตรมีปัญญาเลิศกว่าพระสาวกทั้งหลายนั้น มีอะไรเป็นเครื่องยืนยัน?
ตอบ มีผลเกิดขึ้นดังนี้คือ ๑. อุปติสสปริพาชกได้ความเลื่อมใสในวัตรของพระอัสสชิ ๒. อุปติสสปริพาชกได้ฟังธรรมแล้วได้ดวงตาเห็นธรรม
๓. อุปติสสปริพาชกได้ชักชวนเพื่อนไปบวช ฟังธรรมแล้วได้บรรลุธรรม ๔. พระพุทธองค์ได้อัครสาวกเบื้องซ้ายเบื้องขวา ฯ
มีพระพุทธด ารสตรัสยกย่องพระสารีบุตรว่า เป็นยอดแห่งพระสาวกผู้มีปัญญาและตรัสสรรเสริญว่า พระสารีบุตรสามารถแสดงธรรมจักร และ
จตุราริยสจ ได้กว้างขวางพิสดารแม้นกับพระองค์ ประกอบกับพระธรรมเทศนาที่ท่าน ได้แสดงไว้ในโอกาสนั้น ๆ ส่องให้เห็นถึงอัจฉริยภาพอย่าง
แท้จริงของท่านในด้านนี้ ฯ
พระมหากัสสปะ
(ปี 64, 61) พระมหากัสสปะโดยปกติถือธุดงค์กี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?
ตอบ ถือธุดงค์ ๓ อย่าง ฯ คือ ๑. ใช้ผ้าบังสุกุลจีวรเป็นวัตร ๒. ถือเที่ยวบิณฑบาตเป็นวัตร ๓. ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร ฯ
(ปี 63, 59) พระสาวกองค์ใด เป็นผู้มักน้อยสันโดษอย่างยิ่ง ? ท่านท าใจอย่างไร ?
ตอบ พระมหากัสสปะ ฯ ท าใจอย่างนี้ คือ เมื่อแสวงหาไม่ได้ ก็ไม่สะดุ้งตกใจ เมื่อแสวงหาได้แล้วก็ไม่ก าหนัดยินดีในปัจจัย ๔ นั้น ฯ
(ปี 62, 48) พระโอวาทที่พระศาสดาทรงประทานในการให้อุปสมบทแก่พระมหากัสสปะมีกี่ข้อ ? อะไรบ้าง ?
ตอบ มี ๓ ข้อ ฯ คือ ๑. เราจักเข้าไปตั้งความละอาย และความย าเกรงอย่างแรงกล้าไว้ในภิกษุทั้งที่เป็นเถระปานกลาง และผู้ใหม่
๒. เราจักเงี่ยหูลงฟังธรรม อันประกอบด้วยกุศล และพิจารณาเนื้อความแห่งธรรมนั้น ๓. เราจักไม่ละสติที่ไปในกาย ฯ
(ปี 60, 51) พระมหากัสสปเถระเป็นประธานในการท าสังคายนาครั้งแรกที่ไหน? ใช้เวลานานเท่าไร?
ตอบ ที่ถ ้าสัตตบัณณคูหา เวภารบรรพต กรุงราชคฤห์ ฯ ใช้เวลา ๗ เดือน ฯ
(ปี 58) พระมหากัสสปเถระ ชักชวนภิกษุสงฆ์ท าสังคายนารวบรวมพระธรรมวินัย ตั้งไว้เป็นแบบฉบับ เพื่อสมกับพระพุทธพจน์ที่ได้ประทานไว้เมื่อ ครั้งปรินิพพาน พระพุทธพจน์นั้นใจความว่าอย่างไร ?
ตอบว่าธรรมก็ดี วินัยกดี อย่างใด อันเราได้แสดงไว้แล้ว ได้บัญญัตไิ ว้แล้ว ธรรมวินัยนั้นจักเป็นศาสดาของท่านทั้งหลาย ในเมื่อเราล่วงไปแล้วฯ
(ปี 56) การท าสังคายนาก่อให้เกิดคุณประโยชน์แก่พระศาสนาอย่างไรบ้าง?
ตอบ ให้เกิดคุณประโยชน์อย่างนี้ ก าจัดและป้องกันอลัชชีได้ ท าความเห็นพุทธศาสนิกให้ถูกต้องและปฏิบัติถูกต้องได้ และท าให้พระศาสนามั่นคง และแพร่หลายยิ่งขึ้น ฯ
(ปี 56) อุปสมบทวิธีพิเศษด้วยการรับพระโอวาท ๓ ข้อ และด้วยการรับครุธรรม ๘ ข้อ ทรงประทานให้แก่ใคร? และท่านนั้น ๆ ได้รับการยกย่อง เป็นเอตทัคคะในทางไหน?
ตอบ การรับพระโอวาท ๓ ข้อ ทรงประทานแก่พระมหากัสสปะ การรับครุธรรม ๘ ข้อ ทรงประทานแก่พระนางมหาปชาบดีโคตมี ฯ พระมหากัสสปะได้รับยกย่องเป็นเอตทัคคะในทางทรงธุดงคคุณ พระนางมหาปชาบดีโคตมี ได้รับยกย่องเป็นเอตทัคคะในทางรัตตัญญู ฯ
(ปี 55) อนุพุทธที่เป็นสาวกสาวิกาของพระศาสดา ซึ่งได้รับการอุปสมบทด้วยวิธีพิเศษมีบ้างหรือไม่? ถ้ามี คือใคร? อุปสมบทด้วยวิธีใด
ตอบ มี ฯ คือ พระมหากัสสปะ อปสมบทด้วยวิธรับพระโอวาท ๓ ข้อ, พระนางมหาปชาบดีโคตมี อุปสมบทด้วยวิธรับครุธรรม ๘ ประการ ฯ
(ปี 54) พระมหากัสสปะได้รบอุปสมบทแล้วนานเท่าไรจึงบรรลุพระอรหัต?
พระโอวาทข้อว่า “เราจะไม่ละสติที่ไปในกาย คือพิจารณาร่างกายเป็นอารมณ์” สงเคราะห์เข้าในธรรมข้อใดบ้าง?
ตอบ ๘ วัน ฯ สงเคราะห์เข้าใน กายคตาสติ และ วิปัสสนาญาณ เป็นต้น ฯ
(ปี 53) พระพุทธโอวาทว่า เราจะไม่ละสติที่ไปในกาย คือพิจารณาร่างกายเป็นอารมณ์ ดังนี้
พระองค์ตรสกะสาวกรูปใด? พระสาวกรูปนั้นเป็นเอตทัคคะในทางใด? ตอบ พระมหากัสสปะ ฯ เป็นเอตทัคคะในทางถือธุดงค์ ฯ
(ปี 49) พระสาวกผู้ปรารภเหตุว่า “ผู้อยู่ครองเรือนต้องคอยนั่งรับบาป เพราะการงานทผ คือใคร? ท่านได้รับยกย่องจากพระศาสดาว่า เป็นผเลิศในทางไหน? เพราะเหตุใด?
ู้อื่นท าไมดี” แล้วมีใจเบื่อหน่ายสละทรัพย์สมบัติออกบวช
ตอบ คือ พระมหากัสสปะ ฯ ท่านได้รับยกย่องจากพระศาสดาว่า เป็นผู้เลศในทางถือธุดงค์ เพราะท่านถือธุดงค์ ๓ อย่างเป็นประจ า คือ ทรงผ้า บังสุกุลจีวรเป็นวัตร ๑ เที่ยวบิณฑบาตเป็นวัตร ๑ อยู่ป่าเป็นวัตร ๑ ฯ
(ปี 47) พระมหากัสสปะออกบวชเพราะมีความเห็นอย่างไร? ท่านได้รับยกย่องว่าเลิศในทางไหน?
ตอบ เพราะมีความเห็นว่า ผู้อยู่ครองเรือนต้องคอยนั่งรับบาปเพราะการงานที่ผู้อื่นท าไมดี และเห็นว่าฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งกเลสธุลี จึงมี
ใจเบื่อหน่ายสละสมบัติ ออกบวชอุทิศพระอรหันต์ในโลก ฯ ได้รับยกย่องว่า เป็นเลิศแห่งภิกษผู้ทรงธุดงค์ ฯ
(ปี 45) พระมหากัสสปะได้รบการอุปสมบทด้วยวิธีใด? พระมหากัสสปะโดยปกติถือธุดงค์อะไรบ้าง?
ตอบ ด้วยวิธีรับพุทธโอวาท ๓ ข้อ ฯ
ถือธุดงค์ ๓ อย่าง คือ ๑. ทรงผ้าบังสุกุลจีวรเป็นวัตร ๒. ถือเที่ยวบิณฑบาตเป็นวัตร ๓. ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร ฯ
(ปี 44) พระศาสดาทรงยกย่องพระสาวกรูปใดว่า มีธรรมเครื่องอยู่เสมอด้วยพระองค์? พระองค์ทรงปฏิบัติต่อพระสาวกรูปนั้นโดยพระอาการ อย่างไร ? ตอบ พระมหากัสสปะ ฯ ทรงรับผ้าสังฆาฏิของท่านไปทรง และประทานผ้าสังฆาฏิของพระองค์ให้แก่ท่าน ฯ
พระอานนท์
· บวชพร้อมกันกับ พระเจ้าภัททิยราช เจ้าชายอนุรุทธะ เจ้าชายอานนท์ เจ้าชายภคุ เจ้าชายกิมพิละ เจ้าชายเทวทัต และอุบาลี รวม แล้วทั้งหมด ๗ คน
(ปี 50) พรข้อว่า ถ้าจักไม่โปรดให้ข้าพระองค์อยู่ในที่ประทับของพระองค์ และข้อว่า ถ้าพระองค์จะเสด็จไปสู่ที่นิมนต์ที่ข้าพระองค์รับไว้ พระ อานนท์ทูลขอเพื่อประโยชน์อะไร?
ตอบ ข้อต้น เพื่อป้องกันค าติเตียนว่า พระอานนท์บ ารุงพระศาสดาเพราะเห็นแก่ลาภ
ข้อหลัง เพื่อป้องกันคนกล่าวว่า พระอานนท์บ ารุงพระศาสดาไปท าอะไร เพราะพระองค์ไม่ทรงอนุเคราะห์แม้ด้วยกิจเท่านี้ ฯ (ปี 46) พระอานนท์ได้บรรลโสดาปัตติผลเพราะได้ฟังโอวาทจากใคร? และได้บรรลุอรหัตผลเมื่อไร? ท่านบรรลุอรหัตผลและนิพพาน ต่างจากพระสาวกองค์อื่นอย่างไร?
ตอบ จากพระปุณณมันตานีบุตร ฯ บรรลุอรหัตผลก่อนวันรุ่งขึ้นจะท าปฐมสังคายนา ฯ การบรรลุอรหัตผลของท่านในขณะที่ก าลังเอนกายศีรษะยังไม่ถึงหมอนเท้ายกขึ้นในระหว่างอิริยาบถ ๔ ท่านนิพพานบนอากาศ กลางแม่น ้าโรหิณีแล้วอธิษฐานให้สรีระของท่านแยกเป็น ๒ ภาค ให้ตกลงที่ฝงั่ แม่น ้าฝั่งละภาค ฯ
พระอนุรุทธเถระ
(ปี 46) จงตอบค าถามเกี่ยวกับพระอนุรุทธเถระ ดังต่อไปนี้
ก. ท่านเป็นโอรสของใคร? ข. เกี่ยวเนื่องกับพระบรมศาสดาอย่างไร? ค. ท่านออกบวชพร้อมกับใครบ้าง? ง. ได้รับยกย่องจากพระบรมศาสดาอย่างไร? ตอบ ก. ของพระเจ้าศากยะพระนามว่า อมิโตทนะ พระมารดาไม่ปรากฏพระนาม ฯ
ข. เป็นพระโอรสของพระเจ้าอาของพระบรมศาสดา จึงนับเป็นพระอนุชาของพระบรมศาสดา ฯ ค. พร้อมกับพระอุบาลี พระภัททิยะ พระภคุ พระกิมพิละ พระอานนท์ และพระเทวทัต ฯ
ง. เป็นผู้เลศในทางมีจักษุทิพย์ ฯ
กลุ่มศิษย์ของพราหมณ์พาวรีมี ๑๖ คน (เข้าไปทูลถามปัญหาพระพุทธเจ้า)
·
พระอชิตะ ทูลถามปัญหาพระพุทธเจ้า เป็นคนที่ ๑
·
พระปุณณกะ ทูลถามปัญหาพระพุทธเจ้า เป็นคนที่ ๓
·
พระอุทยะ ทูลถามปัญหาพระพุทธเจ้า เป็นคนที่
๑๓
·
พระโมฆราช ทูลถามปัญหาพระพุทธเจ้า เป็นคนที่ ๑๕
·
ปิงคิยมาณพ ทูลถามปัญหาพระพุทธเจ้า เป็นคนที่ ๑๖
(ปี 61) ปิงคิยมาณพฟังพยากรณปัญหาจากพระบรมศาสดาแล้ว ได้บรรลุธรรมชั้นไหน ? เพราะเหตุไร ?
ตอบ ได้ดวงตาเห็นธรรม ฯ เพราะความฟุ้งซ่านด้วยความคิดถึงอาจารย์ในขณะฟังพระธรรมเทศนา จึงไม่อาจท าจิตให้สิ้นอาสวะ ฯ (ปี 58) บรรดาศิษย์ ๑๖ คน ศิษย์คนใดน าพระธรรมเทศนาของพระพุทธองค์ไปบอกแก่พราหมณ์ พาวรีผู้เป็นอาจารย์ ? พราหมณ์พาวรี ฟังพระธรรมเทศนานั้นแล้ว ได้บรรลุธรรมชั้นไหน ? ตอบ ปิงคิยมาณพ ฯ ชั้นเสขภูมิ ฯ
(ปี 57) มาณพทั้ง ๑๖ คนผู้ทูลถามโสฬสปัญหากะพระพุทธองค์ เป็นศิษย์ของใคร? ท่านตั้งส านักอยู่ที่ไหน?
ตอบ ของพราหมณ์พาวรี ฯ อยู่ที่ฝั่งแม่น ้าโคธาวารี ระหว่างเมืองอัสสกะและเมืองอาฬกะ ฯ
(ปี 56) ปัญหาว่า โลกคือหมู่สัตว์อันอะไรปิดบังไว้จึงหลงอยู่ในที่มืด ดังนี้ ใครเป็นผู้ถาม? และพระศาสดาทรงพยากรณ์ว่าอย่างไร?
ตอบ อชิตมาณพเป็นผู้ถาม ฯ ทรงพยากรณ์ว่า โลกคือหมู่สัตว์ อันอวิชชาคือความไม่รู้แจ้งปิดบังไว้ จึงหลงดุจอยู่ในที่มืด ฯ
(ปี 55) “หมู่มนุษย์ในโลกนี้ อาศัยอะไรจึงบูชายัญบวงสรวงเทวดา” นี่เป็นปัญหาของใคร? และได้รับพุทธพยากรณ์ว่าอย่างไร?
ตอบ เป็นปัญหาของปุณณกมาณพ ฯ ได้รับพุทธพยากรณ์ว่า หมู่มนุษย์เหล่านั้น อยากได้ของที่ตนปรารถนาอาศัยของที่มีชราทรุดโทรม จึงบูชายัญ บวงสรวงเทวดา ฯ
(ปี 54) อาจารย์ผู้ผูกปัญหาให้ศิษย์ ๑๖ คนไปทูลถามพระพุทธเจ้า ชื่ออะไร? ทั้งอาจารย์และศิษย์ฟังพุทธพยากรณ์แล้วได้บรรลุผลอะไร?
ตอบ พราหมณ์พาวรีฯ ปิงคิยมาณพไดดวงตาเห็นธรรม ฯ ศิษย์อีก ๑๕ คน ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ฯ ส่วนอาจารยไ์ ด้บรรลเสขภูมิฯ
(ปี 53) พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมโปรดพระโมฆราชด้วยเรื่องอะไร? มีความหมายอย่างไร?
ตอบ ด้วยเรื่องสุญญตานุปัสสนาฯ มีความหมายว่า ให้พิจารณาเห็นโลกโดยความเป็นของว่างเปล่า ถอนความเห็นว่าเป็นตัวตนของเราเสีย ฯ
(ปี 52) ค˚าถามว่า “ข้าพเจ้าจักพิจารณาเห็นโลกอย่างไร มัจจุราชจึงจักไม่แลเห็น” ใครเป็นผู้ถาม พระศาสดาทรงพยากรณ์ไว้อย่างไร?
ตอบ พระโมฆราชเป็นผู้ทูลถาม พระศาสดาทรงพยากรณ์ว่า ท่านจงเป็นคนมีสติ พิจารณาเห็นโลกโดยความเป็นของว่างเปล่า ถอนความตามเห็นว่า ตัวของเราเสยทุกเมื่อเถิด ท่านจักข้ามล่วงมัจจุราชเสยได้ด้วยอุบายอย่างนี้ ท่านพิจารณาเห็นโลกอย่างนี้แล มัจจุราชจึงไม่แลเห็น ฯ
(ปี 51) “โลกมีอะไรผูกพันไว้ อะไรเป็นเครื่องสัญจรของโลกนั้น ท่านกล่าวกันว่า นิพพานๆ ดังนี้ เพราะละอะไรได้?” ปัญหานี้ใครทูลถาม?
ตอบ อุทยมาณพเป็นผู้ทูลถาม ฯ (**หมายเหตุ พระพุทธเจ้าได้พยายากรณ์ไว้ว่า ความเพลิดเพลินผูกพันไว้ ความตรึกเป็นเครื่องสัญจร เพราะละตณ
(ปี 50) พระโมฆราชทูลถามปัญหาพระพุทธองค์เป็นคนที่เท่าไร? เพราะเหตุไร?
หา)
ตอบ เป็นคนที่ ๑๕ ฯ เพราะครั้งแรกเห็นว่าท่านอชิตมาณพเป็นผู้ใหญ่กว่าจึงยอมให้ถามก่อน แต่เมื่อปรารภจะทูลถามเป็นคนที่ ๒ และคนที่ ๙ ถูก พระพุทธองค์ทรงห้ามไว้ให้รอก่อน จึงได้โอกาสทูลถามเป็นคนที่ ๑๕ ฯ
(ปี 44) พระรัฐบาล และพระนันทะ ออกบวชเพราะเหตุใด? พระโมฆราช และพระอุบาลี ได้รับการยกย่องว่าเลิศในทางไหน?
ตอบ พระรัฐบาล ออกบวชเพราะศรัทธา พระนันทะ ออกบวชเพราะจ˚าใจ ฯ พระโมฆราช ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้ทรงจีวรเศร้าหมอง พระอุบาลี
ได้รับยกย่องว่าเป็นผทรงพระวินัย ฯ
พระมหากัจจายนะ
(ปี 59, 49) พระสาวก ผู้อธิบายภัทเทกรัตตสูตรที่ทรงแสดงโดยย่อให้พิสดาร คือใคร? ท่านไดรับการสรรเสริญจากพระศาสดาว่าอย่างไร?
ตอบ คือ พระมหากัจจายนะ ฯ ท่านได้รับสรรเสริญจากพระศาสดาว่า เป็นผู้ฉลาดในการอธิบายค˚าที่ย่อให้พิสดาร ฯ
(ปี 56) พระมหากัจจายนะได้รับมอบหมายจากพระพุทธเจ้าให้ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาแทนพระองค์ ณ เมืองใด และได้ผลเป็นอย่างไร?
ตอบ ณ เมืองอุชเชนี ฯ ได้รับผล คือ พระเจ้าจัณฑปัชโชตและชาวพระนครเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ฯ
(ปี 54) พระสาวกผู้แสดงความไม่ต่างกันแห่งวรรณะ ๔ เหล่า คือใคร? แสดงแก่ใคร? ที่ไหน? พระสตรนั้นชื่ออะไร ?
ตอบ พระมหากัจจายนะเป็นผู้แสดง ฯ แก่พระเจ้ามธุรราช อวันตีบุตร ฯ ที่คุนธาวัน แขวงมธุรราชธานี ฯ สูตรนั้นชื่อว่า มธุรสูตร ฯ
(ปี 53) พระมหากัจจายนะเคยได้รับมอบหมายจากพระพุทธเจ้าให้ไปเผยแผ่พระศาสนาแทนพระองค์เมื่อครั้งไหน? ได้ผลอย่างไร?
ตอบ เมื่อครั้งที่ท่านบรรลุพระอรหต และอุปสมบทเป็นภิกษุแล้ว ได้ทูลเชิญพระพุทธเจ้าให้เสด็จไปกรุงอุชเชนี เพื่อประกาศพระศาสนาตามพระ
ราชประสงค์ ของพระเจ้าจัณฑปัชโชต แต่พระพุทธเจ้ารับสั่งให้ท่านไปแทน ฯ พระเจ้าจัณฑปัชโชตและชาวพระนครเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ฯ
(ปี 51) การบวชของพระมหากัจจายนะ มีความเป็นมาอย่างไร? ตอบ มีความเป็นมาอย่างนี้ ท่านไดรบมอบหมายจากพระเจ้าจัณฑปัชโชตให้ไปทูล
เชิญพระพุทธเจ้าเสด็จกรุงอุชเชนี จึงทูลลาบวชด้วย ครั้นได้เข้าเฝ้าฟังธรรมแล้ว บรรลุพระอรหัต จึงทล
(ปี 48) พระมหากัจจายนะ นิพพานก่อนหรือหลังพระพุทธเจ้า? มีอะไรเป็นข้ออ้าง?
ขอบวช ฯ
ตอบ พระมหากัจจายนะ นิพพานหลังพระพุทธเจ้า มีมธุรสูตรเป็นข้ออ้าง โดยมีใจความ ตอนหนึ่งในพระสตรนั้นว่า พระเจ้ามธุรราชตรส เดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเสด็จอยู่ ณ ที่ไหน พระมหากัจจายนะทูลว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าปรินิพพานแล้ว ฯ
ถามว่า
พระรัฐบาล
(ปี 60, 50) ธรรมุเทศ มีอะไรบ้าง? ใครแสดงแก่ใคร?
ตอบ มี ๑. โลกคือหมู่สตว์ อันชราน˚าเข้าไปใกล้ ไม่ยั่งยืน
๒. โลกคือหมู่สตว์ ไมมีผู้ป้องกัน ไม่เป็นใหญ่จ˚าเพาะตน
๓. โลกคือหมู่สตว์ ไมมีอะไรเป็นของ ๆ ตน จ˚าต้องละทิ้งสิ่งทั้งปวงไป
๔. โลกคือหมู่สตว์ พร่องอยู่เป็นนิตย์ ไมรู้จักอิ่ม เป็นทาสแห่งตัณหา ฯ พระรัฐบาลแสดงถวายพระเจ้าโกรัพยะ
(ปี 55) จงระบุชื่อพระสาวกผู้ที่บวชเพราะเหตุต่อไปนี้ ๑. บวชเพราะศรัทธา ๒. บวชเพราะจ˚าใจ ๓. บวชเพราะหลงไหลในรูป ตอบ ๑.บวชเพราะศรัทธา คือ พระรัฐบาล ๒.บวชเพราะจ˚าใจ คือ พระนันทะ ๓.บวชเพราะหลงไหลในรูป คือ พระวักกลิ ฯ (ปี 55) ข้อธรรมว่า “โลกคือหมู่สตว์อันชราน˚าเข้าไปใกล้ ไมยั่งยืน” เรียกว่าธรรมอะไร? ใครแสดงว่าใคร?
ตอบ เรียกว่า ธรรมุเทศ ฯ พระรัฐบาลแสดงถวายแก่พระเจ้าโกรัพยะ ฯ
(ปี 44) พระรัฐบาล และพระนันทะ ออกบวชเพราะเหตุใด? พระโมฆราช และพระอุบาลี ได้รับการยกย่องว่าเลิศในทางไหน?
ตอบ พระรัฐบาล ออกบวชเพราะศรัทธา พระนันทะ ออกบวชเพราะจ˚าใจ ฯ พระโมฆราช ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้ทรงจีวรเศร้าหมอง พระอุบาลี
ได้รับยกย่องว่าเป็นผทรงพระวินัย ฯ (ปี 43) ธรรมุเทศคืออะไรบ้าง? ใครแสดงแก่ใคร?
ตอบ ธรรมุเทศ คือ ๑. โลกคือหมู่สตว์อันชราน˚าเข้าไปใกล้ ไม่ยั่งยืน
๒. โลกคือหมู่สตว์ไม่มีผป้องกัน ไม่เป็นใหญ่จ˚าเพาะตน
๓. โลกคือหมู่สตว์ไม่มีอะไรเป็นของ ๆ ตน จ˚าต้องละสิ่งทั้งปวงไป
๔. โลกคือหมู่สตว์พร่องอยู่เป็นนิตย์ ไม่รู้จักอิ่ม เป็นทาสแห่งตัณหา พระรัฐบาลแสดงถวายพระเจ้าโกรัพยะ
พระราหุล
(ปี 61) พระสาวกองค์ใด กอบทรายเต็มมือแล้วปรารถนาว่า "ขอให้เราได้รับโอวาทค˚าสั่งสอนแต่ส˚านักพระทศพล และพระอุปัชฌาย์อาจารย์ เท่า เม็ดทรายในก˚ามือนี้เถิด" ? และท่านเป็นเลิศในด้านใด ? ตอบ พระราหุล ฯ เป็นเลิศในด้านเป็นผู้ใคร่ในการศึกษา ฯ
(ปี 46) การศึกษาเป็นการพัฒนาชีวิตและสังคมให้ก้าวหน้าและก้าวไกล จึงอยากทราบว่า
พระเถระองค์ใด ไดรับการยกย่องว่า เป็นผู้ใฝ่ใจในการศึกษา? ท่านได้รับการยกย่องเช่นนั้น เพราะมีปฏิปทาอย่างไร?
ตอบ พระราหุลเถระ ฯ มีปฏิปทาอย่างนี้คือ ท่านตื่นขึ้นแต่เช้าแล้วกอบเอาทรายมาเต็มก˚ามือแล้วปรารถนาว่า ขอให้เราได้รับโอวาทค˚าสงั่ สอนแต่ ส˚านักพระทศพลและพระอุปัชฌาย์อาจารยเท่าเมดทรายในก˚ามือเถิด แล้วตั้งใจศึกษา ตั้งใจปฏิบัติอย่างจริงจัง ด้วยปฏิปทาเช่นนี้แล จึงได้รับการ ยกย่องว่าเป็นผู้ใฝ่ใจในการศึกษา ฯ
(ปี 45) ราหุลกุมาร ได้บรรพชาเป็นสามเณรเพราะเหตุใด? พระราหุล ไดรับยกย่องว่าเลิศในทางใด?
ตอบ เพราะพระมารดาให้ไปขอราชสมบัติกับพระพุทธองค์ ซึ่งเป็นพระราชบิดา ดังนั้น พระองค์จึงทรงประทานทรัพย์อันเป็นโลกุตตระ โดย มอบหมายให้พระสารีบุตร เป็นพระอุปัชฌาย์ บรรพชาให้ราหุลกุมาร ด้วยการรับสรณคมน์ ๓ ฯ ได้รับยกย่องว่าเลิศกว่าภิกษุทั้งหลายผู้ใคร่ศึกษาพระธรรมวินัย ฯ
พระราธะ
(ปี 63, 45) พระสาวกผู้ได้รับการอุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจาเป็นองค์แรกคือใคร? ท่านได้รับยกย่องจากพระศาสดาว่าเลิศกว่าภิกษุทั้งหลาย อย่างไร?
ตอบ พระราธะ ฯ ได้รับยกย่องว่า เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายผมีปฏิภาณ คือญาณแจ่มแจ้งในธรรมเทศนา ฯ
(ปี 43) พระสาวกรูปใดได้รับการบวชด้วยญัตตจตุตถกรรมเป็นรูปแรก? พระสาวกรูปนั้นได้รับยกย่องเป็นเลิศในทางไหน?
ตอบ พระราธะ ฯ ในทางมีปฏภาณ คือญาณแจ่มแจ้งในพระธรรมเทศนา ฯ
พระนันทะ / พระวักกลิ / พระอุบาลี
· พระอุบาลี บวชพร้อมกันกับ พระเจ้าภัททิยราช เจ้าชายอนุรุทธะ เจ้าชายอานนท์ เจ้าชายภคุ เจ้าชายกิมพิละ เจ้าชายเทวทัต และอุ บาลี รวมแล้วทั้งหมด ๗ คน
(ปี 57) การที่เจ้าศากยะทูลขอให้พระอุบาลผู้เป็นช่างกัลบกบวชก่อน เพราะเหตุไร? ตอบ เพราะประสงค์จะละมานะของตน ฯ
(ปี 55) จงระบุชื่อพระสาวกผู้ที่บวชเพราะเหตุต่อไปนี้ ๑. บวชเพราะศรัทธา ๒. บวชเพราะจ˚าใจ ๓. บวชเพราะหลงไหลในรูป ตอบ ๑.บวชเพราะศรัทธา คือ พระรัฐบาล ๒.บวชเพราะจ˚าใจ คือ พระนันทะ ๓.บวชเพราะหลงไหลในรูป คือ พระวักกลิ ฯ (ปี 44) พระรัฐบาล และพระนันทะ ออกบวชเพราะเหตุใด? พระโมฆราช และพระอุบาลี ได้รับการยกย่องว่าเลิศในทางไหน? ตอบ พระรัฐบาล ออกบวชเพราะศรัทธา พระนันทะ ออกบวชเพราะจ˚าใจ ฯ
พระโมฆราช ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้ทรงจีวรเศร้าหมอง พระอุบาลี
ได้รับยกย่องว่าเป็นผทรงพระวินัย ฯ
พระโสณโกฬิวิสะ (ผู้เลิศในทางมีความเพียรปรารภแล้ว)
(ปี 64, 59) พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมอุปมาด้วยพิณ ๓ สาย แกใคร ? ด้วยทรงพระประสงค์ใด ?
ตอบ แก่พระโสณโกฬิวสะ ฯ ด้วยทรงพระประสงค์จะให้ท่านท˚าความเพียรพอประมาณ เพราะท่านท˚าความเพียรอย่างยิ่ง เดินจงกรมจนเท้าแตก เป็นเหตุให้เกิดทุกขเวทนา ท˚าให้ไม่บรรลุธรรม ฯ
(ปี 57) พระพุทธองค์ทรงแสดงโทษแห่งความเพียรที่ตึงเกินไปและหย่อนเกินไปแก่พระโสณโกฬิวิสะว่าอย่างไร?
ตอบ ทรงแสดงว่า ความเพียรที่ตึงเกินไปเป็นไปเพื่อความฟุ้งซ่าน ทหย่อนเกินไปเป็นเพื่อความเกียจคร้าน ฯ
เป็นศิษย์เป็นอาจารย์กัน
(ปี 50) ในอสีติมหาสาวก มีองค์ไหนบ้างมีความสมพันธ์เป็นศิษย์และอาจารย์กัน? จงบอกมาสัก ๒ คู่
ตอบ (ตอบเพียง ๒ คู่) พระอัญญาโกณฑัญญะกับพระปุณณมันตานีบุตร
พระอัสสชิกับพระสารีบุตร พระสารีบุตรกับพระราธะ พระสารีบุตรกับพระราหุล พระมหากัจจายนะกับพระโสณกุฏิกัณณะ ฯ
ภิกษุณี
(ปี 55) อนุพุทธที่เป็นสาวกสาวิกาของพระศาสดา ซึ่งได้รับการอุปสมบทด้วยวิธีพิเศษมีบ้างหรือไม่? ถ้ามี คือใคร? อุปสมบทด้วยวิธีใด? ตอบ มี ฯ คือ พระมหากัสสปะ อปสมบทด้วยวิธีรับพระโอวาท ๓ ขอ, พระนางมหาปชาบดีโคตมี อุปสมบทด้วยวิธรับครุธรรม ๘ ประการ ฯ (ปี 45) พระนางปชาบดีโคตมี ยินดีรับครุธรรม ๘ ข้อมาปฏิบัติ อุปมาเหมือนอะไร?
พระเถรีผู้มีชื่อต่อไปนี้ได้รับเอตทัคคะในทางไหน?
ก. กิสาโคตมีเถรี ข. กุณฑลเกสีเถรี ค. ภัททกาปิลานีเถรี ง. ภัททากัจจานาเถรี จ. โสณาเถรี
ตอบ เปรียบเหมือนหญิงหรือชายที่ยังรุ่นสาวรุ่นหนุ่ม ก˚าลังรักแต่งกาย อาบน˚้าสระเกล้าแล้วได้พวงดอกอุบล พวงมะลิ หรือพวงล˚าดวนแล้ว จะพึง รับด้วยมือทั้ง ๒ แล้วตั้งไว้บนศีรษะด้วยความยินดีฉันนั้น ฯ
ก. ในทางทรงไว้ซึ่งจีวรอันเศร้าหมอง ข. ในทางขิปปาภิญญา หรือ ตรัสรู้เร็ว ค. ในทางระลึกได้ซึ่งปุพเพนิวาส
ง. ในทางถึงซึ่งอภิญญาอันใหญ่แลว จ. ในทางมีความเพียรปรารภแล้ว ฯ
พระโสณกุฏิกัณณะ
(ปี 44) พระศาสดาทรงทราบความขัดข้องจากพระสาวกรูปใด จึงได้ทรงพระอนุญาตให้สงฆ์ปัญจวรรคท˚าการอุปสมบทในปัจจันตชนบทได้? ท่าน ได้รับยกย่องว่าเลิศทางไหน? ตอบ พระโสณกุฏิกัณณะ ฯ เป็นผู้มีวาจาไพเราะ ฯ
ปริพาชกทีฆนขะ
(ปี 44) ทิฏฐิแสดงความเห็นว่า " สิ่งทั้งปวงไม่ควรแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าไม่ชอบใจทั้งหมด " ใครพูดกับใคร? ตามทิฏฐิแสดงความเห็นนั้น มีค˚ากล่าว
ตอบว่าอย่างไร ? ตอบ ปริพาชกทีฆนขะ อัคคิเวสสนโคตร ทูลกับพระศาสดา ฯ มีพระด˚ารส นั้น ก็ต้องไม่ควรแก่ท่าน ท่านก็ต้องไม่ชอบความเห็นอย่างนั้น " ฯ
ตอบว่า " อัคคิเวสสนะ ถ้าอย่างนั้น ความเห็นอย่าง
คนแรก/คนสุดท้าย
·
ผู้ถึงรัตนะ ๒ คือ ตปุสสะ และภล
·
ผู้ถึงรัตนะ ๓ คือบิดาของยสะ ฯ
ลิกะ
·
พระพุทธองค์ทรงแสดงอนุปุพพีกถาแก่ใครเป็นคนแรก คือ ยสกุลบุตร
·
ผู้ที่ถวายผ้าวัสสิกสาฎก (ผาอาบนาฝน) เป็นคนแรก คือ นางวิสาขา
·
สามเณรรูปแรกในพระพุทธศาสนา คือ สามเณรราหุล ได้บรรลุพระอรหัตเพราะฟังธรรมจากพระพุทธองค์
·
ภิกษุณีรูปแรกพระพุทธศาสนา คือ พระนางมหาปชาบดีโคตมี
(ปี 63, 57) สามเณรรูปแรกในพระพุทธศาสนา คือใคร? ได้บรรลุพระอรหัตเพราะฟังธรรมจากใคร? ตอบ สามเณรราหุล ฯ จากพระพุทธองค์ ฯ
(ปี 61) พระอนุพุทธองค์แรก คือใคร ? ได้ดวงตาเห็นธรรมเพราะฟังพระธรรมเทศนาชื่ออะไร ?
ตอบ คือพระอัญญาโกณฑัญญะ ฯ เพราะฟังธรรมจักกัปปวัตตนสูตร ฯ
(ปี 59) สตรีคนแรกทไี่ ด้อุปสมบทในพุทธศาสนาคือใคร ? อุปสมบทด้วยวิธีใด ?
ตอบ คือ พระมหาปชาบดีโคตมี ฯ ด้วยวิธีรับครุธรรม ๘ ประการ ฯ
(ปี 58) อนุพุทธองค์แรก คือใคร ? ส˚าเร็จเป็นพระอรหันต์เพราะฟังพระธรรมเทศนาชื่ออะไร ?
ตอบ คือ พระอัญญาโกณฑัญญะ ฯ ชื่ออนัตตลักขณสูตร ฯ
(ปี 57) อุบาสกผู้ประกาศตนถึงรัตนะ ๒ และรตนะ ๓ ว่าเป็นสรณะคนแรก คือใคร?
ตอบ ผู้ถึงรัตนะ ๒ คือตปุสสะ และภัลลิกะ ผู้ถึงรัตนะ ๓ คือบิดาของยสะ ฯ
(ปี 53) พุทธบริษัท ๔ ผู้เป็นอริยสาวก มีล˚าดับการเกิดขึ้นก่อนหลังกันอย่างไร? บุคคลแรกของแต่ละบริษัทนั้นคือใคร?
ตอบ มีล˚าดับอย่างนี้ คือ ภิกษุ อุบาสก อุบาสิกา และภิกษณี ฯ พระอัญญาโกณฑัญญะ เป็นคนแรกของภิกษุบริษัท บิดาของพระยสะ เป็นคนแรกของอุบาสกบริษัท
มารดาและภรรยาของพระยสะ เป็นคนแรกของอุบาสิกาบริษัท พระนางปชาบดีโคตมี เป็นคนแรกของภิกษุณีบริษัท ฯ
ความหมายและความส˚าคัญของศาสนพิธี
(ปี 62, 49, 45) ศาสนพิธี คืออะไร? การศึกษาศาสนพิธีให้เข้าใจ มีประโยชน์อย่างไร?
ตอบ คือ พิธีทางศาสนา ฯ มีประโยชน์คือ ๑. ท˚าให้เข้าใจเรื่องของศาสนพิธีไดโดยถูกต้อง
๒. ท˚าให้เห็นเป็นเรื่องส˚าคัญ ไม่ไร้สาระ
๓. ท˚าให้ปฏิบัติได้ถูกต้องไม่ผดเพี้ยนจากขนบธรรมเนียมประเพณี ฯ
(ปี 44) กุศลพิธี และบุญพิธี คือพิธีเช่นไร?
ตอบ กุศลพิธี คือพิธีกรรมต่างๆอันเกี่ยวด้วยการอบรมความดีงามทางพระพุทธศาสนาเฉพาะตัวบุคคล เช่น พิธีรักษาอุโบสถศีลเป็นต้น บุญพิธี คือพิธีท˚าบุญงานมงคล และงานอวมงคล ฯ
·
ทานพิธี ได้แก่ พิธีถวายผ้าวัสสิกสาฎก (ผ้าอาบน˚้าฝน) พิธีถวายเสนาสนะกุฎีวิหาร พิธีทอดผ้าป่า พิธีถวายผ้าอัจเจกจีวร ผ้าจ˚าน˚าพรรษา
(ปี 59, 55) การถวายผ้าวัสสิกสาฎกนั้น มีมูลเหตมาจากอะไร? ใครเป็นผู้ถวายคนแรก?
ตอบ มีมูลเหตุมาจากเดมยังไม่มีพุทธานุญาตให้ภิกษุมีผ้าวัสสิกสาฎก ภิกษุทั้งหลายจึงเปลือยกายอาบน˚้า นางวิสาขามหาอุบาสิกาทราบเรื่องนั้นแล้ว เห็นว่าไม่สมควรแก่เพศสมณะ จึงทูลขอพระพุทธานุญาต เพื่อถวายผ้าอาบน˚้าฝนแกภิกษุทั้งหลาย ฯ
(ปี 58) จงให้ความหมายของคาต่อไปนี้ ก. ปาฏิปุคคลิกทาน ข. เภสัชทาน ค. สลากภัต ง. ผ้าวัสสกสาฎก จ. ผ้าอัจเจกจีวร ฯ
ตอบ ก. ปาฏิปุคคลิกทาน คือทานที่ถวายเจาะจงเฉพาะรูปนั้นรูปนี้
ข. เภสัชทาน คือการถวายเภสัช ๕ ได้แก่ เนยใส เนยข้น น˚้ามัน น˚้าผึ้ง น˚้าอ้อย ค. สลากภัต คือภัตตาหารที่ทายกทายิกาถวายตามสลาก
ง. ผ้าวัสสิกสาฎก คือผ้าที่อธิษฐานส˚าหรับใช้นุ่งในเวลาอาบน˚้าฝน หรออาบน˚้าทั่วไป จ. ผ้าอัจเจกจีวร คือผ้าจ˚าน˚าพรรษาที่ทายกรีบด่วนถวายก่อนวันออกพรรษา
(ปี 54) วิหารทานคาถา ซึ่งเป็นบทอนุโมทนาพิเศษ เริ่มต้นด้วย สีต˚ อุณฺห˚ ปฏิหนฺติ ฯลฯ นิยมใช้สวดเมื่อใด?
ตอบ เมื่อทายกถวายเสนาสนะมี โบสถ์ วิหาร กุฎี เป็นต้น ฯ
(ปี 48) ผ้าป่าคือผ้าอะไร ? ค˚าพิจารณาผ้าป่าว่าอย่างไร ?
ตอบ คือ ผ้าบังสุกุลจีวร ได้แก่ผ้าเปื้อนฝุ่นที่ไม่มีเจ้าของหวงแหน ทิ้งอยู่ตามป่าดงบ้าง ตามป่าช้าบ้าง ตามถนนหนทางและห้อยอยู่ตามกิ่งไม้บ้าง ที่สุดจนกระทั่งที่เขา อุทิศไว้แทบเท้า รวมเรียกว่า “ผ้าป่า” ฯ
ค˚าพิจารณาผ้าป่าว่า อิม˚ ปํสุกูลจีวร˚ อสฺสามิก˚ มยฺห˚ ปาปุณาติ
หรือว่า อิม˚ วตฺถ˚ อสฺสามิก˚ ปํสุกูลจีวร˚ มยฺห˚ ปาปุณาติ ฯ
(ปี 48) จงให้ความหมายของค˚าต่อไปนี้ ? ก. ปาฏิปุคคลิกทาน
ข. เภสัชทาน
ค. สลากภัตต์
ง. ผ้าวัสสิกสาฎก จ. ผ้าอัจเจกจีวร
ตอบ ก. คือทานที่ถวายเจาะจงเฉพาะรูปนั้นรูปนี้
ข. คือการถวายเภสัช ๕ ได้แก่ เนยใส เนยข้น น˚้ามัน น˚้าผึ้ง น˚้าอ้อย ค. คือภัตตาหารที่ทายกทายิกาถวายตามสลาก
ง. คือผ้าที่อธิษฐานส˚าหรับใช้นุ่งในเวลาอาบน˚้าฝน หรืออาบน˚้าทั่วไป จ. คือผ้าจ˚าน˚าพรรษาที่ทายกรีบด่วนถวายก่อนก˚าหนดกาล ฯ
(ปี 47) สลากภัต หมายถึงอะไร? ตอบ หมายถึง ภัตตาหารที่ทายก ทายิกาถวายตามสลาก ฯ
(ปี 45) ผ้าวัสสิกสาฎก ใครเป็นผถวายคนแรก? การถวายผ้าวัสสิกสาฎกนั้น มีมูลเหตุมาจากอะไร?
ตอบ นางวิสาขา มหาอุบาสิกา ฯ มีมูลเหตุมาจากเดิมยังไม่มีพุทธานุญาตให้ภิกษมีผ้าอาบน˚้าฝน ภิกษุทั้งหลายจึงเปลือยกายอาบน˚้า นางวิสาขามหา อุบาสิกาทราบเรื่องนั้นแล้ว เห็นว่าไม่สมควรแก่เพศสมณะจึงทูลขอพระพุทธานุญาต เพื่อถวายผ้าอาบนาฝนแก่ภิกษุทั้งหลาย ฯ
(ปี 44) ผ้าป่า และผาอัจเจกจีวร ได้แก่ผาเช่นไร? การทอดผาป่าก˚าหนดกาลเวลาทอดไว้หรือไม่?
ตอบ ผ้าป่า หมายถึงผ้าเปื้อนฝุ่นที่ไม่มเจ้าของหวงเเหน ทิ้งอยู่ตามป่าดงบ้าง ตามป่าช้าบ้าง ตามถนนหนทางและห้อยย้อยอยู่ตามกิ่งไม้บ้าง ฯ ผ้าอัจเจกจีวร หมายถึงผ้าจ˚าน˚าพรรษาที่ทายกรีบด่วนถวายก่อนก˚าหนดกาล คือถวายก่อนออกพรรษา ฯ
ไม่มีก˚าหนดกาลเวลา มีศรัทธาเมื่อไรก็ถวายได้ ฯ
(ปี 43) ผ้าวัสสิกสาฎกคือผ้าเช่นไร? ผ้าจ˚าน˚าพรรษาคือผ้าเช่นไร?
ตอบ คือ ผ้าส˚าหรับภิกษุใช้นุ่งในเวลาอาบน˚้าฝนหรืออาบน˚้าทั่วไป เรียกกันว่า ผ้าอาบน˚้าฝนบ้าง ผ้าอาบบ้าง ผ้านี้เกิดขึ้นเฉพาะฤดูกาลที่ทรง อนุญาตเป็นบริขารพิเศษชั่วคราว อธิษฐานไว้ใช้ได้ตลอด ๔ เดือนฤดูฝน พ้นจากเขตนั้นเป็นธรรมเนียมให้วิกัป ฯ
คือ ผ้าที่ทายกถวายแก่ภิกษุผู้อยู่จ˚าพรรษาครบ ๓ เดือน เว้นผ้ากฐิน ฯ
· บุญพิธี ได้แก่ พิธีท˚าบุญตักบาตรเทโวโรหณะ งานมงคล และงานอวมงคล พิธีแสดงธรรมเทศนา (เทศน์มหาชาติ) พิธีสวดแจง พิธีสวด พระอภิธรรม พิธีสวดมาติกา สามัญอนุโมทนา วิเสสอนุโมทนา
งานมงคล ได้แก่ งานท˚าบุญต่อนามหรือต่ออายุ งานอวมงคล ได้แก่ การท˚าบญอัฐิ
(ปี 60) วันที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เรียกว่าวันอะไร ? ตรงกับวนอะไร ?
ตอบ เรียกว่า วันเทโวโรหณะ ฯ ตรงกับวันมหาปวารณา เพ็ญเดือน ๑๑ ฯ
(ปี 54) วันเทโวโรหณะ คือวันอะไร? เนื่องด้วยวันนั้น มีบุญพิธีอะไรที่ท˚ากันมาจนถึงบัดนี้?
ตอบ คือ วันที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากเทวโลก หลังจากทเสด็จขึ้นไปจ˚าพรรษาในดาวดึงสพิภพถ้วนไตรมาส โบราณเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วันพระ เจ้าเปิดโลก ฯ มีการท˚าบุญตักบาตรแด่พระพุทธเจ้าพร้อมทั้งพระสงฆ์ จนเป็นประเพณีท˚าบญตักบาตรที่เรียกว่า ตักบาตรเทโวโรหณะ มาจนถึง ปัจจุบันนี้ ฯ
(ปี 53) ค˚าว่า เจรญพระพุทธมนต์กับสวดพระพุทธมนต์ใช้ต่างกันอย่างไร? การท˚าบุญฉลองอัฐิจัดเข้าในอย่างไหนใน ๒
อย่างข้างต้น?
ตอบ เจริญพระพุทธมนต์ใช้ในงานมงคล สวดพระพุทธมนต์ใช้ในงานอวมงคล ฯ จัดเข้าในการสวดพระพุทธมนต์ ฯ
(ปี 53) งานท˚าบุญต่อนามหรือต่ออายุ คืองานท˚าบุญเช่นไร?
ตอบ คืองานท˚าบุญที่คณะญาติของผู้ก˚าลังป่วยหนักจัดขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยหายป่วย และเพื่อให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสบ˚าเพ็ญกุศลในบั้นปลายแห่งชีวิตของ ตน หรือ เป็นความประสงค์ของผจะท˚าบุญต่ออายุเองเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต ฯ
(ปี 51) ในงานมงคลที่ท˚ากันอย่างสามัญทั่วไป นิยมเจรญพระพุทธมนต์ด้วย บทสวดมนต์ที่รวมเรียกสนๆ ว่าอะไร? และต้องมีบทอื่นมาประกอบ อีก เรียกว่าอะไร? ตอบ เรียกว่า เจ็ดต˚านาน ฯ เรยกว่า ต้นต˚านาน และท้ายต˚านาน ฯ
(ปี 51) เทศน์มหาชาติ คือการเทศน์เรื่องอะไร? มีกี่กัณฑ์? จบเทศน์มหาชาติแล้ว นิยมเทศน์ต่อด้วยเรื่องอะไร?
ตอบ เรื่องเวสสันดรชาดก ฯ มี ๑๓ กณฑ์ ฯ
เรื่อง จตุราริยสัจจกถา ฯ
(ปี 50) วันเทโวโรหณะ คือวันอะไร? เนื่องด้วยวันนั้น มีบุญพิธีอะไรที่ท˚ากันมาจนถึงบัดนี้?
ตอบ คือ วันที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากเทวโลก หลังจากที่เสด็จขึ้นไป จ˚าพรรษาในดาวดึงสพิภพถ้วนไตรมาส โบราณเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วันพระ เจ้าเปิดโลก ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค˚่า เดือน ๑๑ ฯ มีการท˚าบญตักบาตรแด่พระพุทธเจ้าพร้อมทั้งพระสงฆ์ในวันรุ่งขึ้น จนเป็นประเพณีท˚าบญตักบาตร ที่เรียกว่าตักบาตรเทโวโรหณะ มาจนถึงปัจจุบันนี้ ฯ
(ปี 47) ค˚าต่อไปนี้หมายถึงอะไร? ก. เทศน์มหาชาติ ข. ท˚าบุญอัฐิ ค. สามัญอนุโมทนา ง. วิเสสอนุโมทนา จ. สลากภัต
ตอบ ก. หมายถึง เทศนาเรื่องพระเวสสนดรชาดก
ข. หมายถึง ท˚าบุญหลังจากการปลงศพปรารภผล่วงลับแล้ว
ค. หมายถึง การอนุโมทนาที่นิยมใช้ปฏิบัติกันทั่วไปเป็นปกติ
ง. หมายถึง การอนุโมทนาด้วยบทสวดสาหรับอนุโมทนาเป็นพิเศษ เฉพาะทาน เฉพาะกาล เฉพาะเรื่อง จ. หมายถึง ภัตตาหารที่ทายก ทายิกาถวายตามสลาก ฯ
(ปี 47) ประเพณีการเทศน์แจงและการสวดแจงอาศัยเค้ามูลมาจากเรื่องอะไร? นิยมเทศน์ในงานอะไร?
ตอบ อาศัยเค้ามลมาจากเรื่องการท˚าปฐมสังคายนา ซึ่งเป็นการรวบรวมพระธรรมวินัย จัดไว้เป็นหมวดหมู่ เรียกว่า พระไตรปิฎก ดังนั้นการเทศน์
แจงจึงเป็นการแสดงธรรมแจกแจงวัตถุและหัวข้อในพระไตรปิฎก ในการท˚าปฐมสังคายนา มีการกสงฆ์จ˚านวน ๕๐๐ รูป การสวดแจงจึงนิยมนิมนต
พระสงฆ์ ๕๐๐ รูป ให้เท่าจ˚านวนการกสงฆ์ในครั้งนน ฯ นิยมเทศน์ในงานฌาปนกิจศพ ฯ
(ปี 45) งานท˚าบุญต่อนามคืองานท˚าบุญเช่นไร? ตอบ คืองานท˚าบุญที่คณะญาติของผู้ก˚าลังป่วยหนักจัดขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยหายป่วย และเพื่อให้ผู้ป่วย ได้มโอกาสบ˚าเพ็ญกุศลในบั้นปลายแห่งชีวิตของตน ฯ
(ปี 45) ในพิธีท˚าบุญตักบาตรเทโวโรหณะ พระพุทธรูปที่จะประดิษฐานบนรถทรงหรือคานหาม นิยมพระพุทธรูปปางอะไร?
ตอบ นิยมพระพุทธรูปปางอุ้มบาตร ถ้าไม่มีจะเป็นพระพุทธรูปปางอะไรก็ได้ ฯ
(ปี 44) วันเทโวโรหณะ คือวันอะไร? มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าวันอะไร?
ตอบ คือวันที่พระองค์เสด็จลงจากเทวโลก เรยกอีกอย่างหนึ่งว่าวันพระเจ้าเปิดโลก ฯ
(ปี 44) พิธีสวดพระอภิธรรมมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? การสวดมาติกาคือการสวดเรื่องอะไร?
ตอบ มี ๒ อย่างคือ ๑. สวดประจ˚ายามหน้าศพ ๒. สวดหน้าไฟในขณะฌาปนกิจ ฯ
คือการสวดบทมาติกาของพระอภิธรรมเจ็ดคัมภีร์หรือที่เรียกว่า " สัตตัปปกรณาภิธรรม " ซึ่งมีการบังสุกุลเป็นทสุด เป็นประเพณีนิยมจัดให้พระสงฆ์
สวดในงานท˚าบุญหน้าศพอย่างหนึ่ง เรียกโดยโวหารทางราชการในงานหลวงว่า " สดับปกรณ์ " แต่ราษฎรสามัญทั่วไปเรยกว่า " สวดมาติกา " ฯ
(ปี 43) ค˚าว่า สวดมาติกาหรือสดับปกรณ์ หมายถึงอะไร? ค˚าทั้งสองนั้นใช้ต่างกันอย่างไร?
ตอบ หมายถึงการสวดบทมาติกาของพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ หรือทเรียกว่า สัตตัปปกรณาภิธรรม ซึ่งมีการบังสุกุลเป็นที่สุด เป็นประเพณีนิยมจัด ให้พระสงฆ์สวดในงานท˚าบุญหน้าศพอย่างหนึ่ง ฯ ค˚าว่าสวดมาติกา ใช้ในงานศพราษฎรสามัญทั่วไป ส่วนค˚าว่า สดับปกรณ์ ใช้เรียกโดยโวหารทาง ราชการในงานหลวง (ศพหรืออัฐิของเจ้านายตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป) ฯ
· กุศลพิธี คือ
พิธีบ˚าเพ็ญกุศล ได้แก่ พิธีอาราธนาศีลอุโบสถ
พิธีกรรมวันธรรมสวนะ พิธีท˚าวัตรสวดมนต์ พิธีสังฆอุโบสถ พิธีเข้าพรรษา พิธี ออกพรรษา พิธีท˚าสามีจิกรรม
(ปี 64, 59) ธรรมเนียมของสงฆ์ที่พึงปฏิบัติชอบต่อกัน เพื่อความสามัคคี เรียกว่าอะไร ? หมายถึงอะไร ?
ตอบ เรียกว่า สามีจิกรรม ฯ หมายถึง การขอขมาโทษ และการให้อภัยกัน ฯ
(ปี 63, 56) จงให้ความหมายของค˚าต่อไปนี้ การเข้าพรรษา การออกพรรษา ฯ
ตอบ การเข้าพรรษา หมายถึง การที่ภิกษุผูกใจว่าจะอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่งตลอดเวลา ๓ เดือนในฤดูฝน ไม่ไปค้างแรมให้ล่วงราตรีในที่แห่งอื่นระหว่าง ผูกใจนั้น เว้นแต่ไปด้วยสัตตาหกรณียะ ฯ การออกพรรษา หมายถึง กาลที่สิ้นสดก˚าหนดอยู่จ˚าพรรษาของภิกษุตามพระวินัยบัญญติ มีพิธีเป็นสังฆ กรรมพิเศษโดยเฉพาะ เรียกโดยภาษาพระวินัยว่า ปวารณากรรม คือการท˚าปวารณาของสงฆ์ผู้อยู่ร่วมกันตลอดเวลา ๓ เดือน ฯ
(ปี 63, 61, 57, 48) วันธรรมสวนะ คือวันอะไร? ทรงอนุญาตให้มีในวันใดบ้าง?
ตอบ คือวันก˚าหนดประชุมฟังธรรม หรือที่เรียกว่า "วันพระ" ฯ ในวัน ๘ ค˚่าและวัน ๑๔ ค˚่าหรือ ๑๕ ค˚่าของปักษ์ทั้งข้างขึ้นและข้างแรมฯ
(ปี 62, 49) การท˚าวัตรสวดมนต์ มีประโยชน์อย่างไร ? จงอธิบาย ตอบ เป็นอุบายสงบใจ ไม่ให้คิดวุ่นวายตามอารมณ์ได้ชั่วขณะที่ท˚าเมื่อท˚า ประจ˚าวันละ๒เวลา ทั้งเช้าเย็น ครั้งละครึ่งชั่วโมง หรือ ๑ ชั่วโมงเป็นอย่างน้อย ก็เท่ากับได้ใช้เวลาสงบจิตได้ วันละไม่ต˚่ากว่า ๑ ใน ๒๔ ชวโมงฯ (ปี 61) สามีจิกรรม หมายถึงอะไร ? มีกี่แบบ ? อะไรบ้าง ?
ตอบ หมายถึง การขอขมาโทษกันให้อภัยกันทุกโอกาส ไม่ว่าจะมีโทษขัดข้องหมองใจกันหรือไม่ก็ตาม ถึงโอกาสที่ควรท˚าสามีจิกรรมกันแล้ว ทุกรูป ไม่พึงละโอกาสเสีย ฯ มี ๒ แบบ ฯ คือ ๑. แบบขอขมาโทษ ๒. แบบถวายสักการะ ฯ
(ปี 60) กุศลพิธี คืออะไร ? พิธีท˚าสามีจิกรรม หมายถึงอะไร ?
ตอบ คือ พิธีบ˚าเพ็ญกุศล ฯ หมายถึง การขอขมาโทษกัน ให้อภัยกันทุกโอกาส ไม่ว่าจะมโทษขัดข้องหมองใจกันหรือไม่ก็ตาม ถึงโอกาสที่ควรท˚า สามีจิกรรมกันแล้ว ทุกรูปไม่พึงละโอกาสเสีย ฯ
(ปี 56) ศาสนพิธีเล่ม ๒ แสดงอุโบสถกรรมไว้กี่ประเภท? อะไรบ้าง? ตอบ ๓ ประเภทฯ คือ สังฆอุโบสถ๑ ปาริสุทธิอุโบสถ๑ อธิษฐานอโบสถ๑ ฯ
(ปี 49) การท˚าวัตร คืออะไร? ท˚าวัตรสวดมนต์ เพื่อความมุ่งหมายใด?
ตอบ คือการท˚ากิจวัตรของภิกษุสามเณรและอุบาสกอุบาสิกา เป็นการท˚ากิจที่ต้องท˚าประจ˚าจนเป็นวัตร-ปฏิบัติ เรียกสั้นๆ ว่า ท˚าวัตร ฯ ความมุ่งหมายของการท˚าวัตรสวดมนต์นี้ บัณฑตถือว่าเป็นอุบายสงบจิต ไม่ให้คิดวุ่นวายตามอารมณไ์ ด้ชั่วขณะที่ท˚า เมื่อท˚าประจ˚าวันละ ๒ เวลา ทั้งเช้าเย็นครั้งละครึ่งชั่วโมง หรือ ๑ ชั่วโมงเป็นอย่างน้อย ก็เท่ากับได้ ใช้เวลาสงบจิตได้วันละไม่ต˚่ากว่า ๑ ใน ๒๔ ชั่วโมง ฯ
(ปี 49) ในวันอุโบสถ พระธรรมกถึกให้ศีล ๘ เป็นอุโบสถศีล แต่มผศรัทธาจะรักษาเพียงศีล ๕ เท่านั้น พึงปฏิบัติอย่างไร?
ตอบ พึงปฏิบัติอย่างนี้ สมาทานเพียง ๕ ข้อ ในระหว่างข้อที่ ๓ ซึ่งพระธรรมกถึกให้ด้วยบทว่า อพฺรหมจริยา ... พึงรับสมาทานว่า กาเมสุ มิจฺฉาจา รา... และรับต่อไปจนครบ ๕ ข้อเมื่อครบแล้วก็กราบ ๓ ครั้ง ลดลงนั่งราบไม่ต้องรับต่อไป ฯ
(ปี 47) การท˚าวัตร และการสวดมนต์ ต่างกันอย่างไร?
ตอบ การท˚าวัตร คือ การท˚ากิจวัตรที่ต้องท˚าประจ˚า วันละ ๒ เวลา คือ เช้า-เย็น จนเป็นวัตรปฏิบัติ มีการสวดบูชาพระรัตนตรัย และสวดพิจารณา ปัจจัยที่บริโภคเป็นต้น ส่วนการสวดมนต์คือ การสวดพระพุทธมนต์ต่างๆ นอกเหนือจากบทสวดท˚าวัตรที่เป็นส่วนพระสูตรก็มี ที่เป็นส่วนพระปริตร ก็มี ที่เป็นส่วนเฉพาะคาถาอันนิยมก˚าหนดให้น˚ามาสวดประกอบในการสวดมนต์เป็นประจ˚าก็มี ฯ
(ปี 46) ศาสนพิธีเล่ม ๒ แสดงอุโบสถกรรมไว้กี่ประเภท? อะไรบ้าง? แต่ละประเภทต่างกันอย่างไร? ตอบ แสดงไว้ ๓ ประเภทคือ สังฆอุโบสถ ๑ ปาริสุทธิอุโบสถ ๑ อธิษฐานอุโบสถ ๑ ฯ มีความแตกต่างกันดังนี้
๑. สังฆอุโบสถ คือ อุโบสถกรรมที่พระภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปประชมสวดพระปาฏโมกข์
๒. ปาริสุทธิอุโบสถ คือ อุโบสถกรรมที่พระภิกษุน้อยกว่า ๔ รูป มีเพียง ๓ รูป หรือ ๒ รูป ร่วมกันท˚าเป็นการคณะ ให้แต่ละรูปบอกความบริสุทธิ์ ของตน ๆ
๓. อธิษฐานอุโบสถ คือ อุโบสถกรรมที่พระภิกษุรูปเดียวท˚าเป็นการบุคคล ด้วยการอธิษฐานความบริสทธิ์ใจของตนเอง ฯ
(ปี 46) จงให้ความหมายของค˚าต่อไปนี้ ก. การเข้าพรรษา ข. การออกพรรษา
ตอบ ก. การเข้าพรรษา หมายถึง การที่ภิกษุผูกใจว่า จะอยู่ประจ˚าเสนาสนะในวัดใดวัดหนึ่งตลอดเวลา ๓ เดือนในฤดูฝน ไม่ไปค้างแรมให้ล่วง ราตรีในที่แห่งอื่น ระหว่างผูกใจนั้น เว้นแต่ไปด้วยสัตตาหกรณียะ ฯ
ข. การออกพรรษา หมายถึง กาลที่สิ้นสุดก˚าหนดอยู่จ˚าพรรษาของภิกษุตามพระวินัยบัญญติ มีพิธีเป็นสังฆกรรมพิเศษโดยเฉพาะ เรียก โดยภาษาพระวินัยว่า ปวารณากรรม คือการท˚าปวารณาของสงฆ์ผู้อยู่ร่วมกันตลอดเวลา ๓ เดือน ฯ
(ปี 46) สามีจิกรรม หมายถึงอะไร? มีเท่าไร? อะไรบ้าง? การเทศน์ในปัจจุบันนิยมท˚ากันกี่ลักษณะ? อะไรบ้าง?
ตอบ หมายถึง การขอขมาโทษกันให้อภัยกัน ทุกโอกาสไม่ว่าจะมีโทษขัดข้องหมองใจกันหรือไม่ก็ตาม ถึงโอกาสที่ควรท˚าสามีจิกรรมกันแล้ว ทุกรูป ไม่พึงละโอกาสเสีย ฯ มี ๒ แบบ คือ ๑. แบบขอขมาโทษ ๒. แบบถวายสักการะ ฯ
นิยมท˚ากัน ๔ ลักษณะ คือ ๑. เทศน์ในงานท˚าบุญ ๒. เทศน์ตามกาลนิยม ๓. เทศน์พิเศษ ๔. เทศน์มหาชาติ ฯ (ปี 43) ศาสนพิธีเล่ม ๒ แสดงอุโบสถกรรมไว้กี่ประเภท? อะไรบ้าง? แต่ละประเภทมีความแตกต่างกันอย่างไร? ตอบ มี ๓ ประเภท คือ สังฆอุโบสถ ๑ ปาริสุทธิอุโบสถ ๑ อธิษฐานอุโบสถ ๑
มีความแตกต่างกันดังนี้
๑. สังฆอุโบสถ คือ อุโบสถกรรมที่พระภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป ประชมสวดพระปาฏโมกข์
๒. ปาริสุทธิอุโบสถ คือ อุโบสถกรรมที่พระภิกษุน้อยกว่า ๔ รูป มีเพียง ๓ รูป หรือ ๒ รูป ร่วมกันท˚าเป็นการคณะ ให้แต่ละรูปบอกความบริสุทธิ์ ของตน ๆ
๓. อธิษฐานอุโบสถ คืออุโบสถกรรมที่พระภิกษุรูปเดยวท˚าเป็นการบุคคลด้วยการอธิษฐานความบริสุทธิ์ใจของตนเอง
·
ปกิณกพิธี ได้แก่ บังสุกุลเป็น
(ปี 50) บังสุกุลเป็น คืออะไร? คาถาที่ใช้บังสุกุลเป็น ว่าอย่างไร?
ตอบ บังสุกุลเป็น คือบุญกิริยาที่เจ้าภาพประสงค์จะบริจาควัตถุเนื่องด้วยกายของตน โดยเฉพาะผ้าอุทิศสงฆ์ให้เป็นผ้าบังสุกุล ปกตินิยมท˚าเมื่อป่วย หนัก เป็นการก˚าหนดมรณานุสสติวิธีหนึ่ง ฯ
ว่า อจิร˚ วตย˚ กาโย ปฐวึ อธิเสสฺสติ ฉุฑฺโฑ อเปตวิญฺญาโณ นิรตฺถ˚ว กลิงฺคร˚ ฯ
บทอนุโมทนาคาถา
(ปี 52) บท อทาสิ เม อกาสิ เม… และบท อยญฺจ โข ทกฺขิณา ทินฺนา… ใช้ต่างกันอย่างไร?
ตอบ อทาสิ เม อกาสิ เม… ใช้ในกรณีที่ศพยังอยู่ อยญฺจ โข ทกฺขิณา ทินฺนา… ใช้ในกรณีท˚าบญอัฐิ ฯ
·
สามัญอนุโมทนา / วิเสสอนุโมทนา
(ปี 52) สามัญอนุโมทนากับวเสสอนุโมทนา ต่างกันอย่างไร?
ตอบ ต่างกันอย่างนี้ สามัญอนุโมทนา คือการอนุโมทนาที่นิยมใช้ปฏิบัติกันทั่วไปเป็นปกติ ไม่ว่างานใดก็ใช้อนุโมทนาอย่างนั้น ส่วนวิเสสอนุโมทนา คือการอนุโมทนาด้วยบทสวดส˚าหรับอนุโมทนาเป็นพเศษเฉพาะทาน เฉพาะกาล และเฉพาะเรื่อง
*** บทสวดต้องท่องไปสอบ ให้ฝึกเขียนให้ถูกต้อง
·
อุโบสถศีล
๑.ปาณาติปาตา เวรมณี สิกฺขาปท˚ สมาทิยามิ
๒.อทินฺนาทานา เวรมณี สิกฺขาปท˚ สมาทิยามิ
๓.อพฺรหฺมจริยา เวรมณี สิกฺขาปท˚ สมาทิยามิ
๔.มุสาวาทา เวรมณี สิกฺขาปท˚ สมาทิยามิ
๕.สราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปท˚ สมาทิยามิ
๖.วิกาลโภชนา เวรมณี สิกฺขาปท˚ สมาทิยามิ
๗.นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปท˚ สมาทิยามิ
๘.อุจฺจาสยนมหาสยนา เวรมณี สิกฺขาปท˚ สมาทิยามิ
(ปี 64, 58) จงเขียนอุโบสถศีลข้อที่ ๓ มาดู ฯ ตอบ อพฺรหฺมจริยา เวรมณี สิกฺขาปท˚ สมาทิยามิ ฯ
(ปี 57) จงเขียนคาถาที่ใช้ในการบังสุกุลเป็น และบังสุกุลตาย มาดู
ตอบ คาถาที่ใช้ในการบังสุกุลเป็น ว่า
อจิร˚ วตย˚ กาโย ปฐวึ อธิเสสฺสติ
ฉุฑฺโฑ อเปตวิญฺญาโณ นิรตฺถ˚ว กลิงฺคร˚ คาถาที่ใช้ในการบังสุกุลตายว่า
อนิจฺจา วต สงฺขารา อุปฺปาทวยธมฺมิโน อุปฺปชฺชิตฺวา นิรุชฺฌนฺติ เตส˚ วูปสโม สุโข ฯ
(ปี 55) จงเขียนอุโบสถศีล เฉพาะข้อที่ ๗ มาดู
ตอบ นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปท˚ สมาทิยามิ ฯ
(ปี 50) คาถาที่ใช้บังสุกุลเป็น ว่าอย่างไร?
ตอบ อจิร˚ วตย˚ กาโย ปฐวึ อธิเสสฺสติ ฉุฑฺโฑ อเปตวิญฺญาโณ นิรตฺถ˚ว กลิงฺคร˚ ฯ
(ปี 48) ค˚าพิจารณาผ้าป่าว่าอย่างไร ?
ตอบ อิม˚ ปํสุกูลจีวร˚ อสฺสามิก˚ มยฺห˚ ปาปุณาติ หรือว่า อิม˚ วตฺถ˚ อสฺสามิก˚ ปํสุกูลจีวร˚ มยฺห˚ ปาปุณาติ ฯ
(ปี 45) จงเขียนค˚าบังสุกุลเป็น มาดู
ตอบ อจิร˚ วตย˚ กาโย ปฐวึ อธิเสสฺสติ ฉุฑฺโฑ อเปตวิญฺญาโณ นิรตฺถ˚ว กลิงฺคร˚
วินัย แบ่งออกเป็น
สรุปวินัยมุข นักธรรมชั้นโท
๑. อาทิพรหมจริยกาสิกขา สิกขาบทอันมาในพระปาติโมกข์
๒. อภิสมาจาริกาสิกขา หรือ อภิสมาจาร คือ ธรรมเนียมของภิกษุ (สกขาบทนอกพระปาติโมกข์) แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ เป็นข้อห้าม ๑ เป็นข้ออนุญาต ๑ ภิกษุผู้ไม่เอื้อเฟื้อในอภิสมาจารมีโทษปรับอาบัติถุลลัจจัยเป็นอย่างสูงแต่มีน้อย
ส่วนมากปรับอาบัติทุกกฏเป็นพื้น
(ปี 64, 58) ภิกษุผู้ปฏิบัติพระวินัยส่วนอภิสมาจารให้ดีงาม จะต้องปฏิบัติอย่างไร ?
ตอบ ต้องปฏิบัติโดยสายกลาง คือไม่ถือเคร่งครัดอย่างงมงาย จนเป็นเหตุท าตนให้ล าบากเพราะเหตุธรรมเนียมเล็กๆ น้อยๆ อันขัดต่อกาลเทศะ และไม่สะเพร่ามักง่าย ละเลยต่อธรรมเนียมของภิกษุ จนถึงท าตนให้เป็นคนเลวทราม ฯ
(ปี 63, 61, 59, 56, 51, 49, 45) อภิสมาจาร คืออะไร? แบ่งเป็นกี่ประเภท? อะไรบ้าง?
ตอบ คือธรรมเนียมของภิกษุ ฯ แบ่งเป็น ๒ ประเภท ฯ คือ เป็นข้อห้าม ๑ เป็นข้ออนุญาต ๑ ฯ
(ปี 63, 61, 59, 44) ภิกษุผู้ไม่เอื้อเฟื้อในอภิสมาจาร มีโทษอย่างไรบ้าง? [บางปีข้อสอบก็ถามว่า ท่านปรับอาบัติอะไรบ้าง? ใ👉้ตอบเ👉มอนข้างล่าง เช่นกัน] ตอบ ปรับอาบัติถุลลจจัยเป็นอย่างสูง แต่มีน้อย ส่วนมากปรับอาบัติทุกกฏเป็นพื้น ฯ
(ปี 62, 60) สิกขาบทนอกพระปาฏิโมกข์เรียกว่าอะไร ? ทรงบัญญัติไว้ เพื่อประโยชน์อะไร ?
ตอบ เรียกว่า อภิสมาจาร ฯ ทรงบัญญัติไว้เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของภิกษุ และเพื่อความงามของพระศาสนา เช่นเดียวกับตระกูลใหญ่ จ าต้องมีขนบธรรมเนียม และระเบียบไว้รักษาเกียรติ และความเป็นผู้ดีของตระกูล ฯ
(ปี 58) ภิกษุผู้ละเมิดสิกขาบทนอกพระปาติโมกข์ ต้องอาบัติอะไรได้บ้าง? ตอบ ต้องอาบัติถุลลัจจัย และ ทุกกฏ ฯ
(ปี 57) พระวินัยแบ่งออกเป็นกี่อย่าง? อะไรบ้าง? ตอบ แบ่งออกเป็น ๒ อย่างคือ อาทิพรหมจริยกาสกขา ๑ อภิสมาจาริกาสิกขา ๑ ฯ
(ปี 56) อภิสมาจาร เป็นเหตุให้ต้องอาบัติอะไรได้บ้าง? ตอบ อาบัติถุลลัจจัยและอาบัติทุกกฏ ฯ
(ปี 54) ภิกษุผู้ปฏิบัติพระวินัยส่วนอภิสมาจารให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติดีงาม จะต้องปฏิบัติอย่างไร?
ตอบ จะชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติดีงาม ต้องปฏิบัติโดยสายกลาง คือไม่ถือเคร่งครัดอย่างงมงาย จนเป็นเหตุท าตนให้ล าบากเพราะเหตุธรรมเนียมเล็กๆ น้อยๆ อันขัดต่อกาลเทศะ และไม่สะเพร่ามักง่าย ละเลยต่อธรรมเนียมของภิกษุ จนถึงท าตนให้เป็นคนเลวทราม ฯ
(ปี 53) อาทิพรหมจริยกาสิกขา กบ อภิสมาจาริกาสิกขา ต่างกันอย่างไร?
ตอบ ต่างกันดังนี้ อาทิพรหมจริยกาสิกขา ได้แก่ข้อศึกษาอันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ อันได้แก่พระพุทธบัญญัติที่ทรงตั้งไว้ให้เป็นพุทธอาณา เป็นสิกขาบทอันมาในพระปาติโมกข์ เป็นข้อบังคับโดยตรงทภิกษุจะต้องประพฤติปฏิบัติโดยเคร่งครัด
ส่วนอภิสมาจาริกาสิกขา ได้แก่ข้อศึกษาอันเนื่องด้วยอภิสมาจาร คือมารยาทอันดี ที่ทรงบัญญัติหรืออนุญาตไว้ อันมานอกพระปาติโมกข์ เป็น ขนบธรรมเนียมอันดีงามของหมู่คณะที่ควรประพฤติ
(ปี 52) สิกขาบทนอกพระปาติโมกข์ที่เรียกว่าอภิสมาจารแบ่งเป็น ๒ คือเป็นข้อห้าม ๑ เป็นข้ออนุญาต ๑ นั้นคืออย่างไร? ปรับโทษแก่ผู้ล่วงละเมิดไว้อย่างไร?
ตอบ ที่เป็นข้อห้ามคือ กิริยาบางอย่างหรือบริขารบางประเภทไม่เหมาะแก่สมณสารูป จึงทรงห้ามไม่ให้กระท าหรือใช้บริขารเช่นนั้น เช่น ห้ามไม่ให้ ไว้ผมยาว ไม่ให้ไว้หนวดเครายาว ไม่ให้ใช้บาตรไม้ เป็นต้น
ที่เป็นข้ออนุญาต คือเป็นการประทานประโยชน์พิเศษแก่พระภิกษุ เช่น ทรงอนุญาตวัสสิกาสาฎกในฤดูฝน เป็นต้น ฯ ปรับโทษโดยตรงมีเพียง ๒ คือ ถุลลัจจัย ๑ ทุกกฏ ๑ แม้ในข้อที่ทรงอนุญาต เมื่อไม่ท าตาม ก็เป็นอาบัติทุกกฏ เพราะไม่เอื้อเฟื้อ ฯ (ปี 51) อภิสมาจาร ปรับอาบัติได้กี่อย่าง? อะไรบ้าง? ตอบ ปรับอาบัติได้ ๒ อย่าง ฯ คือถุลลจจัยและทุกกฏ ฯ
(ปี 50) อภิสมาจาร มีรูปเป็น ๒ อย่าง อย่างหนึ่งเป็นข้ออนุญาต อีกอย่างหนึ่งคืออะไร? และปรับอาบัติอะไรได้บ้าง?
ตอบ อีกอย่างหนึ่งคือ ข้อห้าม ฯ ปรับอาบัติถุลลัจจัยและอาบัติทุกกฏ ฯ
(ปี 49) ภิกษุล่วงละเมิดในอภิสมาจารจะเกิดความเสยหายอย่างไร?
ตอบ ถ้าล่วงละเมิดแต่บางอย่างหรือบางครั้งก็เสยหายน้อย แต่ถ้าลวงละเมิดมากอย่างหรือเป็นนิตย์ ธรรมเนียมย่อมกลายไปหรือเสื่อมไป ภิกษุจะ แตกเป็น ๒ พวก คือเคร่งและไม่เคร่ง ฯ
(ปี 48) ภิกษุผู้ละเมิดสิกขาบทนอกพระปาฏิโมกข์ต้องอาบัติอะไรได้บ้าง? ตอบ ต้องอาบัติถุลลัจจัย และ ทุกกฏ ฯ (ปี 46) สิกขาบทนอกพระปาฏิโมกข์ เรียกว่าอะไร? มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? ภิกษุล่วงละเมิดสิกขาบทนอกพระปาฏิโมกข์นั้น ต้องอาบัติโดยตรงอย่างไรบ้าง?
ตอบ เรียกว่าอภิสมาจาร ฯ มี ๒ อย่าง คือ เป็นข้อห้าม ๑ เป็นขออนุญาต ๑ ฯ ต้องอาบัติโดยตรง ๒ อย่าง คือ ถุลลัจจัย ๑ ทุกกฏ ๑ ฯ
(ปี 44) พระวินัย แบ่งออกเป็นกี่อย่าง? อะไรบ้าง? จะปฏิบัติพระวินัยอย่างไร จึงจะเรียกได้ว่า พอดีพองาม?
ตอบ แบ่งออกเป็น ๒ อย่างคือ อาทิพรหมจริยกาสิกขาบท ๑ อภิสมาจาร ๑ ฯ
ต้องปฏิบัติพระวินัยโดยสายกลาง คือไม่ถือเคร่งครัดอย่างงมงาย จนเป็นเหตุต้องท าตนให้เป็นคนล าบาก เพราะเหตุธรรมเนียมเล็ก ๆ น้อย ๆ อันขัด ต่อกาลเทศะ และไม่สะเพร่ามักง่าย ละเลยต่อธรรมเนียมของภิกษุ จนถึงท าตนให้เป็นคนเลวทราม จึงจะเรียกได้ว่า พอดีพองาม ฯ
ล่วงละเมิดพระวินัยแล้วไม่ต้องอาบัติ
(ปี 55) ภิกษุแม้ล่วงละเมิดพระวินัยแล้วไม่ต้องอาบัติ ได้รับยกเว้นทุกสิกขาบท ได้แก่ภิกษุประเภทไหนบ้าง?
ตอบ ได้แก่ ภิกษุบ้าคลั่งจนไม่มีสติสัมปชัญญะ ภิกษุเพ้อจนไม่รส
ึกตัว ภิกษุกระสับกระส่าย เพราะมีเวทนากล้าจนถึงไม่มส
ติ ฯ
นั่งลงบนอาสนะ
(ปี 56) ภิกษุเมื่อจะนั่งลงบนอาสนะ ทรงให้ปฏิบัติอย่างไรก่อน? ที่ทรงให้ปฏิบัติอย่างนั้นเพื่อประโยชน์อะไร?
ตอบ ทรงให้พิจารณาก่อน อย่าผลนผลันนั่งลงไป ฯ เพื่อว่าถ้ามีของอะไรวางอยู่บนนั้น จะทับหรือกระทบของนั้น ถ้าเป็นขันน ้าก็จะหก เสีย มารยาท พึงตรวจดูด้วยนัยน์ตา หรือด้วยมือลูบก่อน ตามแต่จะรไู้ ด้ด้วยอย่างไร แล้วจึงค่อยนั่งลง ฯ
สังฆกรรม ๓
๑. การสวดปาฏิโมกข์ ต้องการสงฆ์จตุวรรค คือ ๔ รูป เป็นอย่างน้อย
๒. อุปสมบทกรรมในปัจจันตประเทศ ต้องการสงฆ์ปัญจวรรค คือ ๕ รูป เป็นอย่างน้อย
อุปสมบทกรรมในมัธยมประเทศ ต้องการสงฆ์ทสวรรค คือ ๑๐ รูป เป็นอย่างน้อย
๓. อัพภาณกรรม ต้องการสงฆ์วีสติวรรค คือ ๒๐ รูปเป็นอย่างน้อย
(ปี 55) สังฆกรรม ๓ อย่างนี้ คือ การสวดปาฏิโมกข์ อุปสมบทกรรมและอัพภาณกรรม มีจ ากัดจ านวนสงฆ์อย่างน้อยเท่าไรจึงจะถูกต้องตามพระ วินัย?
ตอบ การสวดปาฏิโมกข์ ต้องการสงฆ์จตุวรรค คือ ๔ รูป เป็นอย่างน้อย
อุปสมบทกรรมในปัจจันตประเทศ ต้องการสงฆ์ปัญจวรรค คือ ๕ รูป เป็นอย่างน้อย อุปสมบทกรรมในมัธยมประเทศ
ต้องการสงฆ์ทสวรรค คือ ๑๐ รูป เป็นอย่างน้อย
อัพภาณกรรมต้องการสงฆ์วีสติวรรค คือ ๒๐ รูปเป็นอย่างน้อย ฯ
กายบริหาร ๑๔
ธรรมเนียมการดแลรักษารางกายของภิกษุให้สะอาดถูกสุขอนามัย (ในสรุปนี้เอามาเฉพาะที่เคยออกข้อสอบเท่านั้น)
·
อย่าพึงไว้ผมยาว จะไว้ได้เพียง ๒ เดือน หรือ ๒ นิ้ว
· อย่าพึงไว้เล็บยาว พึงตัดเสยด้วยมีดเล็กพอเสมอเนื้อ และอย่าพึงขัดเล็บให้เกลยงเกลา แต่เล็บเปื้อน จะขัดมลทิน หรือจะแคะมล อยู่ นี้เป็นกิจที่ควรท˚า
เล็บได้
· อย่าพึงเปลือยกายในที่หรือเวลาไม่สมควร ถ้าเปลือยกายเป็นวตรเอาอย่างเดียรถีย์ ต้องอาบัติถุลลัจจัย ถ้าเปลือยกายท˚ากิจแก่กัน เช่น ไหว้ รับไหว้ ท˚าบริกรรม ให้ของ
รับของ และเปลือยกายในเวลาฉัน ในเวลาดื่ม ต้องอาบัติทุกกฏ แต่เปลือยกายในเรือนไฟและในน˚้า ไม ต้องอาบัติ
· อย่าพึงนุ่งห่มผ้าอย่างคฤหัสถ์ ห้ามนุ่งห่มเครื่องนุ่งห่มของคฤหัสถ์ เชน ห้ามอาการนุ่งห่มต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ของภิกษุ
กางเกง เสื้อ ผ้าโพก หมวก ผ้านุ่งผ้าห่มสต่าง ๆ ชนิดต่าง ๆ และ
·
อย่าพึงผัดหน้า อย่าพึงไล้หน้า อย่างพึงทาหน้า อย่าพึงย้อมหน้า อย่าพึงเจิมหน้า อย่าพึงย้อมตัว เว้นไว้แต่อาพาธ.
·
อย่าพึงไว้หนวดไว้เครา คือต้องโกนเสมอ ห้ามไม่ให้แต่งหนวด และห้ามไม่ให้ตัดหนวดด้วยกรรไกร
(ปี 64, 59) ในกายบริหาร มีข้อปฏิบัติเกี่ยวกับหนวดและคิ้วไว้ย่างไร ?
ตอบ เกี่ยวกับหนวด มีข้อปฏิบัตไิ ว้ว่า อย่าพึงไว้หนวดไว้เครา คือต้องโกนเสมอ ห้ามไม่ให้แต่งหนวด และห้ามไม่ให้ตัดหนวดด้วยกรรไกร ฯ เกี่ยวกับคิ้ว ไมไ่ ด้วางหลักปฏิบัติไว้ แต่พระสงฆ์ไทยนิยมโกนพร้อมกับผม ฯ
(ปี 62, 54) เปลือยกายอย่างไรตองอาบัติถุลลัจจัย? อย่างไรต้องอาบัติทุกกฎ?
ตอบ เปลือยกายเป็นวัตรเอาอย่างเดียรถีย์ ต้องอาบัติถุลลัจจัย ฯ
เปลือยกายท˚ากิจแก่กัน เช่นไหว้ รับไหว้ ท˚าบริกรรม ให้ของ รับของ และเปลือยกายในเวลาฉัน ในเวลาดื่ม ต้องอาบัติทุกกฏ ฯ
(ปี 57) การผดหน้า ไล้หน้า ทาหน้า ทรงห้ามและทรงอนุญาตไว้ในกรณ๊ใด?
ตอบ ทรงห้ามในกรณีที่ท˚าเพื่อให้สวยงาม ทรงอนุญาตในกรณีที่อาพาธ เช่น เป็นโรคผิวหนัง เป็นต้น ฯ
(ปี 57, 44) ภิกษุเปลือยกายในกรณีต่อไปนี้ ต้องอาบัติอะไรหรือไม่?
ก. เปลือยเป็นวัตรอย่างเดียรถีย์ ข. เปลือยกายท˚ากิจแก่กัน คือไหว้ รับไหว้ ท˚าบริกรรม ให้ของ รับของ เปลือยกายในเวลาฉันและดื่ม ค. เปลือยในเวลาฉัน ในเวลาดื่ม ง. เปลือยในเรือนไฟ จ. เปลือยในน˚้า
ตอบ ก. ต้องอาบัติถุลลัจจัย ข. และ ค. ต้องอาบัติทุกกฏ ง. และ จ. ไมต้องอาบัติ ฯ
(ปี 56) ข้อว่า อย่าพึงนุ่งห่มผ้าอย่างคฤหัสถ์ นั้นมีอธิบายอย่างไร?
ตอบ มีอธิบายว่า ห้ามนุ่งห่มเครื่องนุ่งห่มของคฤหัสถ์ เช่น กางเกง เสื้อ ผ้าโพก หมวก ผ้านุ่งผ้าห่มสต่าง ๆ ชนิดต่าง ๆ และห้ามอาการนุ่งห่มต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ของภิกษุ ฯ
(ปี 52) มีพระบัญญติข้อหนึ่งว่า อย่าพึงนุ่งผ้าอย่างคฤหัสถ์ อย่าพึงห่มผ้าอย่างคฤหัสถ์ ในกรณีที่ภิกษุถูกโจรชิงผ้านุ่งห่มไปหมด พึงปฏิบัตอย่างไรจึง จะถูกต้องตามพระวินัย? ตอบ พึงปิดกายด้วยวัตถุอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการชั่วคราว โดยที่สุดแม้ใบไม้ก็ใช้ได้ ห้ามมิให้เปลือยกายฯ
(ปี 51) มีข้อก˚าหนดในการไว้ผมยาวของพระภิกษุอย่างไร? ในการโกนผม ภิกษุใช้กรรไกรแทนมีดโกนได้หรือไม่?
ตอบ ไว้ได้เพียง ๒ เดือน หรือ ๒ นิ้ว เป็นอย่างยิ่ง ฯ ไม่ได้ เว้นไว้แต่อาพาธ ฯ
(ปี 50) ภิกษุใช้เครื่องนุ่งห่มของคฤหัสถ์ปกปิดกายแทนจีวร จะผิดหรือไม่ อย่างไร?
ตอบ อาจจะผิดหรือไม่ผดแล้วแต่กรณี ในกรณีที่ไม่มีจีวร เช่นจีวรถูกไฟไหม้ ถูกโจรชิงไปหมด นุ่งห่มผาของคฤหัสถ์ได้ ห้ามมิให้เปลือยกาย ถ้าไม่ ปกปิด ต้องอาบัติทุกกฏ แต่ถ้าไม่มีเหตุแล้วนุ่งห่มต้องอาบัติทุกกฏ ฯ
(ปี 49) ภิกษุพึงปฏิบัติเกี่ยวกับเลบมือเล็บเท้าของตนอย่างไร จึงจะถูกต้องตามวินัยแผนกอภิสมาจาร?
ตอบ พึงปฏิบัติอย่างนี้ คือ ไม่พึงไว้เล็บยาว พึงตัดพอเสมอเนื้อ ไม่พึงขัดเล็บให้เกลี้ยงเกลาด้วยมุ่งหมายให้เกิดความสวยงาม แต่เล็บเปื้อน จะขัด
มลทินหรือแคะมลเล็บได้อยู่ นี้เป็นกิจควรท˚า ฯ
(ปี 48) พระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้ภิกษุไว้ผมได้ยาวที่สดเท่าไร? ไว้ได้นานที่สุดเท่าไร? ตอบ ไม่เกิน ๒ นิ้ว ฯ ไม่เกิน ๒ เดือน ฯ
(ปี 47) ในพระวินัยส่วนอภิสมาจาร มีพระพุทธบัญญัติให้รักษาความสะอาดเกี่ยวกับร่างกายไว้อย่างไร? การเคี้ยวไม้ช˚าระฟันมีประโยชน์อย่างไร ? ตอบ มีพระพุทธบัญญัติว่าด้วยกายบริหารไว้ว่า ห้ามไว้ผมยาว ๑ ห้ามไว้หนวดเครา ๑ ห้ามไว้เล็บยาว ๑ ห้ามไว้ขนจมูกยาว ๑ เมื่อถ่ายอุจจาระ แล้ว น˚้ามีอยู่ไม่ช˚าระไม่ได้ ๑ อนุญาตให้ใช้ไม้ช˚าระฟัน ๑ น˚้าดื่มให้กรองก่อน ๑ ฯ
มีประโยชน์ คือ ๑. ฟันไมสกปรก ๒. ปากไม่เหม็น ๓. เส้นประสาทรับรสหมดจดดี ๔. เสมหะไม่หุ้มอาหาร ๕. ฉันอาหารมีรส ฯ
บริขาร
· บริขารบริโภค สิ่งของจ˚าเป็นที่ภิกษุจะต้องมี เช่น
ไตรจีวร(จีวร สังฆาฏิ สบง) บาตร ประคตเอว ผ้าปูนอน ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดปาก ผ้า นิสีทนะ
· บริขารอุปโภค สิ่งของเครื่องใช้สอยเล็ก ๆ น้อย ๆ ส˚าหรับภิกษุ เช่น เข็ม(รวมถึงกล่องเข็ม) มีดโกน(รวมถึงหินส˚าหรับลับ กับเครื่อง
สะบัด) เครื่องกรองน ้า(หรือผ้ากรองน˚้า) ร่ม รองเท้า
·
บริขารเสนาสนะ เครื่องใช้นั่งและนอนในที่อยู่อาศัยของภิกษุ เช่น ฟูกเตียง(ที่นอน) หมอนหนุนศีรษะ เตียง ฟูกตั่ง(เบาะ)
(ปี 63, 61) บาตรที่ทรงอนุญาต มีกี่ชนิด? อะไรบ้าง? บาตรแสตนเลสจัดเข้าในชนิดไหน?
ตอบ มี ๒ ชนิด ฯ คือ
๑. บาตรดินเผา ๒. บาตรเหล็ก ฯ บาตรแสตนเลสจัดเข้าในบาตรเหล็ก ฯ
(ปี 62, 56) บริขาร ๘ อย่างไหนจัดเป็นบริขารบรโภค อย่างไหนจัดเป็นบริขารอุปโภค ?
ตอบ ไตรจีวร บาตร ประคตเอว รวม ๕ อย่าง จัดเป็นบริขารบริโภค ฯ เข็ม มีดโกน และผ้ากรอกน˚้า จัดเป็นบริขารอุปโภค ฯ
(ปี 59) สังฆาฏิ บาตร ประคตเอว เข็ม มีดโกน อย่างไหนจัดเป็นบริขารบริโภค อย่างไหนจัดเป็นบริขาร อุปโภค ?
ตอบ สังฆาฏิ บาตร ประคตเอว จัดเป็นบริขารบรโภค เข็ม มีดโกน จัดเป็นบริขารอุปโภค ฯ
(ปี 57) บาตรที่ทรงอนุญาตให้ใช้มีกี่ชนิด และกี่ขนาด? อะไรบ้าง?
ตอบ มี ๒ ชนิด คือบาตรดินเผาและบาตรเหล็ก ฯ มี ๓ ขนาด คือขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ฯ
(ปี 56) บริขาร ๘ มีอะไรบ้าง? ที่จัดเป็นบริขารบรโภคและบริขารอุปโภคมีอะไรบ้าง?
ตอบ มี ไตรจีวร คือผ้านุ่งผ้าห่มและผ้าทาบ บาตร ประคดเอว เข็ม มีดโกนและผ้ากรองน˚้า ฯ
ไตรจีวร บาตร ประคดเอว รวม ๕ อย่าง จัดเป็นบริขารบริโภค เข็ม มีดโกน และผ้ากรองน˚้า จัดเป็นบริขารอุปโภค ฯ
(ปี 49) ภิกษุพึงใช้บริขารบริโภคและเครื่องอุปโภคอย่างไร จึงจะดูน่าเลื่อมใสของประชาชน?
ตอบ การใช้บริขารบริโภคและเครื่องอุปโภคนั้น ภิกษุควรรู้ต้นเค้าคือนิสัย ๔ ว่า ภิกษุย่อมนิยมใช้สอยบริขารที่เป็นของปอนหรือของเรียบๆ ไม่ใช้ ของดีที่ก˚าลังตื่นกันในสมัยอันจะพึงเรียกว่าโอ่โถง ความประพฤติปอนของภิกษุนี้ย่อมท˚าให้เกิดความเลอมใสแก่คนบางพวกที่เรียกว่า ลูขประมาณ แปลว่า มีของปอนเป็นประมาณ คือมีของปอนเป็นเหตุนับถือ ฯ
(ปี 49) ผ้าสังฆาฏิ คือผ้าอะไร? มีหลักฐานความเป็นมาอย่างไร?
ตอบ คือ ผ้าส˚าหรับห่มกันหนาวหรือห่มซ้อนนอก ทรงอนุญาตเพื่อใช้ในฤดูหนาว ฯ
มีเรื่องเลาว่า ในฤดูหนาวจัด ทรงทดลองห่มจีวรผืนเดียวอยู่ในที่แจ้ง สามารถกันความหนาวได้ยามหนึ่ง ถ้าอยู่ตลอดราตรี ต้องผ้า ๓ ชั้นจึงพอกัน ความหนาวได้ จึงทรงอนุญาตสังฆาฏิ ๒ ชั้นเข้ากับอุตตราสงค์ชั้นเดยว จะได้เป็น ๓ ชั้น พอกันความหนาวดังกล่าวได้ ฯ
(ปี 47) บริขารเหลานี้คือ ไตรจีวร ฟูกเตียง (ที่นอน) หมอนหนุนศีรษะ เตียง ผ้าปูนอน ผาเช็ดหน้า ฟกตั่ง (เบาะ) ผ้านิสีทนะ อย่างไหนจัดเป็น บริขารเครื่องบริโภค อย่างไหนจัดเป็นบริขารเครื่องเสนาสนะ?
ตอบ ไตรจีวร ผ้าปูนอน ผ้าเช็ดหน้า ผ้านิสีทนะ จัดเป็นบริขารเครื่องบริโภค
ฟูกเตียง (ที่นอน) หมอนหนุนศีรษะ เตียง ฟูกตั่ง (เบาะ) จัดเป็นบริขารเครื่องเสนาสนะ ฯ
(ปี 46) บริขารต่อไปนี้ได้แก่อะไรบ้าง? ก. บริขารเครื่องบริโภค ข. บริขารเครื่องอุปโภค
ตอบ ก. ได้แก่ ไตรจีวร ผ้าปูนอน ผ้าเช็ดหน้าเช็ดปาก ผ้านิสีทนะ บาตร ฯ
ข. ได้แก่ กล่องเข็ม เครื่องกรองน˚้า มีดโกนพร้อมทั้งฝัก หินส˚าหรับลบ กับเครื่องสะบัด ร่ม รองเท้า ฯ
ผ้าส าหรับท าจีวร ทรงอนุญาตไว้ ๖ ชนิด
(ปี 58, 52, 44) ผ้าส˚าหรับท˚าจีวรนุ่งห่มนั้น ทรงอนุญาตไว้กี่ชนิด ? อะไรบ้าง ?
ตอบ ๖ ชนิด ฯ คือ ๑. โขมะ ผ้าท˚าด้วยเปลือกไม้ ๒. กัปปาสิกะ ผ้าท˚าด้วยฝ้าย ๓. โกเสยยะ ผ้าท˚าด้วยใยไหม
๔. กัมพละ ผ้าท˚าด้วยขนสัตว์ ยกเว้นผมและขนมนุษย์ ๕. สาณะ ผ้าท˚าด้วยเปลือกป่าน
๖. ภังคะ ผาที่ท˚าด้วยของ ๕ อย่างนั้น แต่อย่างใดอย่างหนึ่งปนกน ฯ
วัสสิกสาฎก (ผ้าอาบน ้าฝน)
(ปี 44) วัสสิกสาฎกได้แก่ผ้าเช่นไร? มีจ˚ากัดประมาณ กว้าง ยาว ไว้อย่างไร?
ตอบ ได้แก่ผ้าอาบน˚้าฝน มีจ˚ากัดประมาณยาว ๖ คืบ กว้าง ๒ คืบครึ่ง แห่งคืบพระสุคต
รูปแบบการตัดเย็บจีวร
(ปี 51) จีวรผืนหนึ่ง มีก˚าหนดจ˚านวนขัณฑ์ไว้อย่างไร? ใน ๑ ขัณฑ์ประกอบด้วยอะไรบ้าง?
ตอบ ก˚าหนดจ˚านวนไว้ไม่น้อยกว่า ๕ ขัณฑ์ แต่ให้เป็นขณฑ์คี่ คือ ๗, ๙, ๑๑ เป็นต้น ฯ ประกอบด้วยมณฑล อัฑฒมณฑล อัฑฒกุสิ ฯ
(ปี 45) ขันธ์แห่งจีวรประกอบด้วยอะไรบ้าง? ทรงมีพระพุทธานุญาตไว้อย่างไร?
ตอบ ประกอบด้วยมณฑล อัฑฒมณฑล และอัฑฒกสิ ฯ
ทรงมีพระพุทธานุญาตไว้ว่า จีวรผนหนึ่งให้มีขันธ์ไม่น้อยกว่า ๕ เกินกว่านั้นใช้ได้ แต่ให้เป็นขันธ์ที่เป็นคี่ คือ ๗, ๙, ๑๑ เป็นต้น ฯ
ข้อก าหนดในการใช้ผ้า
·
ไตรจีวร ประกอบด้วย ๑.ผ้าสังฆาฏิ (ผ้าคลม) ๒.ผ้าอุตตราสงค์ (จีวร หรือ ผ้าห่ม) ๓.อันตรวาสก (สบง หรือ ผ้านุ่ง)
(ปี 54) ผ้าต่อไปนี้ คือ สังฆาฏิ อันตรวาสก นิสีทนะ ผ้าอาบนาฝน ผาเช็ดปาก ผ้าถุงบาตร ผืนใดที่ทรงอนุญาตให้อธิษฐานไดเพียงผืนเดียว? ตอบ
สังฆาฏิ นสีทนะ อันตรวาสก และผ้าอาบน˚้าฝน ฯ
วิธีอธิษฐาน
๑. การอธิษฐานด้วยกาย การใช้มือจับหรือลูบบริขารที่จะอธิษฐานแล้วท˚าความผูกใจตามค˚าอธิษฐานนั้น ๆ
๒. การอธิษฐานด้วยวาจา การเปล่งค˚าอธิษฐานนั้น ๆ ไม่ถูกของด้วยกายก็ได้
(ปี 57) ภิกษุจะเปลี่ยนไตรครอง พึงปฏิบัติตามล˚าดับอย่างไรบ้าง?
ตอบ ต้องปัจจุธรณ์คือถอนอธิษฐานผืนเก่าก่อน แล้วท˚าพินทุและอธิษฐานผืนใหม่ ฯ
(ปี 54) ผ้าบริขารโจล ได้แก่ผ้าเช่นไร? การอธิษฐานด้วยกายกับการอธิษฐานด้วยวาจาต่างกันอย่างไร?
ตอบ ได้แก่ ผ้าที่ไม่ใช่ของใหญ่ถึงกับนุ่งห่มได้ เช่นผ้ากรองน˚้า ถุงบาตร ย่าม ฯ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น