ตอบ มีอธิบายอย่างนี้คือ ดีทั้งในส่วนปริยัติและดีทั้งในส่วนปฏิเวธ ในส่วนปริยติ ได้ชื่อว่าดี เพราะตรัสไม่วิปริต เพราะแสดงข้อปฏิบัติโดยล˚าดับกัน มีความไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง ที่สุด มีทั้งอรรถทั้งพยัญชนะบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง และเพราะประกาศพรหมจรรย์อย่างนั้น
ส่วนในปฏิเวธ นั้น ได้ชื่อว่าดี เพราะปฏิปทากับพระนิพพานย่อมสมควรแก่กันและกันฯ
(ปี 43) จงให้ความหมายของค˚าต่อไปนี้ ก. ภควา ข. โอปนยิโก
ตอบ ก. ภควา คือพระผมีพระภาคเจ้า ทรงเป็นผู้มีโชค คือจะทรงท˚าการใดก็ลุล่วงปลอดภัยทุกประการ อีกอย่างหนึ่งเป็นผู้จ˚าแนกแจกธรรม ข. โอปนยิโก คือพระธรรมมีคุณควรน้อมเข้ามาในใจของตนหรือควรน้อมใจเข้าไปหาพระธรรมนั้นด้วยการปฏิบัติให้เกิดมีขึ้นในใจ
Ø
จริต ๖ อุปนิสัยส่วนตัวของมนุษย์
๑. ราคจริต ผู้มีราคะเป็นปกติ ๔. วิตกจริต ผู้มีวิตกเป็นปกติ
๒. โทสจริต ผู้มีโทสะเป็นปกติ ๕. สัทธาจริต ผู้มีศรัทธาเป็นปกติ
๓. โมหจริต ผู้มีโมหะเป็นปกติ ๖. พุทธิจริต ผู้มีความรู้เป็นปกติ
(ปี 64, 59) จริต คืออะไร ? คนมีปกติเชื่อง่ายเป็นจริตอะไร ?
ตอบ คือ พื้นเพอัธยาศัยของบุคคลที่แสดงออกมาตามปกติเป็นประจ˚า ฯ เป็นสัทธาจรต ฯ
(ปี 63) คนมีปกติรักสวยรักงาม จัดเป็นจรตอะไร ? จะพึงแก้ไดด้วยการพิจารณากรรมฐานข้อใดได้บ้าง ?
ตอบ จัดเป็นราคจริต ฯ จะพึงแก้ได้ด้วยการพิจารณากายคตาสติ หรือ อสุภกรรมฐาน ฯ
(ปี 53) จริต ๖ ได้แก่อะไรบ้าง ? คนมีจริตมักนึกพล่านจะพึงแก้ด้วยกัมมฏฐานอะไร ?
ตอบ ได้แก่ ๑. ราคจริต ๒. โทสจริต ๓. โมหจรต
๔. วิตกจริต ๕. สัทธาจรต
๖. พุทธิจริต ฯ
พึงแก้ด้วยวิธีเพ่งกสิณ หรือเจริญอานาปานัสสติกัมมัฏฐาน ฯ
(ปี 46) บุคคลผู้มีปกติต่อไปนี้ จัดเข้าในจริตอะไร? จะพึงแก้ด้วยธรรมข้อใด? ก. ผู้มีปกติรักสวยรักงาม ข. ผู้มีปกตินึกพลาน
ตอบ ก. จัดเข้าในราคจริต ฯ จะพึงแก้ด้วยเจรญกายคตาสติ หรืออสภกัมมัฏฐาน ฯ
ข. จัดเข้าในวิตักกจรต ฯ จะพึงแก้ด้วยเพ่งกสิณ หรือเจริญอานาปานสติ ฯ
(ปี 44) ปาฏิหาริย์คืออะไร? พระพุทธเจ้าทรงยกย่องปาฏิหาริย์อะไรว่าเป็นอัศจรรย์ยิ่งกว่าปาฏิหารย์อื่น?
พุทธจริยา และพุทธิจรต ต่างกันอย่างไร?
ตอบ คือ การกระท˚าที่ให้บังเกิดผลเป็นอัศจรรย์ ฯ ทรงยกย่องอนุสาสนีปาฏิหาริย์ว่าเป็นอัศจรรย์ยิ่งกว่าปาฏิหารย์อื่น ฯ พุทธจริยา คือพระจรยาของพระพุทธเจ้า พุทธิจริต คือผู้มีความรู้เป็นปกติ ฯ
Ø สวรรค์ ๖ ชั้น ภูมิอันเป็นที่อยู่ของเทวดา
(ปี 52) สวรรค์มีกี่ชั้น อะไรบ้าง?
ตอบ มี ๖ ชั้นได้แก่ ๑. ชั้นจาตุมหาราชิกา
๒. ชั้นดาวดึงส์ ๓. ชั้นยามา ๔. ชั้นดุสิต
๕. ชั้นนิมมานรดี
๖. ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี ฯ
Ø ปิยรูปสาตรูป สภาวะที่รักที่ชื่นใจ ด้วยเพ่งอิฏฐารมณเป็นที่ตั้ง
มีทั้งหมด ๑๐ หมวด หมวดละ ๖ คือ อายตนะภายใน ๖, อายตนะภายนอก ๖, วิญญาณ ๖, สัมผัส ๖, เวทนา ๖, สัญญา ๖, สัญเจตนา ๖, ตัณหา ๖, วิตก ๖ ,วิจาร ๖
(ปี 47) อายตนะภายใน อายตนะภายนอกเป็นต้น ได้ชื่อว่า ปิยรูป สาตรป เพราะเหตไุ ร? โดยตรงเป็นที่เกิดเป็นที่ดับแห่งกิเลสอะไร?
ตอบ เพราะเป็นสภาวะที่รักที่ชื่นใจ ด้วยเพ่งอิฏฐารมณ์เป็นที่ตั้ง ฯ เป็นที่เกิด เป็นที่ดับแห่งตัณหา ฯ
Ø
อภิฐาน ๖ ฐานะอันมีโทษหนัก
๑. มาตุฆาต ฆ่ามารดา ๔. โลหิตุปบาท ท˚าร้ายพระพุทธเจ้าจนพระโลหิตห้อ
๒. ปิตุฆาต ฆ่าบิดา ๕. สังฆเภท ท˚าลายสงฆ์ให้แตกกัน
๓. อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์ ๖. อัญญสัตถุทเทส นับถือศาสดาอื่น
(ปี 44) อัญญสัตถุทเทสคืออะไร ? หมายถึงผู้ประพฤติเช่นไร ?
อัญญสตถุทเทสต่างจากสังฆเภทอย่างไร ?
ตอบ คือถือศาสดาอื่น หมายถึงภิกษุผู้ไปเข้ารีตเดียรถีย์ คือหันเหไปนับถือศาสนาอื่นทั้งที่ยังถือเพศบรรพชิตอยู่ ต้องห้ามมิให้อุปสมบทอีก ฯ ต่างกัน คืออัญญสตถุทเทสนั้น ละทิ้งศาสนาเดมของตน เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอื่น แต่ไม่ท˚าลายพวกเดิมของตน ส่วนสังฆเภทนั้น ยังอยู่ในศาสนา เดิมของตน แต่ท˚าลายพวกตนเองให้แตกแยกเป็นพรรคเป็นพวก ฯ
หมวด ๗
Ø
วิสุทธิ ๗ ปัจจัยส่งต่อกันขึ้นไปเพื่อบรรลุพระนิพพาน
๑. สีลวิสุทธิ ความหมดจดแห่งศีล
๒. จิตตวิสุทธิ ความหมดจดแห่งจิต
๓. ทิฏฐิวิสุทธิ ความหมดจดแห่งทิฏฐิ
๔. กังขาวิตรณวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณ เป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย
๕. มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องเห็นว่าทางหรือมิใช่ทาง
๖.
ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องเห็นทางปฏิบัติ
๗.
ญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณทัสสนะ
(ปี 55) สมาธิระดับไหนจึงจัดเป็นจิตตวิสุทธิ ความหมดจดแห่งจิต?
ตอบ สมาธิทั้งที่เป็นอุปจาระทั้งที่เป็นอัปปนา โดยที่สุดขณิกสมาธิ คือสมาธิชั่วขณะพอเป็นรากฐานแห่งวิปัสสนา จัดเป็นจิตตวิสุทธิ ฯ
(ปี 43) ท˚าไมท่านจึงเปรียบวิสุทธิ ๗ เหมือนรถ ๗ ผลัด ? อะไรจัดเป็นปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ?
ตอบ เพราะวิสุทธิ ๗ นี้เป็นปัจจัยส่งต่อกันขึ้นไปเพื่อบรรลุพระนิพพาน ท่านจึงเปรียบเหมือนรถ ๗ ผลดต่างส่งต่อซึ่งคนผู้ไปให้ถึงสถานทปรารถนาฯ วิปัสสนาญาณ ๙ จัดเป็นปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิฯ
Ø อนุสัย ๗ กิเลสอย่างละเอียดที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน มักไม่ปรากฏ ต่อเมื่อมีอารมณมายั่วจึงปรากฏขึ้น
๑. กามราคะ ความก˚าหนัดในกาม
๒. ปฏิฆะ ความขัดเคืองใจ
๓. ทิฏฐิ ความเห็นผดิ
๔. วิจิกิจฉา ความลังเล
๕. มานะ ความถือตัว
๖. ภวราคะ ความก˚าหนัดในภพ
๗. อวิชชา ความไม่รจริง
Ø
สังโยชน์ ๑๐ กิเลสอันผูกใจสตว์ไว้
โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต˚่า ๕ ได้แก่
๑. สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน
๒. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย
๓. สีลัพพตปรามาส ความยึดมั่นในศีลพรต
๔. กามราคะ ความพอใจรักใคร่ในกามคุณ
๕. ปฏิฆะ ความขัดเคืองใจ
อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง ๕ ได้แก่
๖. รูปราคะ ความติดใจอยู่ในรูปธรรมอันประณีต
๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม
๘. มานะ ความถือตัว
๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน
๑๐. อวิชชา ความไม่รจริง
(ปี 64, 59, 48) กิเลสที่ได้ชื่อว่าอนุสัย และได้ชื่อว่าสังโยชน์ มีอธิบายอย่างไร ?
ตอบ กิเลสที่ได้ชื่อว่าอนุสัย เพราะเป็นกิเลสอย่างละเอียด นอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ มักไม่ปรากฏ ต่อเมื่อมีอารมณ์มายั่วจึงปรากฏขึ้น
กิเลสที่ได้ชื่อว่าโยชน์ เพราะเป็นกิเลสที่ผูกใจสัตว์ไว้กับภพไม่ให้หลดพ้นไปได้ ฯ
(ปี 63, 56) อนุสัย หมายถึงกิเลสประเภทใด? ได้ชื่อเช่นนั้นเพราะเหตุไร?
ตอบ หมายถึง กิเลสอย่างละเอียดที่นอนเนื่องอยู่ในสันดานฯ เพราะกิเลสชนิดนี้ บางทีไม่ปรากฏ แต่เมื่อมีอารมณ์มายั่ว ย่อมเกิดขึ้นในทันใดฯ
(ปี 61, 52) สังโยชน์ คืออะไร ? พระโสดาบันละสังโยชน์อะไรได้ขาดบ้าง ?
ตอบ คือ กิเลสอันผูกใจสัตว์ไว้ ฯ ละสังโยชน์ ๓ เบื้องต้นได้ขาด คือ ๑. สักกายทิฏฐิ ๒. วิจิกิจฉา ๓. สีลัพพตปรามาส ฯ
(ปี 44) อะไรเรียกว่า อนุสัย ? เพราะเหตุไรจึงได้ชื่อเช่นนั้น ?
การจ้องตาต่อตากับหญิงสาวแล้วชื่นใจ จัดเป็นเมถุนสังโยคได้หรือไม่ ? เพราะเหตุไร ?
ตอบ กิเลสที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน เรียกว่าอนุสัย เพราะกิเลสทั้ง ๗ อย่างล้วนเป็นกิเลสอย่างละเอียดที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน บางทีไม่แสดง อาการที่แท้จริงออกมาให้ปรากฏ ต่อเมื่อมีอารมณภายนอกอย่างใดอย่างหนึ่งมายั่วยวน ก็แสดงออกมาให้ปรากฏและท˚าจิตให้ขุ่นมัว เมอไม่มี อารมณมายั่วยวน ก็นอนสงบนิ่งอยู่ประหนึ่งว่าเป็นผู้ไม่มีกิเลส เป็นอยู่เช่นนี้ จึงได้ชื่อว่าอนุสัย ฯ ได้ เพราะอาการเช่นนั้นอิงอาศัยกาม ฯ
(ปี 43) บารมีคืออะไร? มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? สังโยชน์อะไรเรียกวา
ตอบ คือคุณสมบัติหรือปฏิปทาอันยวดยิ่ง
โอรัมภาคิยสังโยชน์? มีอะไรบ้าง?
มี ๑๐ อย่าง คือ
ทาน ๑ ศีล ๑ เนกขัมมะ ๑ ปัญญา ๑ วิริยะ ๑ ขันติ ๑
สัจจะ
๑ อธิษฐาน ๑ เมตตา ๑ อุเบกขา ๑ ฯ สังโยชน์เบื้องต ่าคืออย่างหยาบ เรียกว่า โอรัมภาคิยสังโยชน์ มี ๕ อย่างคือ สักกายทิฏฐิ
๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพตปรามาส ๑ กามราคะ ๑ ปฏิฆะ ๑ ฯ
Ø วิญญาณฐิติ ๗ ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งวิญญาณ
๑. สัตว์เหล่าหนึ่ง มีกายต่างกัน มีสญญาต่างกัน เช่น พวกมนุษย์ พวกเทพบางหมู่ พวกวินิปาติกะ(เปรต)บางหมู่
๒. สัตว์เหล่าหนึ่ง มีกายต่างกัน มีสญญาอย่างเดียวกัน เช่น พวกเทพผู้อยู่ในจ าพวกพรหม ผู้เกิดในภูมิปฐมฌาน
๓. สัตว์เหล่าหนึ่ง มีกายอย่างเดียวกัน มีสัญญาต่างกัน เช่น พวกเทพอาภัสสระ
๔. สัตว์เหล่าหนึ่ง มีกายอย่างเดียวกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน เช่น พวกเทพสุภกิณหะ
๕. สัตว์เหล่าหนึ่ง ผู้เข้าถืงชั้นอากาสานัญจายตนะ
๖. สัตว์เหล่าหนึ่ง ผู้เข้าถืงชั้นวิญญาณัญจายตนะ
๗. สัตว์เหล่าหนึ่ง ผู้เข้าถืงชั้นอากิญจัญญายตนะ
Ø
สัตตาวาส ๙ ภพเป็นที่อยู่แห่งสัตว์
๑. สัตว์เหล่าหนึ่ง มีกายต่างกัน มีสญญาต่างกัน เช่น พวกมนุษย์ พวกเทวดาบางหมู่ พวกวินิปาติกะ(เปรต)บางหมู่
๒. สัตว์เหล่าหนึ่ง มีกายต่างกัน มีสญญาอย่างเดียวกัน เช่น พวกเทพผู้อยู่ในจ าพวกพรหม ผู้เกิดในภูมิปฐมฌาน
๓. สัตว์เหล่าหนึ่ง มีกายอย่างเดียวกัน มีสัญญาต่างกัน เช่น พวกเทพอาภัสสระ
๔. สัตว์เหล่าหนึ่ง มีกายอย่างเดียวกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน เช่น พวกเทพสุภกิณหะ
๕. สัตว์เหล่าหนึ่ง ไม่มีสัญญา ไม่เสวยเวทนา เช่น พวกเทพผู้เป็นอสัญญีสัตว์
๖. สัตว์เหล่าหนึ่ง ผู้เข้าถืงชั้นอากาสานัญจายตนะ
๗. สัตว์เหล่าหนึ่ง ผู้เข้าถืงชั้นวิญญาณัญจายตนะ
๘. สัตว์เหล่าหนึ่ง ผู้เข้าถืงชั้นอากิญจัญญายตนะ
๙. สัตว์เหล่าหนึ่ง ผู้เข้าถืงชั้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ
(ปี 61) วิญญาณฐิติต่างจากสัตตาวาสอย่างไร?
ตอบ ต่างกันอย่างนี้ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งวิญญาณ เรียกว่า วิญญาณฐิติ ภพเป็นที่อยู่แห่งสัตว์ เรียกว่า สัตตาวาส ฯ
(ปี 45) วิญญาณฐิติต่างจากสัตตาวาสอย่างไร? สัญญาเวทยิตนิโรธกับนิโรธสมาบัติต่างกันหรือเหมือนกัน?
ตอบ ต่างกันอย่างนี้ ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งวิญญาณเรียกว่า วิญญาณฐิติ ภพเป็นที่อยู่แห่งสัตว์ เรียกว่า สัตตาวาส ฯ ต่างกันโดยพยัญชนะ โดยอรรถเป็นอย่างเดียวกัน คือท่านผู้เข้าถึงสมาบัติชนิดนี้แล้วย่อมไม่มีสญญาและเวทนา ฯ
Ø เมถุนสังโยค ๗ กิริยาอาการที่ยังเกี่ยวข้องกับเรื่องเมถุนอยู่ ถือเป็นกิริยาอาการที่เป็นมลทินของบรรพชิต
๑. ยินดีการลูบไล้ ขัดสี ให้อาบน ้า และการนวดของมาตุคาม ปลื้มใจด้วยการบ าเรอนั้น
๒. ไม่ถึงอย่างนั้น แต่ยังกระซิกระซี้ เล่นหัว สัพยอกกับมาตุคาม ปลื้มใจด้วยการสรวลเสนั้น
๓. ไม่ถึงอย่างนั้น แต่ยังเพ่งดู จ้องดูตากับมาตุคาม ปลื้มใจด้วยการเพ่งดูนั้น
๔. ไม่ถึงอย่างนั้น แต่ยังชอบฟังเสียงมาตุคามหัวเราะ พูดจาขับร้อง ร้องไห้ ข้างนอกฝา นอกก าแพง แล้วปลื้มใจ
๕. ไม่ถึงอย่างนั้น แต่ยังชอบตามนึกถืออดีตที่ได้เคยหัวเราะพูดเล่นกบมาตุคาม แล้วปลื้มใจ
๖. ไม่ถึงอย่างนั้น แต่ชอบดูคฤหบดี หรือบุตรคฤหบดีผู้อิ่มเอิบพรั่งพร้อมด้วยกามคุณ ๕ บ าเรอตนอยู่ แล้วปลื้มใจ
๗. ไม่ถึงอย่างนั้น แต่ประพฤติพรหมจรรย์ ตั้งปรารถนาเพื่อจะได้เป็นเทพเจ้าหรือเทพองค์ใดองค์หนึ่ง แล้วปลื้มใจ
(ปี 44) อะไรเรียกว่า อนุสัย? เพราะเหตุไรจึงได้ชื่อเช่นนั้น? การจ้องตาต่อตากับหญิงสาวแล้วชื่นใจ จัดเป็นเมถุนสังโยคได้หรือไม่ ? เพราะเหตุไร ?
ตอบ กิเลสที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน เรียกว่าอนุสัย เพราะกิเลสทั้ง ๗ อย่างล้วนเป็นกิเลสอย่างละเอียดที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน บางทีไม่แสดง อาการที่แทจริงออกมาให้ปรากฏ ต่อเมื่อมีอารมณภายนอกอย่างใดอย่างหนึ่งมายั่วยวน ก็แสดงออกมาให้ปรากฏและท˚าจิตให้ขุ่นมัว เมอไม่มี อารมณมายั่วยวน ก็นอนสงบนิ่งอยู่ประหนึ่งว่าเป็นผู้ไม่มีกิเลส เป็นอยู่เช่นนี้ จึงได้ชื่อว่าอนุสัย ฯ ได้ เพราะอาการเช่นนั้นอิงอาศัยกาม ฯ
หมวด ๘
Ø
สมาบัติ ๘ ธรรมที่ควรเข้าถึง
๑. ปฐมฌาณ ๕. อากาสานัญจายตนะ
๒. ทุติยฌาณ ๖. วิญญาณัญจายตนะ
๓. ตติยฌาณ ๗. อากิญจัญญายตนะ
๔. จตุตถฌาณ ๘. เนวสัญญานาสัญญายตนะ (ปี 61) ครุกรรม คืออะไร ? ในฝ่ายอกุศลและฝ่ายกุศลได้แก่อะไร ?
ตอบ คือ กรรมหนัก ฯ ครุกรรมในฝ่ายอกุศล ได้แก่ อนันตริยกรรม ๕ ครุกรรมในฝ่ายกุศล ได้แก่ สมาบัติ ๘ ประการ ฯ
(ปี 54) ครุกรรม คืออะไร ? อนันตริยกรรมกับสมาบัติ ๘ เป็นครุกรรมฝ่ายกุศล หรืออกุศล ?
ตอบ คือ กรรมหนัก ฯ อนันตริยกรรม เป็นครุกรรมฝ่ายอกุศล สมาบัติ ๘ เป็นครุกรรมฝ่ายกุศล ฯ
(ปี 45) วิญญาณฐิติต่างจากสัตตาวาสอย่างไร? สัญญาเวทยิตนิโรธกับนิโรธสมาบัตต่างกันหรือเหมือนกัน?
ตอบ ต่างกันอย่างนี้ ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งวิญญาณเรียกว่า วิญญาณฐิติ ภพเป็นที่อยู่แห่งสัตว์ เรียกว่า สัตตาวาส ฯ ต่างกันโดยพยัญชนะ โดยอรรถเป็นอย่างเดียวกัน คือท่านผู้เข้าถึงสมาบัติชนิดนี้แล้วย่อมไม่มีสญญาและเวทนา ฯ
หมวด ๙
Ø
พุทธคุณ ๙ คุณความดีของพระพุทธเจ้า
๑.
อรห เป็นพระอรหันต์ (มีความหมายหลายประการ ๑.เป็นผู้เว้นไกลจากกิเลสและบาปธรรม ๒.เป็นผู้หักก าแห่งสังสารจักร
๓.เป็นผู้ควรแนะน าสั่งสอนเขา ๔.เป็นผู้ควรรับความเคารพนับถือของเขา ๕.เป็นผู้ไม่มีข้อลับ ไม่ได้ท าความเสียหายอันจะ พึงซ่อนเพื่อมิให้คนอื่นรู้)
๒.
สมฺมาสมฺพุทฺโธ เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้ด้วยพระองค์เอง
๓. วิชฺชาจรณสมปนฺโน เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ (วิชชา ๓ และจรณะ ๑๕)
๔. สุคโต เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว
๕. โลกวิทู เป็นผู้รู้แจ้งโลก
๖. อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ เป็นผู้ฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
๗. สตฺถา เทวมนุสฺสาน เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
๘. พุทฺโธ เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
๙. ภควา ๑.เป็นผมีโชค ๒.เป็นผจ˚าแนกธรรม
(ปี 64, 59) พระพุทธคุณบทว่า อรห˚ เป็นพระอรหันต์ มีความหมายอย่างไรบ้าง?
ตอบ มีความหมายได้ ๔ อย่าง ฯ คือ
๑. ชื่อว่าเป็นพระอรหันต์ เพราะเป็นผู้ไกลจากกิเลสและบาปธรรม กล่าวคือ เป็นผู้บริสุทธิ์
๒. ชื่อว่าเป็นพระอรหันต์ เพราะเป็นผู้หักก˚าสังสารจักร คือ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม ได้
๓. ชื่อว่าเป็นพระอรหันต์ เพราะเป็นผู้ควรแนะน˚าสั่งสอนเขา หรือเป็นผู้ควรรับความเคารพนับถือ
๔. ชื่อว่าเป็นพระอรหันต์ เพราะเป็นผู้ไม่มีความลับ คือมิได้ท˚าความเสียหายอันใดที่จะพึงซ่อนเร้น ฯ
(ปี 62, 44) พระพุทธคุณ บทว่า อรห˚ แปลว่าอย่างไรได้บ้าง ?
ตอบ แปลว่า เป็นผู้เว้นไกลจากกิเลสและบาปกรรม
เป็นผู้หักก˚าแห่งสังสารจักร เป็นผู้ควรแนะน˚าสั่งสอนเขา เป็นผู้ควรรับความเคารพนับถือของเขา
เป็นผู้ไม่มีข้อลับ ไม่ได้ท˚าความเสยหายอันจะพึงซ่อนเพื่อมิให้คนอื่นรู้ ฯ
(ปี 60, 45) พระพุทธคุณ บทว่า อรห˚ ที่แปลว่า เป็นผู้หักก˚าแห่งสังสารจักรนั้น ก˚าแห่งสังสารจักร ได้แก่อะไร ?
ตอบ ได้แก่ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน และกรรม ฯ
(ปี 56) พุทธคุณ ๒ ก็มี พุทธคุณ ๓ ก็มี พุทธคุณ ๙ ก็มี จงแจกแจงแต่ละอย่างว่ามีอะไรบ้าง?
ตอบ พุทธคุณ ๒ คือ อัตตสมบัติ และ ปรหิตปฏบัติ
พุทธคุณ ๓ คือ พระปัญญาคุณ พระวิสุทธิคุณ และพระกรุณาคุณ
พุทธคุณ ๙ คือ อรห˚, สมฺมาสมฺพุทโธ, วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน, สุคโต,โลกวิทู, อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ, สตฺถา เทวมนุสส
าน˚, พุทฺโธ,ภควา ฯ
(ปี 54) พระพุทธคุณว่า อรห˚ ใช้เป็นคุณบทของพระสาวกได้ด้วยหรอไม่? ถ้าได้ จะมีค˚าอะไรมาประกอบร่วมด้วย เป็นเครื่องหมายให้รู้ว่าเป็นคุณ บทของพระศาสดาหรือของพระสาวก?
ตอบ ได้ ฯ ส˚าหรับพระศาสดา ใช้ว่า อรห˚ สมฺมาสมฺพุทฺโธ แปลว่า พระอรหันต์
ผู้ตรส
รู้ชอบเอง ส˚าหรับพระสาวกใช้ว่า อรห˚ ขีณาสโว แปลว่า พระอรหันตผ
ู้มีอาสวะสิ้นแล้ว ฯ
(ปี 53) พระพุทธคุณ ๙ บท คืออะไรบ้าง? บทไหนจัดเป็นอตตหิตสมบัติและปรหิตปฏิบัติ ?
ตอบ คือ อรห˚, สมฺมาสมฺพุทฺโธ, วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน, สคโต, โลกวิทู, อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ, สตฺถา เทวมนุสฺสาน˚, พุทฺโธ, ภควา ฯ
๕ บทเบื้องต้นเป็นอัตตหิตสมบัติ ๔ บทเบื้องปลายเป็นปรหิตปฏิบัติ ฯ
(ปี 52) พระพุทธคุณบทหนึ่งว่า เป็นผู้หักก˚าแห่งสังสารจักร ถามว่าก˚าได้แก่อะไร สังสารจักรได้แก่อะไร? ตอบ ก˚า ได้แก่ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม สังสารจักร ได้แก่ กิเลส กรรม วิบาก ฯ (👉มายเ👉ตุ " กิเลส กรรม วิบาก " เรียกว่า วัฏฏะ ๓)
(ปี 48) พระพุทธคุณบทว่า “อนตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ เป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึกได้ไม่มีใครยิ่งกว่า” ค˚าว่า “บุรุษที่ควรฝึกได้” นั้น หมายถึงบุคคลเช่นไร ?
ตอบ หมายถึงบุคคลผู้มีอุปนิสัยที่อาจฝึกให้ดีได้และตั้งใจจะเข้าใจพระธรรมเทศนา แม้ฟังด้วยตั้งใจจะจับข้อบกพร่องขึ้นยกโทษเช่นเดียรถีย์ก็ตาม ฯ
(ปี 45) พระพุทธคุณต่อไปนี้มีค˚าแปลว่าอย่างไร ? ก. สุคโต ข. อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ ตอบ ก. เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว ฯ ข. เป็นสารถีแห่งบุรุษพึงฝึกได้ ไม่มีบุรุษอื่นยิ่งไปกว่า ฯ (ปี 43) จงให้ความหมายของค˚าต่อไปนี้ ก. ภควา ข. โอปนยิโก
ตอบ ก. ภควา คือพระผมีพระภาคเจ้า ทรงเป็นผู้มีโชค คือจะทรงท˚าการใด ก็ลุล่วงปลอดภัยทุกประการ อีกอย่างหนึ่งเป็นผู้จ˚าแนกแจกธรรม ข. โอปนยิโก คือพระธรรมมีคุณควรน้อมเข้ามาในใจของตนหรือควรน้อมใจเข้าไปหาพระธรรมนั้นด้วยการปฏิบัติให้เกิดมีขึ้นในใจ
Ø สังฆคุณ ๙ คุณความดีองพระสงฆ์ผู้เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า
๑. สุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว ๖. ปาหุเนยฺโย เป็นผู้ควรของต้อนรับ
๒. อุชุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว ๗. ทกฺขิเณยฺโย เป็นผู้ควรของท˚าบุญ
๓. ญายปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติเป็นธรรม ๘. อญฺชลิกรณีโย เป็นผู้ควรท˚าอญชลี (ประณมมือไหว้)
๔. สามีจิปฏิปนฺโน เป็นผปฏิบัติสมควร ๙. อนุตฺตร ปุญฺญกฺเขตฺต โลกสฺส เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า
๕. อาหุเนยฺโย เป็นผู้ควรของค˚านับ
(ปี 63) พระสงฆ์ปฏิบัติอย่างไร จึงได้ชื่อว่า อุชุปฏิปันโน เป็นผู้ปฏิบัติตรง ?
ตอบ คือ ไม่ปฏิบัติลวงโลก ไม่มมายาสาไถย ประพฤติตรงๆ ต่อพระศาสดาและเพื่อนสาวกด้วยกัน ไม่อ˚าพรางความในใจ ไม่มีแง่มีงอน ฯ
(ปี 62) ค˚าว่า พระสงฆ์ ในบทสังฆคุณนั้น ท่านประสงค์บุคคลเช่นไร ? จงจ˚าแนกมาดู
ตอบ ท่านประสงค์พระอริยบุคคล ๔ คู่ ๘ บุคคล ซึ่งล้วนแต่ท่านผู้ที่ตั้งอยู่ในมรรคผลทั้งสิ้น
คือ พระโสดาปัตติมรรค พระโสดาปัตติผล คู่ ๑ พระสกทาคามิมรรค พระสกทาคามิผล คู่ ๑ พระอนาคามิมรรค พระอนาคามิผล คู่ ๑ พระอรหัตมรรค พระอรหัตผล คู่ ๑ ฯ
(ปี 61) ค˚าว่า "อุชุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติตรง" คือปฏิบัติเช่นไร ?
ตอบ คือ ไม่ปฏิบัติลวงโลก ไม่มมายาสาไถย ประพฤติตรงต่อพระศาสดา และเพื่อนสาวกด้วยกัน ไม่อ˚าพรางความในใจ ฯ (ปี 60, 46) พระสงฆ์ ในบทสังฆคุณ ๙ ท่านหมายถึงพระสงฆ์เช่นไร? ค˚าว่า "อุชุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติตรง"คือปฏิบัติเช่นไร? ตอบ หมายถึง พระสาวกผู้ได้บรรลุธรรมวิเศษตั้งแต่โสดาปัตติมรรคเป็นต้น ฯ
คือไม่ปฏิบัติลวงโลก ไม่มีมายาสาไถย ประพฤติตรง ตรงต่อพระศาสดาและเพื่อนสาวกด้วยกัน ไม่อ˚าพรางความในใจ ไม่มีแง่งอน ฯ
(ปี 55) สังฆคุณ ๙ มีอะไรบ้าง จะย่นให้เหลือเพียง ๒ ได้อย่างไร?
ตอบ มี ๑. สุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว ๖. ปาหุเนยฺโย เป็นผู้ควรของต้อนรับ
๒. อุชุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว ๗. ทกฺขิเณยฺโย เป็นผู้ควรของท˚าบญุ
๓. ญายปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติเป็นธรรม ๘. อญฺชลิกรณีโย เป็นผู้ควรท˚าอัญชลี (ประณมมือไหว้)
๔. สามีจิปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัตสมควร ๙. อนุตฺตร˚ ปุญฺญกฺเขตฺต˚ โลกสฺส เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ฯ
๕. อาหุเนยฺโย เป็นผู้ควรของค˚านับ
ข้อ ๑ ถึงข้อ ๔ เป็นอัตตหิตคุณ คือคุณเกื้อกูลแก่ตนเอง ข้อ ๕ ถึงข้อ ๙ เป็นปรหิตคุณ คือคุณเกื้อกูลแก่ผู้อื่น ฯ
(ปี 44) พระสงฆ์ดีอย่างไร จึงจัดว่าเป็นนาบุญของโลก?
ตอบ พระสงฆ์เป็นผู้บริสุทธิ์ ทักขิณาที่บริจาคแก่ท่าน ย่อมมีผลานิสงส์ดุจนาที่มีดินดีและไถดี พืชที่หว่านที่ปลูกลงย่อมเผล็ดผลไพบูลย์ จึงชื่อว่านา
บุญของโลก ฯ
Ø มานะ ๙ (ความถือตัว) ความส˚าคัญตัวว่าเป็นนั่นเป็นนี่
๑. เป็นผู้เลิศกว่าเขา ส าคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา
๒. เป็นผู้เลิศกว่าเขา ส าคัญตัวว่า เสมอเขา
๓. เป็นผู้เลิศกว่าเขา ส าคัญตัวว่า เลวกว่าเขา
๔. เป็นผู้เสมอกว่าเขา ส าคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา
๕. เป็นผู้เสมอกว่าเขา ส าคัญตวว่า เสมอเขา
๖. เป็นผู้เสมอกว่าเขา ส าคัญตัวว่า เลวกว่าเขา
๗. เป็นผู้เลวกว่าเขา ส าคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา
๘. เป็นผู้เลวกว่าเขา ส าคัญตัวว่า เสมอเขา
๙. เป็นผู้เลวกว่าเขา ส าคัญตัวว่า เลวกว่าเขา
(ปี 51) มานะ คืออะไร ? ว่าโดยย่อ ๓ อย่าง ได้แก่อะไรบ้าง ?
ตอบ คือ ความส˚าคัญตัวว่าเป็นนั่นเป็นนี่ ฯ ได้แก่ ๑. ส˚าคัญตัวว่าเลิศกว่าเขา ๒. ส˚าคัญตัวว่าเสมอเขา ๓. ส˚าคัญตัวว่าเลวกว่าเขาฯ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น