Ø
อริยวงศ์ ๔ ปฏิปทาของพระอริยบุคคลผเป็นสมณะ
๑. สันโดษด้วยจีวรตามมีตามเกิด ๓. สันโดษด้วยเสนาสนะตามมีตามเกิด
๒. สันโดษด้วยบิณฑบาตตามมีตามเกิด ๔. ยินดีในการเจริญกุศลและในการละอกุศล (ปี
62) ปฏิปทาของพระอริยบุคคลผู้เป็นสมณะ
เรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง ?
ตอบ เรียกว่า อริยวงศ์ ฯ มี ๔ คือ ๑. สันโดษด้วยจีวรตามมีตามเกิด ๒. สันโดษด้วยบิณฑบาตตามมีตามเกิด
๓. สันโดษด้วยเสนาสนะตามมตามเกิด ๔. ยินดีในการเจริญกุศลและในการละอกุศลฯ
(ปี 55) อริยวงศ์คืออะไร มีกี่อย่าง ข้อที่ ๔ ว่าอย่างไร?
ตอบ คือ ปฏิปทาของพระอริยบุคคลผเป็นสมณะ มี ๔ อย่าง ฯ ข้อที่ ๔ ว่า ยินดีในการเจรญกุศลและในการละอกุศล ฯ
(ปี 47) ภิกษุผู้ได้รับการสรรเสริญว่าด˚ารงอยู่ในอริยวงศ์ เพราะเป็นผู้ปฏิบัติอย่างไร? เมื่อด˚ารงอยู่ในอริยวงศ์ถูกต้องดีแล้วจะได้รับผลอย่างไร?
ตอบ เพราะเป็นผู้สันโดษด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะตามมีตามได้ และยินดีในการเจริญกุศลและในการละอกุศล ไม่ยกตนข่มผู้อื่น ขยัน ไม่เกียจ คร้าน มีสมปชัญญะ มีสติ ฯ
ย่อมได้รับผลคือความสุขใจและปลอดโปร่งใจเพราะความประพฤติดีปฏิบัติชอบของตน และไม่ต้องเดอดร้อนใจเพราะความเดือดร้อนเนื่องด้วยการ
แสวงหาไมสมควรและประพฤติเสยหายโดยประการต่างๆ ย่อมครอบง˚าความยินดีและความไม่ยินดีเสยได้ ความยินดีและความไม่ยินดีก็ไม่อาจ
ครอบง˚าท่านได้ และใครๆ ก็ไม่อาจติเตียนท่านได้ ฯ
(ปี 43) อัปปมัญญา ๔ กับพรหมวิหาร ๔ ต่างกันอย่างไร ? อะไรเรียกว่า อริยวงศ์ ? แจกออกเป็นเท่าไร ? อะไรบ้าง ?
ตอบ ต่างกันอย่างนี้คือ อัปปมัญญาได้แก่การแผ่โดยไม่เจาะจงตัว และไม่มีจ˚ากัด ส่วนพรหมวิหารได้แก่การแผ่โดยเจาะจงตัว หรือโดยไม่เจาะจงตัว แต่ยังจ˚ากัดมุ่งเอาหมู่นี้หมู่นั้น ฯ
ปฏิปทาของพระอริยบุคคลผู้เป็นสมณะเรียกว่า อริยวงศ์ แจกออกเป็น ๔ คือ ๑. สันโดษด้วยจีวรตามมีตามเกิด
๒. สันโดษด้วยบิณฑบาตตามมีตามเกิด ๓. สันโดษด้วยเสนาสนะตามมีตามเกิด ๔. ยินดีในการเจรญกุศลและในการละอกุศลฯ
Ø อัปปมัญญา ๔ (ไม่มีขอบเขต, ไม่มีประมาณ) ธรรมคือเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ที่แผ่ไปในสรรพสัตว์ทั้งหลายอย่างไม่มีขอบเขต
๑. เมตตา ความรักใคร่ ,ความหวังดี หรือปรารถนาให้ผู้อื่นเป็นสุข
๒. กรุณา สงสาร หรือปรารถนาให้ผอื่นพ้นจากความทุกข์ หรือความปราณี
๓. มุทิตา พลอยยินดี หรือยินดีเมื่อผอื่นมีความสุข
๔. อุเบกขา วางเฉย หรือวางใจเป็นกลางเมื่อเห็นว่าสัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ไม่อาจช่วยเหลือได้
(ปี 61) เมตตา มีความหมายว่าอย่างไร ? เมตตาในพรหมวิหารและในอัปปมัญญา ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ มีความหมายว่า ปรารถนาความสุขความเจริญต่อผู้อื่นด้วยความจริงใจ ฯ
ต่างกันโดยวิธีแผ่ คือ แผ่โดยเจาะจงก็ดี โดยไม่เจาะจงก็ดี จัดเป็นพรหมวิหาร ถ้าแผ่โดยไม่เจาะจงไม่จ˚ากัด จัดเป็นอัปปมัญญา ฯ
(ปี 57) การแผเมตตาในพรหมวิหาร กับในอัปปมัญญา ต่างกันอย่างไร?
ตอบ ในพรหมวิหารเป็นการแผเมตตาโดยเจาะจงตัว หรือเจาะจงหมู่คณะ ส่วนในอัปปมัญญาเป็นการแผ่มเตตาโดยไม่เจาะจงตัวไมมีจ˚ากัด ฯ
(ปี 54) เมตตากับปรานีมีความหมายต่างกันหรือเหมือนกันอย่างไร ? และอย่างไหนก˚าจัดวิตกอะไร ?
ตอบ เมตตาหมายถึงความรักใคร่หรือความหวังดี ปรานีหมายถึงความปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นจากความทุกข์เข้าลักษณะแห่งกรุณา ฯ เมตตาก˚าจัด
พยาบาทวิตก ปรานีก˚าจัดวิหิงสาวิตก ฯ (👉มายเ👉ตุ ค˚าวา
“วิตก” ในที่นี้ 👉มายถึง อกุศลวิตก ๓ ได้แก่ กามวิตก พยาบาทวิตก วิ👉ิงสาวิตก)
(ปี 49) พรหมวิหารกับอัปปมัญญา ต่างกันอย่างไร ? อย่างไหนเป็นปฏิปทาโดยตรงของภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ?
ตอบ ต่างกันโดยวิธีแผ่ คือ แผ่โดยเจาะจงตัวก็ดี โดยไม่เจาะจงตัวก็ดี แต่ยังจ˚ากัดหมู่นั้นหมู่นี้จัดเป็นพรหมวิหาร
ถ้าแผ่โดยไม่เจาะจงไม่จ˚ากัด จัดเป็นอัปปมัญญา ฯ อัปปมัญญาเป็นปฏิปทาของภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ฯ
(ปี 43) อัปปมัญญา ๔ กับพรหมวิหาร ๔ ต่างกันอย่างไร ? อะไรเรียกว่า อริยวงศ์ ? แจกออกเป็นเท่าไร ? อะไรบ้าง ?
ตอบ ต่างกันอย่างนี้คือ อัปปมัญญาได้แก่การแผ่โดยไม่เจาะจงตัว และไม่มีจ˚ากัด ส่วนพรหมวิหารได้แก่การแผ่โดยเจาะจงตัว หรือโดยไม่เจาะจงตัว แต่ยังจ˚ากัดมุ่งเอาหมู่นี้หมู่นั้น ฯ
ปฏิปทาของพระอริยบุคคลผู้เป็นสมณะเรียกว่า อริยวงศ์ แจกออกเป็น ๔ คือ ๑. สันโดษด้วยจีวรตามมีตามเกิด
๒. สันโดษด้วยบิณฑบาตตามมีตามเกิด ๓. สันโดษด้วยเสนาสนะตามมีตามเกิด ๔. ยินดีในการเจริญกุศลและในการละอกุศลฯ
Ø
ทักขิณาวิสุทธิ ๔ ความบริสุทธิ์แห่งทักขิณา (ทักขิณา คือ ของท˚าบุญ)
๑. บริสุทธิ์ฝ่ายทายก ฝ่ายปฏิคาหกไม่บริสุทธิ์ ๓. ไม่บริสุทธิ์ทั้งฝ่ายทายก และฝ่ายปฏิคาหก
๒. บริสุทธิ์ฝ่ายปฏิคาหก ฝ่ายทายกไม่บริสุทธิ์ ๔. บริสุทธิ์ทั้งฝ่ายทายก และฝ่ายปฏิคาหก (ปี 56) ทักขิณาวิสุทธิ มีอะไรบ้าง? อย่างไหนให้อานิสงส์มากที่สุด?
ตอบ ทักขิณาบางอย่าง บริสุทธ์ฝ่ายทายก ไม่บรสุทธ์ฝ่ายปฏิคาหก
ทักขิณาบางอย่าง บริสุทธ์ฝายปฏคาหก ไม่บริสุทธ์ฝายทายก ทักขิณาบางอย่าง ไม่บริสุทธ์ทั้งฝ่ายทายก ทั้งฝ่ายปฏิคาหก ทักขิณาบางอย่าง บริสุทธ์ทั้งฝ่ายทายก ทั้งฝ่ายปฏิคาหก ฯ อย่างที่ ๔ คือ ทักขิณาที่บริสุทธ์ทั้งฝ่ายทายก ทั้งฝ่ายปฏิคาหก ฯ
(ปี 54) ทักขิณา คืออะไร? ทักขิณานั้น จะบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์ ในฝ่ายทายกและในฝ่ายปฏิคาหกนั้น มีอะไรเป็นเครื่องหมาย?
ตอบ คือ ของท˚าบุญ ฯ ทักขิณาจะบริสุทธิ์ มีศีลมีกัลยาณธรรมเป็นเครื่องหมาย ทักขิณาจะไม่บริสทธิ์ มีทุศีลมีบาปธรรมเป็นเครื่องหมายฯ
(ปี 49) ทักขิณา คืออะไร ? ทักขิณานั้น จะบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์ มีอะไรเป็นเครื่องหมาย ?
ตอบ คือ ของท˚าบุญ ฯ มีศีลมีกัลยาณธรรมของทายก หรือปฏิคาหกฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง เป็นเครื่องหมายให้รู้ว่า บริสุทธิ์ และมีความเป็นผู้ทุศีลและอธรรม ของทายกหรือปฏิคาหกฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นเครื่องหมายให้รู้ว่า ไม่บริสุทธิ์ ฯ
(ปี 46) ค˚าว่า ทักขิณา ในทักขิณาวิสุทธินั้น หมายถึงอะไร ? ทักขิณาจะไม่บริสุทธิ์ และบริสุทธิ์ ก˚าหนดรู้ได้อย่างไร ?
ตอบ หมายถึง ของท˚าบุญ ฯ
ก˚าหนดรู้ได้อย่างนี้ ทั้งทายก ทั้งปฏิคาหกเป็นผู้ไม่บริสทธิ์ ทักขิณานั้น ชื่อว่า ไม่บริสุทธทั้งสองฝ่าย ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งบริสุทธิ์ ชื่อว่าบริสุทธิ์ฝ่ายเดียว
ทั้งสองฝ่ายบรสุทธิ์ ชื่อว่าบริสุทธิ์ทั้งสองฝ่าย ฯ
Ø
อวิชชา ๔ ความไม่รู้
๑. ไม่รู้ในทุกข์ ๓. ไม่รู้ในทุกขนิโรธ
๒. ไม่รู้ในทุกขสมุทัย ๔. ไม่รู้ในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา.
Ø
อวิชชา ๘ ความไม่รู้
๑. ไม่รู้จักทุกข์ ๓. ไม่รู้จักความดับทุกข์
๒. ไม่รู้จักเหตุเกิดแห่งทุกข์ ๔. ไม่รู้จักทางถึงความดับทุกข์
๕. ไม่รู้จักอดีต คือไม่รจักสาวหลง เมื่อพบเห็นผลในปัจจุบัน ไม่รู้จกสาวหาต้นเค้าว่าอะไรเป็นเหตุให้เกิดมีขึ้น.
๖. ไม่รู้จักอนาคต คือไม่รู้จักคิดลวงหน้า ไม่อาจปรารภการที่ท˚า หรอเหตุอันเกิดขึ้นในปัจจุบันว่าจักมีผลเป็นอย่างนั้นๆ.
๗. ไม่รู้จักทั้งอดีตทั้งอนาคต คือไม่รู้จักโยงเหตุในอดีต และผลในอนาคตให้เนื่องถึงกัน.
๘. ไม่รู้จักปฏจจสมุปบาท คือไม่รู้จักก˚าหนดสภาวะนั้น ๆ โดยความเป็นเหตเป็นผลแห่งกันและกันเนื่องกันไป ดุจลูกโซ่เกี่ยวกันเป็นสาย
(ปี 61) ในอวิชชา ๘ ข้อที่ว่า ไม่รู้จักอนาคต มีอธิบายว่าอย่างไร?
ตอบ มีอธิบายว่า ไม่รจักคิดล่วงหน้า ไม่อาจปรารภการที่ท˚า หรือเหตุอันเกิดขึ้นในปัจจุบันว่าจักมีผลเป็นอย่างนั้นๆ ฯ
Ø โอฆะ ๔ กิเลสเป็นดุจกระแสน˚้าอนท่วมใจสัตว์ (กาม ภพ ทิฏฐิ และอวิชชา)
๑. กาโมฆะ โอฆะคือกาม ๓. ทิฏโฐฆะ โอฆะคือทิฏฐิ
๒. ภโวฆะ โอฆะคือภพ ๔. อวิชโชฆะ โอฆะคืออวิชชา
Ø
อาสวะ ๔ กิเลสเป็นสภาพหมักหมมอยู่ในสันดาน
๑. กามาสวะ อาสวะคือกาม (อาสวะเป็นเหตุอยากได้) ๓. ทิฏฐาสวะ อาสวะคือทิฏฐิ
๒. ภวาสวะ อาสวะคือภพ (อาสวะเป็นเหตุอยากเป็น) ๔. อวิชชาสวะ อาสวะคืออวิชชาความเขลา
Ø
โยคะ ๔ กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพ
๑. กามโยคะ กิเลสเครื่องประกอบคือกาม (ตรึงให้ติดอยู่กับกามคุณ)
๒. ภวโยคะ กิเลสเครื่องประกอบคือภพ (ตรึงให้ติดอยู่กับความยินดีในอัตภาพของตน ตลอดจนชอบใจ ในรูปภพ อรูปภพ)
๓. ทิฏฐิโยคะ กิเลสเครื่องประกอบคือทิฏฐิ (ตรึงให้ติดอยู่กับความเห็นผิดจากท˚านองคลองธรรม)
๔. อวิชชาโยคะ กิเลสเครื่องประกอบคืออวิชชา (ตรึงให้ติดอยู่กับความหลง)
(ปี 60) ทิฏฐิ ความเห็นผิด ท่านเรียกว่า โอฆะ โยคะ อาสวะ เพราะเหตุใด?
ตอบ เรียกว่า โอฆะ เพราะเป็นดุจกระแสน˚้าาอันท่วมใจสัตว์ เรียกว่า โยคะ เพราะประกอบสัตว์ไว้ในภพ เรียกว่า อาสวะ เพราะเป็นสภาพหมักหมมอยู่ในกระแสจิต ฯ
(ปี 57) กิเลส ชื่อว่าโอฆะ โยคะ และอาสวะ เพราะเหตุไร?
ตอบ ชื่อว่าโอฆะ เพราะดุจเป็นกระแสน˚้าอันท่วมใจสัตว์ ชื่อว่าโยคะ เพราะประกอบสัตว์ไว้ในภพ ชื่อว่าอาสวะ เพราะเป็นสภาพหมักหมมอยู่ในสันดาน ฯ
(ปี 53) กาม ภพ ทิฏฐิ และอวิชชา ได้ชื่อว่า โอฆะ โยคะ และอาสวะ เพราะเหตไุ ร?
ตอบ ได้ชื่อว่าโอฆะ เพราะเป็นดุจกระแสน˚้าอันท่วมใจสัตว์ ได้ชื่อว่าโยคะ เพราะประกอบสัตว์ไว้ในภพ ได้ชื่อว่าอาสวะ เพราะเป็นสภาพหมักหมมอยู่ในสันดาน ฯ
(ปี 44) กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา เพราะเหตุไรจึงเรียกว่า โอฆะ โยคะ อาสวะ ? กิจในอริยสจแต่ละอย่างนั้นมีอะไรบ้าง ?
ตอบ เรียกว่า โอฆะ เพราะเป็นดุจกระแสน˚้าอันท่วมใจสัตว์ เรียกว่า โยคะ เพราะประกอบสตว์ไว้ในภพ เรียกว่า อาสวะ เพราะเป็นสภาพหมักหมมอยู่ในสันดาน ฯ
มี ๔ คือ ๑. ปริญญา ก˚าหนดรู้ทุกขสัจ ๒. ปหานะ ละสมุทัยสจ ๓. สัจฉิกรณะ ท˚าให้แจ้งนิโรธสัจ
๔. ภาวนา ท˚ามัคคสัจให้เกิดฯ
Ø
อบาย ๔ ภูมิ ก˚าเนิดหรือพวก อันหาความเจริญมิได้
๑. นิรยะ นรก ๓. ปิตติวิสัย ภูมิแห่งเปรต
๒. ติรัจฉานโยนิ ก˚าเนิดดรัจฉาน ๔. อสุรกาย พวกอสุร
(ปี 51) อบาย ได้แก่อะไร? มีอะไรบ้าง?
ตอบ ได้แก่ ภูมิ ก˚าเนิดหรือพวก อนหาความเจริญมิได้ ฯ
มี ๑.นิรยะ คือนรก ๒.ติรัจฉานโยนิ คือก˚าเนิดดิรัจฉาน ๓.ปิตติวิสัย คือภูมิแห่งเปรต ๔.อสุรกาย คือพวกอสุระ ฯ
(ปี 45) อาหารของสัตว์นรก และเปรต คืออะไร? คนจ˚าพวกไหนเปรยบเหมือนอสุรกาย ในอบาย ๔? ตอบ อาหารของสัตว์นรกคือกรรม ส่วนของเปรตคือกรรมและผลทานที่ญาติมิตรท˚าบญอุทิศให้ ฯ คนลอบท˚าโจรกรรม หลอกลวงฉกชิงเอาทรัพย์ของผู้อื่น เปรียบเหมือนอสุรกาย ฯ
Ø โยนิ ๔ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ก าเนิด ๔
๑. ชลาพุชะ เกิดในครรภ์ ๓. สังเสทชะ เกิดในเถ้าไคล
๒. อัณฑชะ เกิดในไข่ ๔. โอปปาติกะ เกิดผุดขึ้น
(ปี 50) โยนิ คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ? เทวดา และสัตว์นรก จัดอยู่ในโยนิไหน ?
ตอบ คือ ก˚าเนิด ฯ มี ๑.ชลาพุชะ เกิดในครรภ์ ๒.อัณฑชะ เกิดในไข่ ๓.สังเสทชะ เกิดในเถ้าไคล ๔.โอปปาติกะ เกิดผุดขึ้น ฯ จัดอยู่ใน โอปปาติกะ ฯ
(ปี 43) ก˚าเนิด ๔
มีอะไรบ้าง?
ตอบ ก˚าเนิด ๔ คือ ชลาพุชะ เกิดในครรภ์ ๑ อัณฑชะ เกิดในไข่ ๑ สงั เสทชะ เกิดในเถ้าไคล ๑ โอปปาติกะ เกิดผุดขึ้น ๑
Ø
อุปาทาน ๔ ความยึดมั่นถือมั่น (คือ ถือมั่นข้างเลว ได้แก่ถือรั้น)
๑. กามุปาทาน ความถือมั่นในกาม (ถือมั่นวัตถุกามด้วยอ˚านาจกามตณ
หา หมกมุ่นอยู่ว่านั่นของเรา จนเป็น เหตุอิสสาหรือหึง)
๒. ทิฏฐุปาทาน ความถือมั่นในทิฐิ (ถือมั่นความเห็นผิดด้วยอ˚านาจหัวดื้อ จนเป็นเหตุเถียงกันทะเลาะกัน)
๓. สีลัพพตุปาทาน ความถือมั่นในศีลพรต (ถือมั่นศีลพรต คือ ธรรมเนียมที่เคยประพฤติมาจนชิน ด้วยอ˚านาจความเชื่อว่าขลัง จน เป็นเหตุหัวดื้องมงาย)
๔. อัตตวาทุปาทาน ความถือมั่นในวาทะว่าตน (ถือเรา ถือเขาด้วยอ˚านาจมานะ จนเป็นเหตุถือพวก)
(ปี 64, 58, 43) อุปาทานคืออะไร? มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? การถือเราถือเขาด้วยอ˚านาจมานะ จนเป็นเหตุถือพวก จัดเป็นอุปาทานอะไร ในอุปาทาน ๔? ตอบ คือการถือมั่นข้างเลว ได้แก่ถือรั้นฯ
มี ๔ อย่างฯ คือ ๑.กามุปาทาน ถือมั่นในกาม ๒.ทิฏฐุปาทาน ถือมั่นทิฏฐิ ๓.สล จัดเป็นอัตตวาทุปาทานฯ
(ปี 48) ทิฏฐุปาทาน และสีลัพพตุปาทาน คืออะไร?
ัพพตุปาทาน ถือมั่นศีลพรต ๔.อัตตวาทุปาทาน ถือมั่นวาทะว่าตนฯ
ตอบ ทิฏฐุปาทาน คือถือมั่นความเห็นผดด้วยอ˚านาจหัวดื้อ จนเป็นเหตุเถียงกันทะเลาะกัน
สีลัพพตุปาทาน คือ ถือมั่นธรรมเนียมที่เคยประพฤติมาจนชินด้วยอ˚านาจความเชื่อว่าขลัง จนเป็นเหตุหัวดื้องมงาย ฯ
Ø กิจในอริยสัจ ๔ สิ่งที่ควรท˚า หรือข้อที่ควรปฏิบัติในอริยสัจ
๑. ปริญญา ก˚าหนดรู้ทุกขสัจ ๓. สัจฉกรณะ ท˚าให้แจ้งนิโรธสัจ
๒. ปหานะ ละสมุทัยสัจ ๔. ภาวนา ท˚ามัคคสัจให้เกิด
(ปี 62) กิจในอริยสจ ๔ มีอะไรบ้าง ?
ตอบ มี ๑. ปริญญา ก˚าหนดรู้ทุกขสัจ ๒. ปหานะ ละสมุทัยสัจ ๓. สัจฉิกรณะ ท˚าให้แจ้งนิโรธสัจ ๔. ภาวนา ท˚ามัคคสัจให้เกิด ฯ
(ปี 44) กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา เพราะเหตุไรจึงเรียกว่า โอฆะ โยคะ อาสวะ ? กิจในอริยสจแต่ละอย่างนั้นมีอะไรบ้าง ?
ตอบ เรียกว่า โอฆะ เพราะเป็นดุจกระแสน˚้าอันท่วมใจสัตว์ เรียกว่า โยคะ เพราะประกอบสตว์ไว้ในภพ เรียกว่า อาสวะ เพราะเป็นสภาพหมักหมมอยู่ในสันดาน ฯ
มี ๔ คือ ๑. ปริญญา ก˚าหนดรู้ทุกขสัจ ๒. ปหานะ ละสมุทัยสัจ ๓. สัจฉิกรณะ ท˚าให้แจ้งนิโรธสัจ ๔. ภาวนา ท˚ามัคคสัจให้เกิด ฯ
หมวด ๕
Ø มาร ๕ (ผู้ฆ่า👉รือผู้ก˚าจัด) สิ่งที่ล้างผลาญท˚าลายความดี ชักน˚าให้ท˚าบาปกรรม ปิดกั้นไม่ให้ท˚าความดี จนถึงปิดกั้นไม่ให้เข้าใจสรรพสิ่ง ตามความเป็นจริง ฯ
๑. ขนธมาร มารคือขันธ์ ๕ (ปัญจขันธ์) ๔. เทวปุตตมาร มารคือเทวดา
๒. กิเลสมาร มารคือกิเลส ๕ มัจจุมาร มารคือความตาย
๓. อภิสังขารมาร มารคืออภิสังขาร
(ปี 63) มาร ๕ คืออะไรบ้าง ? ปัญจขันธ์ ได้ชื่อว่าเป็นมารเพราะเหตุไร ?
ตอบ คือ ขันธมาร กิเลสมาร อภิสงั ขารมาร มัจจุมาร และ เทวปุตตมาร ฯ
เพราะปัญจขันธ์นั้น บางทีท˚าความล˚าบากให้ อันเป็นเหตุเบื่อหน่ายจนถึงฆ่าตัวตายเสียเองก็มี ฯ
(ปี 61) มาร ๕ คืออะไรบ้าง ? กิเลสได้ชื่อว่ามารเพราะเหตุไร ?
ตอบ คือ ปัญจขันธ์ กิเลส อภิสังขาร มรณะ และ เทวบุตร ฯ
ได้ชื่อว่ามาร เพราะผู้ที่ตกอยู่ในอ˚านาจแห่งกิเลสแล้ว กิเลสย่อมผูกรัดไว้บ้าง ย่อมท˚าให้เสียคนบ้าง ฯ
(ปี 60, 55) ปัญจขันธ์ พระผมีพระภาคเจ้าตรสว่าเป็นมาร มีอธิบายว่าอย่างไร ?
ตอบ มีอธิบายว่า ปัญจขันธ์นั้น บางทีท˚าความล˚าบาก บางทีท˚าให้เกิดความเบื่อหน่าย จนถึงฆ่าตัวตายก็มี ฯ
(ปี 59, 48) มัจจุมารได้แก่อะไร ? ได้ชื่อว่าเป็นมารเพราะเหตุไร ?
ตอบ ได้แก่ความตาย ฯ ชื่อว่าเป็นมาร เพราะเมื่อความตายเกิดขึ้น บุคคลย่อมหมดโอกาสที่จะท˚าประโยชน์ใด ๆ อีกต่อไป ฯ
(ปี 56) ในพระพุทธศาสนาพูดเรื่องมารไว้มาก อยากทราบว่า ค˚าว่า มาร หมายถึงอะไร? กิเลสได้ชื่อว่ามารเพราะเหตุไร? ตอบหมายถึงสิ่งที่ล้างผลาญท˚าลายความดี ชักน˚าให้ท˚าบาปกรรม ปิดกั้นไม่ให้ท˚าความดี จนถึงปิดกั้นไม่ให้เข้าใจสรรพสิ่งตามความเป็นจริงฯ เพราะผู้ที่ตกอยู่ในอ˚านาจของกิเลสแล้ว ย่อมจะถูกผูกมัดไว้บ้าง ถูกท˚าให้เสียคนบ้าง ฯ
(ปี 52) มารมีอะไรบ้าง อกุศลกรรมจัดเป็นมารประเภทใด?
ตอบ มีดังนี้ ๑.ขันธมาร มารคือปัญจขันธ์ ๒.กิเลสมาร มารคือกิเลส ๓.อภิสังขารมาร มารคืออภิสังขาร
๔.เทวปุตตมาร มารคือเทวดา ๕.มัจจุมาร มารคือความตายฯ อกุศลกรรมเป็นมารประเภทอภิสังขารมาร ฯ
(ปี 49) มาร คืออะไร ? เฉพาะอภิสังขารมาร หมายถึงอะไร ?
ตอบ คือ สิ่งที่ล้างผลาญท˚าลายความดี ชักน˚าให้ท˚าบาปกรรม ปิดกั้นไม่ให้ท˚าความดี จนถึงปิดกั้นไม่ให้เข้าใจสรรพสิ่งตามความเป็นจริง ฯ หมายถึง อกุศลกรรม ฯ
(ปี 46) ปัญจขันธ์ ได้ชื่อว่า มาร เพราะเหตุไร ? กิเลสมาร และมจจุมาร จัดเข้าในอริยสจข้อใดได้หรือไม่ ? เพราะเหตไุ ร ?
ตอบ เพราะบางทีท˚าความลาบากให้ อันเป็นเหตุเบื่อหน่าย จนถึงฆ่าตัวตายเสียเองก็มี ฯ
ได้ ฯ กิเลสมาร จัดเข้าในทุกขสมุทัยสัจ เพราะกิเลสเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ มัจจุมาร จัดเข้าในทุกขสจ เพราะเป็นตัวทุกข์ ฯ
(ปี 44) กรรมฝ่ายอกุศลจัดเป็นมารอะไรในมาร ๕ ? เพราะเหตุไรจึงได้ชื่อว่ามาร ? สุทธาวาสมีกี่ชั้น ? อะไรบ้าง ? เป็นที่เกิดของใคร ?
ตอบ จัดเป็นอภิสังขารมาร ฯ ที่ได้ชื่อว่ามารเพราะท˚าให้เป็นผู้ทุรพล ฯ
มี ๕ ชั้น ฯ คือ ๑. อวิหา ๒. อตัปปา ๓. สุทัสสา ๔. สุทัสสี ๕. อกนิฏฐา ฯ เป็นที่เกิดของพระอนาคามี ฯ
Ø
วิญญาณ ๕ ความรู้แจ้งอารมณ์
๑. จักขุวิญญาณ ความรู้อารมณทางตา ๔. ชิวหาวิญญาณ ความรู้อารมณทางลิ้น
๒. โสตวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางหู ๕. กายวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางกาย
๓. ฆานวิญญาณ ความรู้อารมณทางจมูก
Ø สัญญา ๑๐ ความก˚าหนดหมายรู้ เป็นแนวส˚าหรับยกพิจารณาในการเจรญวิปัสสนากรรมฐาน เพื่อท˚าให้เกิดปัญญารอบรู้สังขารธรรรม ทั้งหลาย
๑. อนิจจสัญญา ก˚าหนดพิจารณาขันธ์ ๕ ให้เห็นของไม่เที่ยง
๒. อนัตตสัญญา ก˚าหนดพิจารณาอายตนะภายในและอายตนะภายนอก ให้เป็นอนัตตา
๓. อสุภสัญญา ก˚าหนดพิจารณาร่างกาย ให้เห็นเป็นของสกปรก
๔. อาทีนวสัญญา ก˚าหนดพิจารณาร่างกายโดยความเป็นโทษ
๕. ปหานสัญญา ก˚าหนดพิจารณาเพื่อละอกุศลวิตกรวมไปถึงอกุศลธรรมทั้งหลายให้หมดสิ้นไป
๖. วิราคสัญญา ก˚าหนดพิจารณาวิราคะ
๗. นิโรธสัญญา ก˚าหนดหมายนิโรธวาเป็นธรรมอันละเอียดประณีต เป็นธรรมที่ดับกิเลสและกองทุกข์
๘. สัพพโลเก อนภิรตสัญญา ก˚าหนดพิจารณาเพื่อละอุบายและอุปาทานในโลก
๙.
สัพพสังขาเรสุ อนิฏฐสัญญา ก˚าหนดพิจารณาในสังขารทั้งหลายที่เป็นไปตามกฏธรรมดา
๑๐. อานาปานสติ การตั้งสติก˚าหนดดูลมหายใจเข้า-ออก
(ปี 58) ชิวหาวิญญาณ และกายวิญญาณ เกิดขึ้นได้เพราะอาศัยอะไรบ้าง ?
ตอบ ชิวหาวิญญาณเกิดขึ้น เพราะอาศัยลิ้นกับรส (กระทบกัน) และกายวิญญาณเกิดขึ้น เพราะอาศัยกายกับโผฏฐัพพะ (กระทบกัน) ฯ
(ปี 47) วิญญาณกับสัญญา ท˚าหน้าที่ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ ท˚าหน้าที่ต่างกันอย่างนี้คือ วิญญาณท˚าหน้าที่รู้แจ้งอารมณ์ที่เกิดขึ้น เมื่ออายตนะภายในและอายตนะภายนอกมากระทบกัน เช่น เมื่อรูปมา กระทบตา เกิดการเห็นขึ้นเป็นต้น
ส่วนสัญญา ท˚าหน้าที่จ˚าได้หมายรู้เท่านั้นคือหมายรู้ไว้ซึ่งรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ ว่า เขียว ขาว ด˚า แดง ดัง เบาเป็นต้น ฯ
Ø มัจฉริยะ ๕ ความตระหนี่ การหวงแหนไม่อยากให้
๑. อาวาสมัจฉริยะ ตระหนี่ที่อยู่ ๔. วัณณมัจฉริยะ ตระหนี่วรรณะ
๒. กุลมัจฉริยะ ตระหนี่สกุล ๕. ธัมมมัจฉริยะ ตระหนี่ธรรม
๓. ลาภมัจฉริยะ ตระหนี่ลาภ
(ปี 58) ธรรมมัจฉรยะ ความตระหนี่ธรรม มีอธิบายอย่างไร ?
ตอบ มีอธิบายว่า ความหวงธรรม หวงศิลปวิทยา ไม่ปรารถนาจะแสดงจะบอกแก่คนอื่น เกรงว่าเขาจะรู้เทียมตน ฯ
(ปี 45) กุลมัจฉริยะ ตระหนี่ตระกูล คืออย่างไร ? ครูสอนศิษย์ ปิดบังอ˚าพรางความรู้ ไม่บอกให้สิ้นเชิง จัดเข้าในมัจฉริยะข้อไหน ?
ตอบ คือหวงแหนตระกูลไม่ยอมให้ตระกูลอื่นมาเกี่ยวดองด้วย ถ้าเป็นบรรพชิตก็หวงอุปัฏฐาก ไม่พอใจให้ไปบ˚ารุงภิกษุอื่น ฯ ธัมมมัจฉริยะฯ
Ø สุทธาวาส ๕ ภูมิเป็นที่อยู่ของท่านผู้บริสุทธิ์ เป็นชื่อของพรหมโลกอันเป็นที่เกิดและที่อยของพระอนาคามี
๑. อวิหา ๒. อตัปปา ๓. สุทัสสา ๔. สุทัสสี ๕. อกนิฏฐา
(ปี 44) กรรมฝ่ายอกุศลจัดเป็นมารอะไรในมาร ๕ ? เพราะเหตุไรจึงได้ชื่อว่ามาร ? สุทธาวาสมีกี่ชั้น ? อะไรบ้าง ? เป็นที่เกิดของใคร ?
ตอบ จัดเป็นอภิสังขารมาร ฯ ที่ได้ชื่อว่ามารเพราะท˚าให้เป็นผู้ทุรพล ฯ
มี ๕ ชั้น ฯ คือ ๑. อวิหา ๒. อตัปปา ๓. สุทัสสา ๔. สุทัสสี ๕. อกนิฏฐา ฯ เป็นที่เกิดของพระอนาคามี ฯ
Ø สังวร ๕ การส˚ารวมระวังปิดกั้นอกุศล
๑. สีลสังวร ส˚ารวมด้วยศีล ๔. ขนติสังวร ส˚ารวมด้วยขันติ
๒. สติสังวร ส˚ารวมด้วยสติ ๕. วิริยสังวร ส˚ารวมด้วยความเพียร
๓. ญาณสังวร ส˚ารวมด้วยญาณ
(ปี 64, 62) สังวรคืออะไร ? สติสงั วร ส˚ารวมด้วยสตินั้น มีอธิบายอย่างไร ?
ตอบ คือ การส˚ารวมระวังปิดกั้นอกุศล ฯ มีอธิบายว่า ส˚ารวมอินทรีย์มีจักษุเป็นต้น ระวังรักษามิให้อกุศลกรรมเข้าครอบง˚า เมื่อเห็นรูปเป็นต้น ทั้งมี สติไม่ฟั่นเฟือนหลงลืม ระลึกได้ก่อนแต่ท˚า พูด คิด ไม่ให้ผิดทางกายวาจาใจ ไม่ประมาทหลงท˚ากรรมชั่ว ฯ
(ปี 43) การสารวมระวังปิดกั้นอกุศลเรยกว่าอะไร? มีเท่าไร? อะไรบ้าง? สติสังวร ส˚ารวมด้วยสตินั้น มีอธิบายอย่างไร ?
ตอบ เรียกว่า สังวร มี ๕ คือ ๑. สีลสังวร ส˚ารวมด้วยศีล ๒. สติสังวร ส˚ารวมด้วยสติ
๓. ญาณสังวร ส˚ารวมด้วยญาณ
๔. ขันติสังวร ส˚ารวมด้วยขันติ ๕. วิริยสังวร ส˚ารวมด้วยความเพียร ฯ มีอธิบายว่า ส˚ารวมอินทรีย์มีจักษุเป็นต้นระวังรักษามิให้อกุศลธรรมเข้า ครอบง˚า เมื่อเห็นรูปเป็นต้น ทั้งมีสติไม่ฟั่นเฟือนลืมหลง ระลึกได้ก่อนแต่ท˚า พูด คิด ไม่ให้ผิดทางกาย วาจา ใจ ไม่ประมาทหลงท˚ากรรมชั่ว ฯ
หมวด ๖
Ø
ธรรมคุณ ๖ คุณความดีของพระธรรม
๑. สฺวากฺขาโต
ภควตา ธมฺโม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรส
๒.
สนฺทิฏฺฐิโก เป็นสิ่งที่ผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นผลด้วยตัวเอง
๓. อกาลิโก เป็นสิ่งที่ไม่ประกอบด้วยกาลเวลา
๔. เอหิปสฺสิโก เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกับผู้อื่นว่า ท่านจงมาดูเถิด
๕. โอปนยิโก เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว
๖. ปจฺจตฺต เวทิตพฺโพ วิญฺญูหิ เป็นสิ่งที่ผู้รู้พึงรู้เฉพาะตน
ไว้ดีแล้ว
(ปี 61, 56) ในธรรมคุณบทว่า "พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรสดีแล้ว" พระธรรมนั้น หมายถึงอะไร ?
ตอบ หมายถึง ปริยัติธรรม กับ ปฏิเวธธรรม (หรือโดยพิสดารได้แก่ สัทธรรม ๑๐ คือ โลกุตรธรรม ๙ กับ ปริยัติธรรม ๑) ฯ
(ปี 54) บทนมัสการพระธรรมว่า สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม ธมฺม˚ นมสฺสามิ ข้าพเจ้านมส ที่ว่า ตรัสดีแล้ว นั้นมีอธิบายอย่างไร?
การพระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว
ตอบ มีอธิบายอย่างนี้คือ ดีทั้งในส่วนปริยติและดีทั้งในส่วนปฏิเวธ ในส่วนปริยัติ ได้ชื่อว่าดีเพราะตรัสไม่วิปริต เพราะแสดงข้อปฏิบัตโิ ดยล˚าดับ กัน มีความไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง ที่สุด พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง ในส่วนปฏิเวธนั้นได้ชื่อว่าดี เพราะปฏิปทา กับพระนิพพานย่อมสมควรแก่กันและกัน ฯ
(ปี 49) พระธรรมคุณบทใด มีความหมายตรงกับค˚าว่า “ท้าให้มาพิสจน์ได้”? พระธรรมคุณบทนั้น มีอธิบายว่าอย่างไร ?
ตอบ บทว่า เอหิปัสสิโก ฯ มีอธิบายว่า พระธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าสามารถที่จะให้พิสูจน์ได้ทุกเวลาและสามารถน˚าไปประพฤติใน ชีวิตประจ˚าวันเพื่อประโยชน์สุขได้ ฯ
(ปี 47) พระธรรมคุณบทว่า สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม พระธรรมอันพระผมีพระภาคเจ้าตรสดีแล้ว ที่ว่า ดีแล้ว นั้นมีอธิบายอย่างไร ?
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น