ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง
วันจันทร์ ที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๖
๑. หิริ และ โอตตัปปะ ได้ชื่อว่า ธรรมเป็นโลกบาล เพราะเหตุไร ?
เฉลย เพราะเป็นคุณธรรมท ำบุคคลให้รังเกียจ และเกรงกลัวต่อบาปทุจริต ไ ท ำความชั่วทั้งในที่ลับและที่แจ้งฯ
การท ำบุญโดยย่อมีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ? เฉลย มี ๓ อย่าง ฯ คือ ทาน ศีล ภาวนา ฯ
เหตุให้เกิดทุกข์ในอริยสัจ คืออะไร ? เฉลย คือตัณหาความทะยานอยาก ฯ
อภิณหปัจจเวกขณ์ คือข้อที่ควรพิจารณาเนือง ๆ ๕ อย่าง ทรงสอ พิจารณาอะไรบ้าง ?
เฉลย ทรงสอนให้พิจารณา
๑. ความแก่ ว่าเรามีความแก่เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้
ความเจ็บไข้ว่าเรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไ ๓. ความตาย ว่าเรามีความตายเป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความตายไปได้ ๔. ความพลัดพราก ว่าเราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น
๕. กรรม ว่าเรามีกรรมเป็นของตัวเราท ำดีจักได้ดีท ำชั่วจักได้ชั่ว
๕. ขันธ์ ๕ ได้แก่อะไรบ้าง ? ย่อเป็น ๒ อย่างไร ?
เฉลย ได้แก่รูปขันธ์เวทนาขันธ์สัญญาขันธ์สังขารขันธ์และ
วิญญาณขันธ์ฯ
อย่างนี้คือรูปขันธ์คงเป็นรูปเวทนาขันธ์สัญญาขันธ์สังขารขันธ์และ
วิญญาณขันธ์๔ ขันธ์นี้เป็นนามฯ
บรรพชิตผู้พิจารณาเนือง ๆ ว่า วันคืนล่วงไป ๆ บัดนี้เราท ำอะไร รับประโยชน์อะไร ?
เฉลย จะได้รับประโยชน์คือเป็นผู้ไม่ประมาทมีความเพียรงดเว้นสิ่งที่เป็นโทษ ท ำในสิ่งที่เป็นประโยชน์ฯ
จงให้ความหมายของค ำต่อไปนี้
พาหุสัจจะ ข. อกุสลมูล ค. อินทรียสังวร
ฆ. อนัตตตา ง. กามฉันท์ ฯ
เฉลย ก. ความเป็นผู้ศึกษามาก
ข. รากเหง้าของอกุศล
ความส ำรวมอินทรีย์ ฆ. ความเป็นของไม่ใช่ตน
ง. ความพอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจมีรูปเป็นต้นฯ
คิหิปฏิบัติ
๘. มิตรแท้ มีกี่จ ำพวก ? อะไรบ้าง ?
เฉลย มี ๔ จ ำพวก ฯ คือ
๑. มิตรมีอุปการะ ๒มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์.
๓. มิตรแนะประโยชน์ ๔มิตรมีความรักใคร่.ฯ
๙. คุณธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจของผู้อื่นไว้ได้ มีอะไรบ้าง ? เฉลย มี
๑. ทาน ให้ปันสิ่งของของตนแก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน
๒. ปิยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน
อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ๔. สมานัตตตา ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัวฯ
๑๐. ศีลที่คฤหัสถ์ควรรักษาเป็นนิตย์ คือศีลอะไร ? ได้แก่อะไรบ้าง ?
เฉลย คือ ศีล ๕ ฯ ได้แก่
๑. เว้นจากท ำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
เว้นจากถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยอาการแห่งขโมย ๓. เว้นจากประพฤติผิดในกาม ๔. เว้นจากพูดเท็จ
๕. เว้นจากดื่มน ้ำเมาคือสุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประฯ
*********
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น