ตอบ จัดเข้าในธัมมาธิปเตยยะได้ ฯ
(ปี 62, 44) ค าว่า อธิปเตยยะ แปลว่าอะไร? มีอะไรบ้าง?
ตอบ แปลว่า ความเป็นใหญ่ ฯ มี ๓ คือ ๑.อัตตาธิปเตยยะ ความมีตนเป็นใหญ่ ๒. โลกาธิปเตยยะ ความมีโลกเป็นใหญ่
๓. ธัมมาธิปเตยยะ ความมีธรรมเป็นใหญ่ ฯ
(ปี 55) ผู้มีอัตตาธิปเตยยะกับผู้มีธัมมาธิปเตยยะ มีความมุ่งหมายในการท างานต่างกันอย่างไร?
ตอบ ผู้มีอัตตาธิปเตยยะปรารภภาวะของตนเป็นใหญ่ ท าด้วยมุ่งให้สมภาวะของตน ผู้ท ามุ่งผลอันจะได้แก่ตน หรือมุ่งความสะดวกแห่งตน
ส่วนผู้มีธัมมาธิปเตยยะ ท าด้วยไม่มุ่งหมายอย่างอื่น เป็นแต่เห็นสมควรเห็นว่าถูกก็ท า หรือท าด้วยอ านาจเมตตากรณาเป็นอาทิ ฯ
Ø ญาณ ๓ ความรู้แจ้งในอริยสัจ ๔
๑. สัจจญาณ ปรีชาหยั่งรู้อริยสัจ ๒. กิจจญาณ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันควรท า ๓. กตญาณ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันท าแล้ว
อริยสัจ ๔ ญาณ ๓ |
สัจจญาณ |
กิจจญาณ |
กตญาณ |
ทุกข์ |
รู้ว่าความเกิด เป็นต้น เป็นทุกข์ |
รู้ว่าทุกข์ ควรก าหนดรู้ |
รู้ว่าทุกข์ ได้ก าหนดรู้แล้ว |
สมุทัย |
รู้ว่าตณั
หาเป็น เหตุเกิดทุกข์ |
รู้ว่าสมุทัย ควรละ |
รู้ว่าสมุทัย ได้ละแล้ว |
นิโรธ |
รู้ว่าความดับทุกข์ คือการดับตณั หา |
รู้ว่านิโรธ ควรท าให้แจ้ง |
รู้ว่านิโรธ ได้ท าให้แจ้งแล้ว |
มรรค |
รู้ว่ามรรค ๘ คือ เป็นทางดับทุกข์ |
รู้ว่ามรรค ควรเจริญ |
รู้ว่ามรรค ได้เจริญแล้ว |
(ปี 61, 56) ญาณ ๓ ที่เป็นไปในทุกขสมุทยสัจ มีอธิบายอย่างไร?
ตอบ มีอธิบายว่า ๑. ปรีชาหยั่งรู้ว่า นี้ทุกขสมุทัย เป็นเหตุให้ทุกข์เกิดจริง จัดเป็นสัจญาณ
๒. ปรีชาหยั่งรู้ว่า นี้ทุกขสมุทัย ควรละ จัดเป็นกิจญาณ
๓. ปรีชาหยั่งรู้ว่า นี้ทุกขสมุทัย ละได้แล้ว จัดเป็นกตญาณ ฯ
(ปี 57) กตญาณ เป็นไปในอริยสัจ ๔ อย่างไร?
ตอบ ปรีชาหยั่งรู้ว่า ทุกข์ควรก าหนดรู้ได้ก าหนดรู้แล้ว ทุกขสมุทัยที่ควรละได้ละแล้ว ทุกขนิโรธที่ควรท าให้แจ้งได้ท าให้แจ้งแล้ว ทุกขนิโรธคามินี ปฏิปทาที่ควรเจริญได้เจริญแล้ว ฯ
(ปี 55) ญาณ ๓ ที่เป็นไปในทุกขสัจ มีอธิบายอย่างไร?
ตอบ มีอธิบายว่า ๑. ปรีชาหยั่งรู้ว่า นี้ทุกขสจ จัดเป็นสัจจญาณ
๒. ปรีชาหยั่งรู้ว่า ทุกขสจเป็นสภาพที่ควรก
าหนดรู้ จัดเป็นกิจจญาณ
๓. ปรีชาหยั่งรู้ว่า ทุกขสจที่ควรก าหนดรู้ ได้ก าหนดรู้แล้ว จัดเป็นกตญาณ ฯ
(ปี 53) ญาณ ๓ ที่เป็นไปในอริยสจ ๔ มีอะไรบ้าง? ญาณ ๓ ที่เป็นไปในทุกขนิโรธสัจมีอธิบายอย่างไร?
ตอบ มี ๑. สัจจญาณ ปรีชาหยั่งรู้อริยสัจ ๒. กิจจญาณ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันควรท า ๓. กตญาณ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันท าแล้ว ฯ มีอธิบายว่า ๑. ปรีชาหยั่งรู้ว่า นี้ทุกขนิโรธสัจ จัดเป็นสัจจญาณ
๒. ปรีชาหยั่งรู้ว่า ทุกขนิโรธสัจเป็นสภาพที่ควรท าให้แจ้ง จัดเป็นกิจจญาณ
๓. ปรีชาหยั่งรู้ว่า ทุกขนิโรธสัจที่ควรท าให้แจ้ง ๆ แล้ว จัดเป็นกตญาณ ฯ
(ปี 51) กิจจญาณ
คืออะไร? เป็นไปในอริยสจ
ตอบ คือ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันควรท า ฯ
๔ อย่างไร?
ปรีชาหยั่งรู้ว่า ทุกข์เป็นธรรมชาติที่ควรก าหนดรู้ ทุกขสมุทัยเป็นธรรมชาติที่ควรละ ทุกขนิโรธเป็นธรรมชาติที่ควรท าให้แจ้ง ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาเป็นธรรมชาติที่ควรท าให้เกิด ฯ
(ปี 46) ญาณ ๓ ที่เป็นไปในอริยสจ ๔ มีอะไรบ้าง ? ญาณ ๓ ที่เป็นไปในทุกขนิโรธ มีอธิบายอย่างไร ?
ตอบ มี ๑. สัจจญาณ ปรีชาหยั่งรู้อรยสัจ ๒. กิจจญาณ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันควรท า ๓. กตญาณ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันท าแล้ว ฯ มีอธิบายอย่างนี้ ๑. ปรีชาหยั่งรู้ว่า นี้ทุกขนิโรธ จัดเป็นสัจจญาณ
๒. ปรีชาหยั่งรู้ว่า ทุกขนิโรธ เป็นสภาพที่ควรท าให้แจ้ง จัดเป็นกิจจญาณ
๓. ปรีชาหยั่งรู้ว่า ทุกขนิโรธ เป็นสภาพที่ควรท าให้แจ้ง ท าให้แจ้งแลว จัดเป็นกตญาณ ฯ
(ปี 45) ญาณ ๓ ที่เป็นไปในจตุราริยสัจ มีอะไรบ้าง ? ญาณ ๓ ที่เป็นไปในทุกขสมุทัยมีอธิบายอย่างไร ?
ตอบ ญาณ ๓ ที่เป็นไปในจตุราริยสัจ มี ๑. สัจจญาณ ปรีชาหยั่งรู้อรยสัจ ๒. กจิ จญาณ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันควรท า
๓. กตญาณ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันท าแล้ว ฯ
ญาณ ๓ ที่เป็นไปในทุกขสมุทัย ดังนี้ ๑. ปรีชาหยั่งรู้ว่า นี้ทุกขสมุทัย จัดเป็นสัจจญาณ
๒. ปรีชาหยั่งรู้ว่า ทุกขสมุทัย เป็นสภาพที่ควรละเสีย จัดเป็นกิจจญาณ
๓. ปรีชาหยั่งรู้ว่า ทุกขสมุทัยที่ควรละๆ ได้แล้ว จัดเป็นกตญาณ ฯ
(ปี 43) ปรีชาหยั่งรู้อะไรจัดเป็นกจจญาณ ? สิกขาคืออะไร ? มีเท่าไร ? อะไรบ้าง ?
ตอบ ปรีชาหยั่งรู้ว่า ทุกข์เป็นธรรมชาติที่ควรก าหนดรู้ ทุกขสมุทัยเป็นสภาพที่ควรละเสีย ทุกขนิโรธเป็นสภาพที่ควรท าให้แจ้ง ทุกขนิโรธคามินี ปฏิปทาเป็นธรรมชาติที่ควรท าให้เกิด จัดเป็นกิจจญาณ ฯ
ปฏิปทาที่ตั้งไว้เพื่อศึกษา คือฝึกหัดไตรทวารไปตาม ชื่อว่าสิกขา มี ๓ อย่างคือ อธิสีลสิกขา สิกขาคือศีลยิ่ง ๑ อธิจิตตสิกขา สิกขาคือจิตยิ่ง ๑
อธิปัญญาสิกขา สิกขาคือปัญญายง ๑ ฯ
Ø
วัฏฏะ ๓ หรือเรียกว่า ไตรวัฏฏะ (วน, การ👉มุนเวียนไปเป็นวงกลม) การหมุนเวียนไปตามอ านาจของกิเลส กรรม และวิบาก
๑. กิเลสวัฏฏะ ๒. กัมมวัฏฏะ ๓. วิปากวัฏฏะ
(ปี 63) กิเลส กรรม วิบาก ได้ชื่อวา วัฏฏะ ที่แปลว่าความหมุนเวียน อยากทราบว่าหมุนเวียน อย่างไร ?
ตอบ อย่างนี้ คือ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ท ากรรม ครั้นท ากรรมแล้ว ย่อมได้รับวิบากแห่งกรรม เมื่อได้รับวิบาก กิเลสเกิดขึ้นอีก วนกันไป อย่างนี้ ฯ
(ปี 57) กิเลส กรรม วิบาก ได้ชื่อวา วัฏฏะ เพราะเหตุไร? จะตดให้ขาดได้ด้วยอะไร?
ตอบ เพราะหมุนเวียนกันไป คือกิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ท ากรรม ครั้นท ากรรมแล้ว ย่อมได้รับวิบากแห่งกรรม เมื่อได้รับวิบาก กิเลสเกิดขึ้นอีก วนกันไปอย่างนี้ ฯ ด้วยอรหัตตมรรค ฯ
(ปี 54) ไตรวัฏฏะ อันได้แก่ กิเลสวัฏฏะ กัมมวัฏฏะ วิปากวัฏฏะ มีสภาพเกี่ยวเนื่องวนกันไปอย่างไร? ตัดให้ขาดได้ด้วยอะไร?
ตอบ อย่างนี้คือ กิเลสเกิดขึ้นแล้วให้ท ากรรม ครั้นท ากรรมแล้ว ย่อมได้รับวิบากแห่งกรรม เมื่อได้รับวิบาก กิเลสก็เกิดขึ้นอีก วนกันไปอย่างนี้ ฯ ได้ด้วยอรหัตตมรรคญาณ ฯ
(ปี 51) กิเลส กรรม วิบาก เรียกวาวัฏฏะ เพราะเหตุไร? จงอธิบาย ตอบ เพราะวน คือหมุนเวียนกันไป ฯ อธิบายว่า กิเลสเกิดขึ้นแล้วให้ท ากรรม ครั้นท ากรรมแล้ว ย่อมได้รับวิบากแห่งกรรม เมื่อได้รับวิบาก กิเลสก็เกิดขึ้นอีก วนกันไปอย่างนี้ ฯ
Ø อกุศลวิตก ๓ ความตริในทางไม่ดไี ม่งาม
๑. กามวิตก ความตริในทางกาม ๒. พยาบาทวิตก ความตริในทางพยาบาท ๓. วิหิงสาวิตก ความตริในทางเบียดเบียน (ปี 64, 63, 59) ความตริในฝ่ายชั่ว เรียกว่าอะไร? มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? [บางปีถาม ความคิดที่ฝ่ายอกศุล
เรียกว่าอะไร? มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?] ตอบ เรียกว่า อกุศลวิตก ฯ มี ๓ อย่าง ฯ
คือ ๑. กามวิตก ความตริในทางกาม ๒. พยาบาทวิตก ความตริในทางพยาบาท ๓. วิหิงสาวิตก ความตริในทางเบียดเบียน ฯ
(ปี 54) เมตตากับปรานีมีความหมายต่างกันหรือเหมือนกันอย่างไร ? และอย่างไหนก าจัดวิตกอะไร ?
ตอบ เมตตาหมายถึงความรักใคร่หรือความหวังดี ปรานีหมายถึงความปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นจากความทุกข์เข้าลักษณะแห่งกรุณา ฯ เมตตาก าจัดพยาบาทวิตก ปรานีก าจัดวิหิงสาวิตก ฯ (👉มายเ👉ตุ ค˚าว่า “เมตตา” กับ “ปราณี” ในที่นี้เป็นธรรมที่อยู่ใน อัปปมัญญา ๔) (ปี 49) อกุศลวิตก ๓ มีโทษอย่างไร ? แก้ด้วยวิธีอย่างไร ?
ตอบ กามวิตก ท าใจให้เศร้าหมอง เป็นเหตุให้มัวเมาติดอยู่ในกามสมบัติ พยาบาทวิตก ท าให้เดือดร้อนกระวนกระวายใจ คิดท าร้ายผู้อื่น
วิหิงสาวิตก ย่อมครอบง าจิต ให้คิดเบียดเบียนผู้อื่นโดยเห็นแก่ประโยชน์สุขส่วนตัว ฯ กามวิตก แก้ด้วยการเจริญกายคตาสติและอสุภกัมมัฏฐาน
พยาบาทวิตก แก้ด้วยการเจริญเมตตาพรหมวิหาร
วิหิงสาวิตก แก้ด้วยการเจริญกรุณาพรหมวิหารและโยนิโสมนสิการ ฯ
Ø กุศลวิตก ๓ ความตริในทางดีงาม
(ปี 56) กุศลวิตก มีอะไรบ้าง? สงเคราะห์เข้าในมรรคมีองค์ ๘ ข้อไหนได้?
ตอบ มี ๑. เนกขัมมวิตก ความตริในทางพรากจากกาม
๒. อพยาบาทวิตก ความตริในทางไม่พยาบาท
๓. อวิหิงสาวิตก ความตริในทางไม่เบียดเบียน ฯ สงเคราะห์เข้าในข้อ สัมมาสังกัปปะ ฯ
Ø
สังขาร ๓ มี ๑. กายสังขาร สภาพอันแต่งกาย ๒. วจีสังขาร สภาพอันแต่งวาจา ๓. จิตตสังขาร สภาพอันแต่งจิต
(ปี 58) ในสังขาร ๓ อะไรชื่อว่ากายสังขารและวจีสังขาร ? เพราะเหตุไรจึงได้ชื่ออย่างนั้น ?
ตอบ ลมอัสสาสะปัสสาสะ ได้ชื่อว่ากายสังขาร เพราะปรนปรือกายให้เป็นอยู่ วิตก กับวิจาร ได้ชื่อว่าวจีสังขาร เพราะตริแล้วตรองแล้วจึงพูด ไม่เช่นนั้นวาจานั้นจักไม่เป็นภาษา ฯ
Ø
อภิสังขาร ๓ สภาพผตกแต่ง สภาพที่ปรุงแต่งผลแห่งการกระท าของบุคคล หรือ เจตนาที่เป็นตัวการในการท ากรรม
๑. ปุญญาภิสังขาร อภิสังขารคือบุญ [ปรุงดี]
๒. อปุญญาภิสังขาร อภิสังขารคือบาป [ปรุงชั่ว]
๓. อเนญชาภิสังขาร อภิสังขารคืออเนญชา [ความตั้งใจปรุงแต่งให้เป็นบุญอย่างมั่นคงไม่หวั่นไหว เช่น สมาธิฌาณ ๔ ฌาณ ๘]
(ปี 54) พระบาลีว่า “อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา” เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารดังนี้ ค าว่า สังขารหมายถึงอะไร? ได้แก่อะไรบ้าง?
ตอบ หมายถึงสภาพผู้ปรุงแต่ง ฯ ได้แก่ ๑. ปุญญาภส
๓. อเนญชาภิสังขาร อภิสังขารคืออเนญชา ฯ
ังขาร อภิสังขารคือบุญ ๒. อปุญญาภิสังขาร อภิสังขารคือบาป
Ø
ภพ ๓ โลกเป็นที่อยู่ต่างชั้นแห่งหมู่สัตว์
๑. กามภพ ภพเป็นกามาวจร ๒. รูปภพ ภพเป็นรูปาวจร ๓. อรูปภพ ภพเป็นอรูปาวจร
Ø
ภูมิ ๔ ภาวะอันประณตขึ้นไปเป็นชั้น ๆ แห่งจิตและเจตสิก
๑. กามาวจรภูมิ ชั้นท่องเที่ยวอยู่ในกาม ๓. อรูปาวจรภูมิ ชั้นท่องเที่ยวอยู่ในอรูป
๒. รูปาวจรภูมิ ชั้นท่องเที่ยวอยู่ในรูป ๔. โลกุตรภูมิ ชั้นพ้นจากโลก
(ปี 53) ภพกับภูมิต่างกันอย่างไร? มีอย่างละเท่าไร?
ตอบ ภพ หมายถึงโลกเป็นที่อยู่ต่างชั้นแห่งหมู่สัตว์ มี ๓ ฯ ภูมิ หมายถึงภาวะอันประณีตขึ้นไปเป็นชั้น ๆ แห่งจิตและเจตสิก มี ๔ ฯ
Ø วิชชา ๓ ความรู้แจ้งหรือความรู้ที่พิเศษ ที่เกิดแก่พระพุทธเจ้าในวันตรัสรู้
๑. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ญาณเป็นเหตุให้ระลึกอดีตชาติได้
๒. จุตูปปาตญาณ ญาณเป็นเหตุให้รู้จุติและอุบติแห่งสัตว์ทั้งหลาย
๓. อาสวักขยญาณ ญาณเป็นเหตุให้สิ้นอาสวะ
(ปี 52) อาสวักขยญาณ รู้จักท าอาสวะให้สิ้น อธิบายอย่างไร?
ตอบ มีอธิบายอย่างนี้ รู้ชัดตามจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เหลานี้อาสวะ นี้เหตุเกิดอาสวะ
นี้ความดับอาสวะ นี้ทางไปถึงความดับอาสวะ เมื่อรู้เห็นอย่างนี้จิตพ้นแล้วจากกามาสวะ ภวาสวะ อวช
(ปี 47) ค าว่า ทิพพจักษุ คือ ตาทิพย์ ในนิทเทสแห่งวิชชา ๓ หมายถึงเห็นอย่างไร ?
ชาสวะ ฯ
ตอบ หมายถึงการเห็นเหล่าสัตว์ที่ก าลังจุติ ก าลังเกิด เลว ดี มีผิวพรรณงาม มีผิวพรรณไม่งาม ได้ดี ตกยาก รู้ชัดว่าเหล่าสตว์เป็นไปตามกรรมฯ
Ø
ปาฏิหาริยะ ๓ หรือ ปาฏิหาริย์ ๓ ความอัศจรรย์
๑. อิทธิปาฏิหาริยะ ฤทธิ์เป็นอัศจรรย์
๒. อาเทสนาปาฏิหาริยะ ดักใจเป็นอัศจรรย์
๓.
อนุสาสนีปาฏิหาริยะ ค าสอนเป็นอัศจรรย์
(ปี 62, 44) ปาฏิหาริย์คืออะไร ? พระพุทธเจ้าทรงยกย่องปาฏิหาริย์อะไรว่าเป็นอัศจรรย์ยิ่งกว่า ปาฏิหาริย์อื่น ?
ตอบ คือ การกระท าที่ให้บังเกิดผลเป็นอัศจรรย์ ฯ ทรงยกย่องอนุสาสนีปาฏิหาริย์ว่าเป็นอัศจรรย์ยิ่งกว่าปาฏิหารย์อื่น ฯ
(ปี 60) ปาฏิหาริย์มีอะไรบ้าง ? ท าไมจึงยกย่องอนุสาสนีปาฏิหารย์ว่าอัศจรรย์ ?
ตอบ มี ๓ อย่าง คือ ๑. อิทธิปาฏิหาริย์ ฤทธิ์เป็นอัศจรรย์ ๒. อาเทสนาปาฏิหาริย์ รู้ใจเป็นอศจรรย์
๓. อนุสาสนีปาฏิหาริย์ ค าสอนเป็นอัศจรรย์ ฯ
เพราะอาจจูงใจผู้ฟังให้เห็นคล้อยตาม ละความชั่วท าความดี ตั้งแต่ขั้นต ่าคือการถึงสรณะและรักษาศีล ตลอดถึงขั้นสูงคือมรรคผลนิพพานได้ ฯ
(ปี 51) ปาฏิหาริย์ ๓ มีอะไรบ้าง? อย่างไหนเป็นอัศจรรย์ที่สุด?
ตอบ มี ๑. อิทธิปาฏิหาริย์ ฤทธิ์เป็นอัศจรรย์ ๒. อาเทสนาปาฏิหาริย์ รู้ใจเป็นอศจรรย์ ๓. อนุสาสนีปาฏิหาริย์ ค าสอนเป็นอัศจรรย์ ฯ อนุสาสนีปาฏิหารย์ เป็นอัศจรรยที่สุด ฯ
(ปี 44) ปาฏิหาริย์คืออะไร? พระพุทธเจ้าทรงยกย่องปาฏิหาริย์อะไรว่าเป็นอัศจรรย์ยิ่งกว่าปาฏิหารย์อื่น?
พุทธจริยา และพุทธิจรต ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ คือ การกระท าที่ให้บังเกิดผลเป็นอัศจรรย์ ฯ ทรงยกย่องอนุสาสนีปาฏิหาริย์ว่าเป็นอัศจรรย์ยิ่งกว่าปาฏิหารย์อื่น ฯ พุทธจริยา คือพระจริยาของพระพุทธเจ้า พุทธิจริต คือผู้มีความรู้เป็นปกติ ฯ
Ø อัคคิ ๓ ไฟกิเลสที่แผดเผาใจให้เร่าร้อน มี ๑. ราคัคคิ ไฟคือราคะ ๒. โทสัคคิ ไฟคือโทสะ ๓. โมหัคคิ ไฟคือโมหะ
(ปี 50) พระพุทธเจ้าทรงอุปมากิเลสเหล่าไหนว่ามีลักษณะเหมือนกับไฟ?
ที่ทรงอุปมาเช่นนั้นเพราะเหตุไร?
ตอบ กิเลสเหล่านี้ คือ ราคะ โทสะ โมหะ ฯ
เพราะเมื่อกิเลสทั้ง ๓ กองนี้ กองใดกองหนึ่งเกิดขึ้นภายในใจของบุคคล จะแผดเผาก่อให้เกิดความเร่าร้อนขึ้นภายในใจ ฯ
Ø กรรม ๓ การกระท˚า
๑. กายกรรม กรรมที่ท˚าด้วยกาย ๒. วจีกรรม กรรมที่ท˚าด้วยวาจา ๓. มโนกรรม กรรมที่ท˚าด้วยใจ
Ø กรรม ๑๒
หมวดที่ ๑ ให้ผลตามคราว (*กรรมที่จัดตามช่วงเวลาของการให้ผล*)
๑. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพนี้
๒. อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพหน้า
๓. อปราปรเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพต่อๆ ไป
๔. อโหสิกรรม กรรมให้ผลสาเรจแล้ว [กรรมเลิกให้ผล]
หมวด ๒ ให้ผลตามกิจ (*กรรมที่จัดตามหน้าท*)
๕. ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด
๖. อุปัตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน
๗. อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น
๘. อุปฆาตกกรรม กรรมตดรอน
หมวด ๓ ให้ผลตามล าดับ (*กรรมที่จัดตามการให้ผลตามล าดับความหนักเบาของกรรม*)
๙. ครุกรรม กรรมหนัก
๑๐. พหุลกรรม กรรมชิน
๑๑. อาสันนกรรม กรรมเมื่อจวนเจียน
๑๒.กตัตตากรรม กรรมสักว่าท˚า
Ø
ทวาร ๓ ทางเกิดของกรรม
๑. กายทวาร ทวารคือกาย ๒. วจีทวาร ทวารคือวาจา ๓. มโนทวาร ทวารคือใจ
(ปี 60, 50) ในกรรม ๑๒ อุปัตถัมภกกรรม กับ อุปปีฬกกรรม ท˚าหน้าที่ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ อุปัตถัมภกกรรม ท˚าหน้าที่สนับสนุนผลแห่งชนกกรรมอุปปีฬกกรรม ท˚าหน้าที่บีบคั้นผลแห่งชนกกรรม ฯ
(ปี 59, 46) จงให้ความหมายของค˚าต่อไปนี้ ก. อโหสิกรรม ข. กตัตตากรรม
ตอบ ก. อโหสิกรรม คือกรรมให้ผลสาเรจแล้ว เป็นกรรมล่วงคราวแล้วเลิกให้ผลเปรียบเหมือนพืชสิ้นยางแล้ว เพาะไม่ขึ้น ข. กตัตตากรรม คือกรรมสักว่าท˚า ได้แก่กรรมอันท˚าด้วยไม่จงใจ ฯ
(ปี 58) อุปฆาตกกรรม คือกรรมตัดรอน ท˚าหน้าที่อะไร ?
ตอบ ท˚าหน้าที่ตัดรอนผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมให้ขาดแล้ว เข้าให้ผล แทนที่ (ชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้น) ฯ
(ปี 56) การฆ่าสัตว์ อย่างไรเกิดทางกายทวาร อย่างไรเกิดทางวจีทวาร ?
ตอบ ฆ่าด้วยตนเองเกิดทางกายทวาร ใช้ให้ผู้อื่นฆ่าเกิดทางวจีทวาร ฯ
(ปี 55) กรรมที่บุคคลท˚าไว้ ท˚าหนาที่อย่างไรบ้าง?
ตอบ ท˚าหน้าที่ คือ ๑. แต่ง (วิบาก) ให้เกิด เรียกว่า ชนกกรรม
๒. สนับสนุน (วิบากของกรรมอื่น) เรียกว่า อุปัตถัมภกกรรม
๓. บีบคั้น (วิบากของกรรมอื่น) เรียกว่า อุปปีฬกกรรม
๔. ตัดรอน (วิบากของกรรมอื่น) เรียกว่า อุปฆาตกกรรม ฯ
(ปี 50) กรรมและทวาร คืออะไร? อภิชฌาเป็นกรรมใดและเกิดทางทวารใดบ้าง จงอธิบาย?
ตอบ กรรม คือ การกระท˚า ส่วนทวาร คือ ทางเกิดของกรรม ฯ
อภิชฌา ความอยากได้ เป็นมโนกรรมได้อย่างเดียว และเกิดได้ทั้ง ๓ ทวาร เป็นกายทวาร เช่น มีความอยากได้แล้วลูบคล˚าพัสดุที่อยากได้นั้น แต่ ไม่มไี ถยจิต เป็นวจีทวาร เช่น มีความอยากได้แล้วบ่นว่า ท˚าอย่างไรดีหนอ จักได้พัสดุนั้น และเป็นมโนทวาร เช่น มีความอยากได้แล้วร˚าพึงในใจ ฯ (ปี 49) ค˚าต่อไปนี้มีความหมายอย่างไร ?
ก.ชนกกรรม ข.อุปัตถัมภกกรรม ค.ทิฏฐธัมมเวทนียกรรม ง.อุปปัชชเวทนียกรรม จ.กตัตตากรรม
ตอบ ก. กรรมแต่งให้เกิด ข. กรรมสนับสนุน ค. กรรมให้ผลในภพนี้ ง. กรรมให้ผลในภพหน้า จ. กรรมสักว่าท˚า คือกรรมที่ท˚าด้วยไม่จงใจ ฯ
(ปี 48) พุทธภาษิตว่า ผู้ท˚ากรรมดีย่อมได้รับผลดี ผู้ท˚ากรรมชั่วย่อมได้รับผลชั่ว แต่ปรากฏว่าผู้ท˚ากรรมชั่วยังได้รับสุขก็มี ผู้ท˚ากรรมดียังได้รับทุกข์ก็ มี ที่เป็นเช่นนี้ เพราะเหตุใด ?
ตอบ เพราะกรรมบางอย่างให้ผลในภพนี้ บางอย่างให้ผลในภพหน้า หรือในภพต่อ ๆ ไป ผู้ท˚ากรรมชั่วได้รับสุข เพราะกรรมชั่วยังไม่ได้ช่องให้ผลใน ขณะนั้น กรรมดีที่เขาท˚าไว้ในอดีตก˚าลังให้ผลอยู่ แต่กรรมชั่วนั้นยังไม่สูญหายไป ยังติดตามให้ผลอยู่เสมอ เป็นแต่ยังไม่ได้ช่องเท่านั้น ส่วนผู้ท˚ากรรม ดี ที่ไม่ได้รับสุขในขณะนั้น เพราะกรรมชั่วที่เขาได้ท˚าไว้ในอดีตก˚าลังให้ผลอยู่ จึงต้องรับทุกข์ล˚าบากอยู่ในขณะนั้น แต่กรรมดีที่ท˚าไว้นั้นยังไม่สญู หายไป ยังติดตามเขาไปเหมือนเงาตามตัว ฉะนั้น เมื่อได้ช่องก็ย่อมให้ผลทันที ฯ
(ปี 45) ในกรรม ๑๒ กรรมที่ให้ผลตามล˚าดับ ได้แก่กรรมอะไรบ้าง? อุปฆาตกกรรม มีอธิบายอย่างไร ?
ตอบ ได้แก่ ๑. ครุกรรม กรรมหนัก
๒. พหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม กรรมชิน
๓. อาสันนกรรม กรรมเมื่อจวนเจียน
๔. กตัตตากรรม กรรมสักว่าท˚า ฯ
อุปฆาตกกรรมเป็นกรรมที่แรง ซึ่งตรงกันข้ามกับชนกกรรม และอุปตถัมภกกรรม เข้าตัดรอนการให้ผลของกรรมสองอย่างนั้นให้ขาดไปเสียทีเดียว เช่น เกิดในตระกูลสูงมั่งคั่ง แต่อายุสั้น เป็นต้น ฯ
(ปี 44) กรรมหมายถึงการกระท˚าเช่นไร ? ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม และอุปปัชชเวทนียกรรม คือกรรมเช่นไร ?
ตอบ หมายถึงการกระท˚าทางกาย วาจา ใจ ที่มีเจตนาจงใจท˚า เป็นได้ทั้งฝ่ายดี ฝ่ายชั่วหรือเป็นกลาง ๆ ฯ ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม คือกรรมให้ผลในภพปัจจุบัน อุปปัชชเวทนียกรรม คือกรรมให้ผลในภพที่จะเกิดถัดไป ฯ
Ø เวทนา ๓ ได้แก่ สุข ทุกข์ เฉย ๆ
Ø เวทนา ๕
๑. สุข ความสบายกาย ๔. โทมนัส ความทุกข์ทางใจ
๒. โสมนัส ความสุขทางใจ ๕. อุเบกขา ความรู้สึกเฉยๆ
๓. ทุกข์ ความไม่สบายกาย
(ปี 57) ความรสึกเฉยๆ ทางกาย กับความรู้สึกเฉยๆ ทางใจ จัดเข้าในเวทนา ๕ อย่างไร?
ตอบ ความรู้สึกเฉยๆ ทางกาย จัดเป็นสุข ความรสู้
(ปี 50) เวทนา ๓ และเวทนา ๕ ได้แก่อะไรบ้าง? จัดกลมเทียบกันได้อย่างไร ?
ึกเฉยๆ ทางใจ จัดเป็นอุเบกขา ฯ
ตอบ เวทนา ๓ ได้แก่ สุข ทุกข์ เฉย ๆ คือไม่สุขไม่ทุกข์ ส่วนเวทนา ๕ ได้แก่ สุข โสมนัส ทุกข์ โทมนัส อุเบกขา ฯ ในเวทนา ๓ สุข คือ สุขกายและสขใจ ซึ่งในเวทนา ๕ สุขกายก็คือสุข และสุขใจก็คือโสมนัส
ในเวทนา ๓ ทุกข์ คือ ทุกข์กายและทุกข์ใจ ซึ่งในเวทนา ๕ ทุกข์กายก็คือทุกข์ และทุกข์ใจก็คือโทมนัส ส่วนในเวทนา ๓ เฉย ๆ คือไม่สุขไม่ทุกข์ ในเวทนา ๕ ก็คืออุเบกขานั่นเอง ฯ
Ø พุทธจริยา ๓
พระจริยาวัตรของพระพุทธเจ้า
๑. โลกัตถจริยา การบ˚าเพ็ญประโยชน์แก่ชาวโลก ในฐานะที่ทรงเป็นโลกนาถ
๒. ญาตัตถจริยา การบ˚าเพ็ญประโยชน์แก่เหล่าพระประยูรญาติ ในฐานะที่ทรงเป็นสายโลหิตเดียวกัน
๓.
พุทธัตถจริยา การบ˚าเพ็ญประโยชน์ในฐานะที่ทรงเป็นพระพุทธเจ้า
(ปี 58) โลกัตถจริยา ที่พระพุทธองค์ทรงประพฤติเป็นประโยชน์แก่โลกนั้น มีอธิบายอย่างไร?
ตอบ มีอธิบายว่า ทรงประพฤติเป็นประโยชน์แก่มหาชนที่นับว่าสัตวโลกทั่วไป เช่น ทรงแผ่ พระญาณตรวจดูสัตวโลกทุกเช้าค˚่า ผู้ใดปรากฏในข่าย พระญาณ เสด็จไปโปรดผู้นั้น สรุปคือ ทรงสงเคราะห์คนทั้งหลายโดยฐานเป็นเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ฯ
(ปี 48) พระพุทธเจ้าทรงประพฤติประโยชน์โดยฐานเป็นพระพุทธเจ้าที่เรียกว่าพุทธัตถจริยา คือทรงประพฤติอย่างไร?
ตอบ ทรงท˚าหน้าที่ของพระพุทธเจ้า คือ ได้ทรงแสดงธรรมประกาศพระศาสนาให้บริษัททั้งคฤหัสถ์และบรรพชิตรู้ทั่วถึงธรรมตามภมิชั้น และทรง บัญญัติสิกขาบท อันเป็นอาทิพรหมจรรย์และอภิสมาจาร ฯ
(ปี 44) ปาฏิหาริย์คืออะไร? พระพุทธเจ้าทรงยกย่องปาฏิหาริย์อะไรว่าเป็นอัศจรรย์ยิ่งกว่าปาฏิหารย์อื่น? พุทธจริยา และพุทธิจริต ต่างกันอย่างไร?
ตอบ คือ การกระท˚าที่ให้บังเกิดผลเป็นอัศจรรย์ ฯ ทรงยกย่องอนุสาสนีปาฏิหาริย์ว่าเป็นอัศจรรย์ยิ่งกว่าปาฏิหารย์อื่น ฯ พุทธจริยา คือพระจรยาของพระพุทธเจ้า พุทธิจริต คือผู้มีความรู้เป็นปกติ ฯ
หมวด ๔
Ø
อปัสเสนธรรม ๔ ธรรมเป็นที่พึงพิง
๑. พิจารณาแล้วเสพของอย่างหนึ่ง ๓. พิจารณาแล้วเว้นของอย่างหนึ่ง
๒. พิจารณาแล้วอดกลั้นของอย่างหนึ่ง ๔. พิจารณาแล้วบรรเทาของอย่างหนึ่ง (ปี 58) อปัสเสนธรรมข้อว่า “พิจารณาแล้วบรรเทาของอย่างหนึ่ง” ของอย่างหนึ่งนั้น คืออะไร ? ตอบ คืออกุศลวิตกอันสัมปยุตด้วยกาม พยาบาท
วิหิงสา ฯ
(ปี 55) อปัสเสนธรรม (ธรรมเป็นที่พึงพิง) ข้อที่ ๒ ว่า พิจารณาแล้วอดกลั้นของอย่างหนึ่ง นั้นมีอธิบายอย่างไร?
ตอบ มีอธิบายว่า อดกลั้นอารมณอันไม่เป็นที่เจริญใจ ต่างโดยหนาว ร้อน หิว กระหาย ถ้อยค˚าเสียดแทง และทุกขเวทนาอันแรงกล้า ฯ
(ปี 46) ในอปัสเสนธรรม ข้อว่า “พิจารณาแล้วเสพของอย่างหนึ่ง”
ค˚าว่า “ของอย่างหนึ่ง” ในข้อนี้ได้แก่อะไร ?
ผู้พิจารณาตามข้อ "พิจารณาแล้วเสพของอย่างหนึ่ง" นั้น ได้ประโยชน์อย่างไร ?
ตอบ ได้แก่ ปัจจัย ๔ บุคคล และธรรม เป็นต้น ที่ท˚าให้เกิดความสบาย ฯ
ได้ประโยชน์อย่างนี้ คือ ท˚ากุศลที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น ท˚ากุศลที่เกิดขึ้นแล้วให้เจริญยิ่งขึ้น ท˚ากิเลสและอกุศลที่เกิดขึ้นแล้วให้เสื่อมไป ฯ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น