สรุปธรรมวิภาค นักธรรมชั้นโท
Ø
กรรมฐาน ๒ ที่ตั้งของการงาน 👉รือ อารมณ์อันเป็นที่ตั้งแ👉่งการงาน
๑. สมถกรรมฐาน กรรมฐานเป็นอุบายสงบใจ ๒. วิปัสสนากรรมฐาน กรรมฐานเป็นอุบายเรืองปัญญา
(ปี 64, 57) ตจปัญจกกัมมัฏฐาน มีอะไรบ้าง? เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร? เป็นอารมณ์ของสมถกัมมัฏฐานหรือของวิปัสสนากัมมัฏฐาน?
ตอบ มีเกสา ผม โลมา ขน นขา เล็บ ทนฺตา ฟัน และตโจ หนัง ฯ เรียกอีกอย่างว่ามูลกัมมัฏฐาน ฯ เป็นอารมณไ์ ด้ทั้งสมถกัมมัฏฐาน และ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ฯ (ปี 63, 58) สมถกรรมฐาน และวิปัสสนากรรมฐาน มุ่งผลแห่งการปฏิบัติอย่างไร ?
ตอบ สมถกรรมฐานมุ่งผลคือความสงบใจ ส่วนวิปัสสนากรรมฐานมุ่งผลคือความเรืองปัญญา ฯ
(ปี 60) การพิจารณาสังขารทั้งหลายโดยความเป็นไตรลักษณ์ จัดเป็นกัมมัฏฐานอะไร ? มีประโยชน์อย่างไร ?
ตอบ จัดเป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน ฯ มีประโยชน์ คือท าให้รู้จักสภาพที่เป็นจริงแห่งสังขารทั้งหลายว่า ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา แล้วเกิดความ เบื่อหน่ายในสังขารทั้งหลายเหล่านั้น ฯ
(ปี 55) กัมมัฏฐานที่พระอุปัชฌาย์สอนแก่ผู้ขอบรรพชาอุปสมบทว่า เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ตโจ ทนฺตา นขา โลมา เกสา นั้นเรียกชื่อว่าอะไร? เป็นสมถกัมมัฏฐานหรือวิปัสสนากัมมัฏฐาน?
ตอบ ชื่อว่า ตจปัญจกกรรมฐาน หรือมูลกัมมัฏฐาน ฯ เป็นได้ทั้งสมถกัมมัฏฐานและวิปัสสนากัมมัฏฐาน ฯ
(ปี 52) ตจปัญจกกัมมัฏฐานเรยกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร มีอะไรบ้าง จัดเป็นสมถกัมมัฏฐานหรือวิปัสสนากัมมัฏฐาน?
ตอบ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่ามูลกัมมัฏฐาน มีเกสา ผม, โลมา ขน, นขา เล็บ, ทันตา ฟัน และตโจ หนัง เป็นได้ทั้งสมถกัมมัฏฐานและวิปัสสนา กรรมฐาน ฯ
(ปี 49) มูลกัมมัฏฐาน คืออะไร? เจริญอย่างไรเป็นอารมณ์ของสมถะ? เจรญอย่างไรเป็นอารมณ์ของวิปัสสนา? ตอบ คือ กัมมัฏฐานเดิม ได้แก่ เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ที่พระอุปัชฌาย์สอนก่อนบรรพชา ฯ ถ้าเพ่งก าหนดให้จิตสงบด้วยภาวนา จัดเป็นอารมณ์ของสมถะ ฯ ถ้ายกขึ้นพิจารณาแยกออกเป็นส่วนๆให้เห็นตามความเป็นจริงโดยสามัญลักษณะจัดเป็นอารมณ์ของวิปัสสนาฯ (ปี 48) ตจปัญจกกัมมัฏฐานได้แก่อะไรบ้าง? จัดเป็นสมถะหรือวิปัสสนา? จงอธิบาย
ตอบ ได้แก่ เกสา โลมา นขา ทันตา และตโจ ฯ เป็นได้ทั้งสมถะและวิปัสสนา ฯ ถ้าเพ่งก าหนดยังจิตให้สงบด้วยภาวนาเป็นสมถะ
ถ้าเพ่งพิจารณาถึงความแปรปรวนเปลี่ยนแปลงไป หรือให้เห็นว่าเป็นทุกข์ คือทนอยู่ได้ยากและทนอยู่ไม่ได้ ต้องเสื่อมสลายไปในที่สด เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวตน พิจารณาเช่นนี้เป็นวิปัสสนา ฯ
หรือให้เห็นว่า
(ปี 47) ความรู้ชั้นวิปสสนาภาวนา หมายถึงความรู้อย่างไร?
ตอบ หมายถึง ความรู้เท่าทันสภาวธรรมตามความเป็นจริง เห็นอาการแห่งสภาวธรรมโดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ซึ่งเรียกว่า สามัญญลักษณะ ฯ
Ø ปริเยสนา ๒ การแสวง👉า มี ๑. อริยปริเยสนา แสวงหาอย่างประเสริฐ ๒. อนริยปริเยสนา แสวงหาอย่างไม่ประเสริฐ
(ปี 55) แสวงหาอะไรเป็นการแสวงหาอย่างประเสริฐ แสวงหาอะไรเป็นการแสวงหาไม่ประเสริฐ?
ตอบ ในพระสูตรแสดงว่า แสวงหาสภาพอันมิใช่ของมีชรา พยาธิ มรณะ คือคุณธรรมมีพระนิพพานเป็นอย่างสูง เป็นการแสวงหาอย่างประเสร็ฐ เรียกว่าอริยปริเยสนา ฯ แสวงหาของมีชรา พยาธิ มรณะ เช่นหาของเล่น เป็นการแสวงหาไม่ประเสริฐ เรียกว่าอนริยปริเยสนา ฯ
(ปี 43) ปริเยสนา ๒ อย่างตามความในพระสตรท่านแสดงไว้อย่างไร? ภิกษุควรแสวงหาเลี้ยงชีพอย่างไรจึงเป็นการแสวงหาอย่างประเสริฐ ?
ตอบ แสดงว่า แสวงหาสิ่งอันมิใช่ของมีชรา พยาธิ มรณะ โสกะและสังกิเลส เป็นธรรมดา คือธรรมอันเกษมมีพระนิพพานเป็นอย่างสูง จัดเป็นอริย ปริเยสนา แสวงหาสิ่งอันมีชรา พยาธิ มรณะ โสกะและสังกิเลสเป็นธรรมดา ทั้งที่สภาพเช่นนั้นก็มีในตนอยู่พร้อมแล้ว จัดเป็นอนริยปริเยสนา ฯ
ภิกษุแสวงหาเลี้ยงชีพโดยอุบายอันสมควร ทั้งไม่เป็นโลกวัชชะมีโทษทางโลกและไม่เป็นปัณณัตติวัชชะมีโทษทางพระบัญญัติ ไม่สร้างความ เดือดร้อนให้แก่ตนและผู้อื่นจึงจะเป็นการแสวงหาอย่างประเสริฐ ฯ
หมายเหตุ ความรู้เพิ่มเติม ไม่ต้องท่องไม่ต้องจ˚า…
ชรา ความแก่ ความช˚ารุดทรุดโทรมของกาย เป็นทุกข์. โสกะ ความแ👉้งใจ คือ👉ัวใจที่เ👉ี่ยวแ👉้ง. พยาธิ 👉มายถึง ความเจ็บไข้ สังกิเลส 👉มายถึง เครื่องท˚าใ👉้ใจเศร้า👉มอง มรณะ ความสลาย 👉รือความท˚าลาย ความตาย เป็นทุกข์.
Ø อริยบุคคล ๒ บุคคลผู้เป็นอริยะ👉รือบุคคลผู้ประเสริฐ
๑. พระเสขะ พระผู้ยังต้องศึกษา คือ พระอริยบุคคล ๗ เบื้องต้น
ชื่อวา่ พระเสขะ เพราะเป็นผู้ยังต้องปฏิบัติเพื่อมรรคผลเบื้องสูงขึ้นไป.
๒. พระอเสขะ พระผู้ไม่ต้องศึกษา คือ พระอริยบุคคลผู้ตั้งอยู่ในพระอรหัตตผล ชื่อว่าพระอเสขะ เพราะเสร็จกจอันจะต้องท าแล้ว
Ø
พระอริยบุคคล ๔ บุคคลผู้ประเสริฐ
๑. พระโสดาบัน ผู้แรกเข้าถึงกระแสพระนิพพาน (ละสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และสลัพพตปรามาสได้ขาด)
๒. พระสกทาคามี ผู้กลับมาสโลกนี้อกครั้งเดียว (ละสังโยชน์ได้ ๓ ประการเหมือนพระโสดาบันแล้วยังบรรเทา ราคะ โทสะ โมหะ ให้เบาบางได้ด้วย)
๓. พระอนาคามี ผู้ไม่กลับมาสู่โลกนี้อีก (ละกามราคะ และปฏิฆะได้ขาด)
๔. พระอรหันต์ ผู้ห่างไกลจากกิเลส (ละรูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชาได้ขาด)
Ø
พระอริยบุคคล ๘ ผู้บรรลุโลกุตรธรรม
๑. พระโสดาปัตติมรรค ๕. พระอนาคามิมรรค
๒. พระโสดาปัตติผล ๖. พระอนาคามิผล
๓. พระสกทาคามิมรรค ๗. พระอรหัตตมรรค
๔. พระสกทาคามิผล ๘. พระอรหัตตผล
Ø
โสดาบัน ๓ พระอริยบุคคลผไู้ ด้บรรลุอริยผลขั้นแรก
๑. เอกพีชี พระโสดาบันผู้จะเกิดอีก ๑ ชาติเป็นอย่างยิ่ง
๒. โกลังโกละ พระโสดาบันผู้จะเกิดอีก ๒-๓ ชาติเป็นอย่างยิ่ง
๓. สัตตักขัตตุปรมะ พระโสดาบันผู้จะเกิดอีก ๗ ชาติเป็นอย่างยิ่ง
(ปี 63) พระอริยบุคคล ๔ ได้แก่ใครบ้าง ? พระอริยบุคคลประเภทใดละอวิชชาได้เด็ดขาด ?
ตอบ ได้แก่ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์ ฯ พระอรหันตละอวิชชาได้เดดขาด ฯ
(ปี 59) พระอริยบุคคล ๘ จ าพวก จ าพวกไหนชื่อว่าพระเสขะ และพระอเสขะ ? เพราะเหตไุ ร ?
ตอบ พระอริยบุคคล ๗ เบื้องต้น ชื่อว่าพระเสขะ เพราะเป็นผู้ยังต้องปฏิบัติเพื่อบรรลุมรรคผลเบื้องสูง ฯ พระอริยบุคคลผู้ตั้งอยู่ในอรหัตตผล ชื่อว่าพระอเสขะ เพราะเสร็จกิจอันจะต้องท าแล้ว ฯ
(ปี 59 , 53, 46) ค าว่า "โสดาบัน" แปลว่าอะไร ? ผบรรลุโสดาบันนั้นละสังโยชน์อะไรได้เดดขาด ?
ตอบ โสดาบัน แปลว่า ผู้แรกถึงกระแสพระนิพพานฯ ท่านละสังโยชน์ได้เด็ดขาด ๓ อย่าง คือ ๑. สักกายทิฏฐิ ๒. วิจิกิจฉา
๓. สีลัพพตปรามาสฯ
(ปี 54) ในอริยบุคคล ๒ พระเสขะผู้ยังต้องศึกษา คือศึกษาเรื่องอะไร? ผู้ศึกษาก าลังสอบธรรมอยู่นี้เรยกว่าพระเสขะได้หรือไม่? ตอบ คือศึกษา ในอธิสีล ในอธิจิต และในอธิปัญญา อีกอย่างหนึ่งหมายถึงต้องศึกษาและต้องปฏิบัติเพื่อมรรคผลเบื้องสูงขึ้นไป ฯ ยังเรียกว่าพระเสขะไม่ได้ ถ้าไม่ใช่พระอริยบุคคล ๗ จ าพวกเบื้องต้น ฯ
(ปี 54) ค าว่า พระสงฆ์ ในบทสังฆคุณนั้น ท่านประสงค์บุคคลเช่นไร? จงจ าแนกมาดู
ตอบ ท่านประสงค์พระอริยบุคคล ๔ คู่ ๘ บุคคล ซึ่งล้วนแต่ท่านผู้ที่ตั้งอยู่ใน
มรรคผลทั้งสิ้น คือ พระโสดาปัตติมรรค พระโสดาปัตติผล คู่ ๑ พระสกทาคามิมรรค พระสกทาคามิผล คู่ ๑ พระอนาคามิมรรค พระอนาคามิผล คู่ ๑ พระอรหัตตมรรค พระอรหัตตผล คู่ ๑ ฯ
(ปี 52) สังโยชน์คืออะไร พระโสดาบันละสังโยชน์อะไรได้ขาดบ้าง?
ตอบ คือ กิเลสอันผูกใจสัตว์ไว้ ละสังโยชน์ ๓ เบื้องต้นได้ขาด คือ ๑. สักกายทิฏฐิ
๒. วิจิกิจฉา ๓. สล (ปี 51) ค าว่า พระโสดาบัน และ สัตตักขตตุปรมะ มีอธิบายอย่างไร ?
ัพพตปรามาส ฯ
ตอบ พระโสดาบัน คือพระอริยบุคคลผไู้ ด้บรรลุอริยผลขั้นแรก ฯ สัตตักขตตุปรมะ คือพระโสดาบันผู้จะเกิดอีก ๗ ชาติเป็นอย่างยิ่ง ฯ
(ปี 50) พระเสขะ ผู้ยังต้องศึกษา คือศึกษาอะไร ? ชื่อว่าพระอเสขะ เพราะอะไร ?
ตอบ ศึกษาสิกขา ๓ คือ ๑. อธิสีลสิกขา ๒. อธิจิตตสิกขา ๓. อธิปัญญาสิกขา ฯ เพราะเสร็จกิจอันจะต้องท าแล้ว ฯ
(ปี 50) พระอริยบุคคล ๔ ได้แก่ใครบ้าง ? พระโสดาบันละสังโยชน์อะไรได้บ้าง ? ตอบ ได้แก่ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์ ฯ พระโสดาบันละสังโยชน์ได้ ๓
คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส ฯ
(ปี 47) อริยบุคคล ๘ ได้แก่ใครบ้าง ? จัดเข้าในพระเสขะและพระอเสขะได้อย่างไร ?
ตอบ ได้แก่ พระผตั้งอยู่ในโสดาปัตตมรรค ๑ พระผตั้งอยู่ในโสดาปัตตผล ๑
พระผตั้งอยู่ในสกทาคามิมรรค ๑ พระผตั้งอยู่ในสกทาคามิผล ๑ พระผตั้งอยู่ในอนาคามิมรรค ๑ พระผตั้งอยู่ในอนาคามิผล ๑ พระผตั้งอยู่ในอรหัตตมรรค ๑พระผตั้งอยู่ในอรหัตตผล ๑ ฯ
จัดเข้าได้อย่างนี้ อริยบุคคล ๗ ประเภทแรก เรียกว่า พระเสขะ
อริยบุคคล ๑ ประเภทหลัง เรียกวา พระอเสขะ ฯ
Ø
รูป ๒ สิ่งที่ต้องสลายไปเพราะเหตุปัจจัยต่างๆ ขัดแย้งกัน, สิ่งที่เป็นรูปร่างพร้อมทั้งลักษณะอาการของมัน
๑. มหาภูตรูป รูปใ👉ญ่ ได้แก่ธาตุ ๔ มี ปฐวี อาโป เตโช วาโย ๒. อุปาทายรูป รูปอาศัยมหาภตรปนั้น ฯ
(ปี 57) มหาภตรูป คืออะไร? มีความเกี่ยวเนื่องกับอุปาทายรูปอย่างไร?
ตอบ คือรูปที่เป็นใหญ่เป็นประธาน อันประกอบด้วยธาตุ ๔ ได้แก่ดิน น ้า ไฟ ลม ฯ
เป็นที่ตั้งอาศัยแห่งอุปาทายรูปหรือรูปย่อย เมื่อรูปใหญ่แตกท าลายไป อุปาทายรูปที่อิงอาศัยมหาภตรปนั้นก็แตกท าลายไปด้วย ฯ
(ปี 54) มหาภตรูปและอุปาทายรูปคืออะไร?
ตอบ มหาภูตรูป คือรูปใหญ่ ได้แก่ธาตุ ๔ มี ปฐวี อาโป เตโช วาโย อุปาทายรูป คือรูปอาศัยมหาภตรูปนั้น ฯ
(ปี 51) รูปในขันธ์ ๕ แบ่งเป็น ๒ ได้แก่อะไรบ้าง? จงอธิบายมาสั้น ๆ พอเข้าใจ
ตอบ ได้แก่ มหาภูตรูป และ อุปาทายรูป
มหาภูตรูป คือ รูปใหญ่ อันได้แก่ ธาตุ ๔ มีดิน น ้า ไฟ ลม
อุปาทายรูป คือ รูปอาศัย เป็นอาการของมหาภูตรูป เช่น ประสาท ๕ มีจักขุประสาทเป็นต้น โคจร ๕ มีรูปารมณ์เป็นต้น ฯ
(ปี 48) มหาภตรูป คืออะไร? มีความเกี่ยวเนื่องกับอุปาทายรูปอย่างไร?
ตอบ คือ รูปที่เป็นใหญ่เป็นประธาน อันประกอบด้วย ธาตุ ๔ ได้แก่ ดิน น ้า ไฟ ลม ฯ เป็นที่ตั้งอาศัยแห่งรูปย่อยซึ่งเรียกว่าอุปาทายรูป เมื่อรูปใหญ่แตกทาลายไป อุปาทายรูปที่อิงอาศัยมหาภูตรูปนั้นก็แตกท าลายไปด้วยฯ
Ø วิมุตติ ๒ ความหลุดพ้น
๑. เจโตวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยอ านาจแห่งใจ ๒. ปัญญาวิมุตติ ความหลดพ้นด้วยอ านาจแห่งปัญญา
Ø
วิมุตติ ๕ ความท าจิตใจให้หลุดพ้นจากกิเลสาสวะ
๑. ตทังควิมุตติ หลุดพ้นด้วยองค์ธรรมนั้นๆ [พ้นชั่วคราว]
๒. วิกขัมภนวิมุตติ หลดพ้นด้วยข่มไว้ [พ้นด้วยสะกด]
๓. สมุจเฉทวิมุตติ หลุดพ้นด้วยการตดขาด [พ้นด้วยเด็ดขาด]
๔.
ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ หลุดพ้นด้วยความสงบ [พ้นด้วยสงบ]
๕.
นิสสรณวิมุตติ หลุดพ้นด้วยการสลัดออก [พ้นด้วยออกไป]
Ø
วิโมกข์ ๓ ความที่จิตหลุดพ้นจากอ านาจกิเลส
๑. สุญญตวิโมกข์ หลุดพ้นด้วยความว่าง (พิจารณาเห็นนามรูปโดยความเป็นอนัตตา)
๒. อนิมิตตวิโมกข์ หลุดพ้นด้วยไม่ถือนิมิต (พิจารณาเห็นนามรูปโดยความเป็นอนิจจัง)
๓. อัปปณิหิตวิโมกข์ หลุดพ้นด้วยไม่ท าความปรารถนา (พิจารณาเห็นนามรูปโดยความเป็นทุกข์)
(ปี 60, 48) ในวิมุตติ ๕ วิมุตติอย่างไหนเป็นโลกิยะ อย่างไหนเป็นโลกุตระ ?
ตอบ ตทังควิมุตติ และวิกขมภนวิมุตติ จัดเป็นโลกิยะ ส่วนสมุจเฉทวิมุตติ ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ และนิสสรณวิมุตติ จัดเป็นโลกุตระ ฯ
(ปี 59, 51) เจโตวิมุตติ กับ ปัญญาวิมุตติ ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ เจโตวิมุตติ เป็นวิมุตติของท่านผู้ได้บรรลุฌานมาก่อนแล้ว จึงบ าเพ็ญวิปัสสนาต่อ ส่วนปัญญาวิมุตติ เป็นวิมุตติของท่านผู้ได้บรรลุด้วยล าพังบ าเพ็ญวิปัสสนาล้วน
อีกนัยหนึ่ง เรียกเจโตวิมุตติเพราะพ้นจากราคะ เรียกปัญญาวิมุตติเพราะพ้นจากอวิชชา ฯ (ปี 53) วิมุตติ กับ วิโมกข์ ต่างกันอย่างไร? สมุจเฉทวิมุตติ มีอธิบายอย่างไร?
ตอบ ต่างกันแต่โดยพยัญชนะ แต่ก็พ้นจาก ราคะ โทสะ โมหะได้เท่ากันโดยอรรถ ฯ มีอธิบายว่า ความพ้นจากกิเลสด้วยอ านาจอริยมรรค กิเลสเหล่านั้นขาดเด็ดไป ไม่กลับเกิดอีก ฯ
(ปี 50) วิโมกข์ คืออะไร ?
มีอะไรบ้าง ? ตอบ คือ ความพ้นจากกิเลส ฯ มี สุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์ อัปปณิหิตวิโมกข์ ฯ
(ปี 47) วิมุตติ คืออะไร? ตทังควิมุตติ มีอธิบายอย่างไร?
ตอบ คือ ความท าจิตใจให้หลุดพ้นจากกิเลสาสวะ ฯ มีอธิบายว่า ความพ้นจากกิเลสได้ชั่วคราว เช่นเกิดเหตุเป็นที่ตั้งแห่งสังเวชขึ้น หายก าหนัด ในกาม เกิดเมตตาขึ้น หายโกรธ แต่ความก าหนัดและความโกรธนั้น
ไม่หายทีเดียว ท าในใจถึงอารมณ์งาม ความก าหนัดกลับเกิดขึ้นอีก ท าในใจ ถึงวัตถุแห่งอาฆาต ความโกรธกลบเกิดขึ้นอีก อย่างนี้จัดเป็นตทังควิมุตติ ฯ
(ปี 45) วิมุตติคืออะไร? วิมุตติ ๒ อย่าง มีอะไรบ้าง? วิมุตติ ๒ กับวิมุตติ ๕ จัดเป็นโลกิยะและโลกุตตระอย่างไร?
ตอบ คือความหลุดพ้น มี ๑. เจโตวิมุตติ ความหลดพ้นด้วยอ านาจแห่งใจ ๒. ปัญญาวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยอ
านาจแห่งปัญญา ฯ วิมุตติ ๒ เป็นโลกุตตระอย่างเดียว ส่วนวิมุตติ ๕ เป็นได้ทั้งโลกิยะและโลกุตตระ ฯ
Ø
ทิฏฐิ ๒ ความเห็นผิด
๑. สัสสตทิฏฐิ ความเห็นว่าเที่ยง ๒. อุจเฉททิฏฐิ ความเห็นว่าขาดสญู
Ø
ทิฏฐิ ๓ ความเห็นผิด
๑. อกิริยทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่เป็นอันท า ๒. อเหตุกทิฏฐิ ความเห็นว่าหาเหตุมิได้ ๓. นัตถิกทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่มี (ปี 56) ทิฏฐิ ที่หมายถึงความเห็นผิด ๒ อย่าง มีอะไรบ้าง? ตอบ มี ๑. สัสสตทิฏฐิ ความเห็นว่าเที่ยง ๒. อุจเฉททิฏฐิ ความเห็นว่าขาดสูญ ฯ (ปี 50) ความเห็นว่าเที่ยงและเห็นว่าขาดสูญ คือเห็นอย่างไร?
มติในทางพระพุทธศาสนาเป็นเช่นไร จงอธิบาย?
ตอบ เห็นว่าเที่ยง คือเห็นว่า คนและสตว์ตายแล้ว ชีวะไม่สูญ ต้องเกิดอีกต่อไป หรือเคยเป็นอะไร ก็เป็นอย่างนั้นตลอดไปหรือมีสภาพอย่างนั้น
ไม่แปรผัน เป็นต้น
ส่วนเห็นว่าขาดสญ คือเห็นว่า อัตภาพจุติแล้วเป็นอันสูญสิ้นไป หรือคนสัตว์ตายแล้วขาดสญไปโดยประการทั้งปวง ฯ
พระพุทธศาสนาปฏิเสธความเห็นทั้ง ๒ นั้น มีความเห็นประกอบด้วยสัมมาญาณ อิงเหตุผล ยึดเหตผ จะเกิดอีกหรือไม่ ขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัย ฯ
ลเป็นที่ตั้ง โดยเห็นว่า คนและสตว์ตายแล้ว
(ปี 45) ความเห็นว่า "ถึงคราวเคราะห์ดีก็ดีเอง ถึงคราวเคราะห์ร้ายก็ร้ายเอง" อย่างนี้เป็นทิฏฐิอะไร ? จงอธิบาย คติทางพระพุทธศาสนาต่างจากความเห็นนี้อย่างไร ?
ตอบ เป็นอเหตุกทิฏฐิ คือเห็นว่า สิ่งทั้งหลายไม่มีเหตุปัจจัย คนเราจะได้ดีหรือได้รายตามคราวเคราะห์ ถึงคราวจะดีก็ดเอง ถึงคราวจะร้ายก็ร้ายเอง ไม่มเหตุปัจจัยอื่น ฯ พระพุทธศาสนาถือว่าสังขตธรรมทั้งปวงเกิดแต่เหตุ ฯ
Ø ปาพจน์ ๒ ค าสอนอันเป็นหลักใหญ่ของพระพุทธเจ้า
๑. ธรรม หลักค าสอน ๒. วินัย บทบัญญติ/ข้อห้าม
Ø
ปิฎก ๓ คัมภีร์ที่รวบรวมพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้ามี ๓ คัมภีร์ใหญ่ๆ คือ
๑. พระวินัยปิฎก ว่าด้วยเรื่องกฎระเบียบข้อบังคับที่น าความประพฤติให้สม ่าเสมอกัน หรือเป็นเครื่องบริหารคณะ
๒. พระสุตตันตปิฎก ว่าด้วยค าสอนยกบุคคลเป็นที่ตั้ง
๓. พระอภิธรรมปิฎก ว่าด้วยค าสอนยกธรรมล้วนๆ ไม่เจือด้วยสตว์หรอบุคคลเป็นที่ตั้ง
(ปี 58) ปาพจน์ ๒ คือธรรมและวินัย นั้นทราบแล้ว อยากทราบว่าความปฏิบัติอย่างไรจัดเป็นธรรม ความปฏิบัติอย่างไรจดเป็นวินัย?
ตอบ ความปฏิบัติเป็นทางน าความประพฤติและอัธยาศัยให้ประณตขึ้น จัดเป็นธรรม ความปฏิบัติเนื่องด้วยระเบียบอันทรงตั้งไว้ด้วยพุทธอาณา
เป็นสิกขาบทหรืออภิสมาจาร เป็นทางน าความประพฤติให้สม ่าเสมอกัน หรือเป็นเครื่องบริหารคณะ จัดเป็นวินัย ฯ
(ปี 52) ปิฎก ๓ ได้แก่อะไรบ้าง แต่ละปิฎกว่าด้วยเรื่องอะไร?
ตอบ ได้แก่ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก ฯ
พระวินัยปิฎก ว่าด้วยเรื่องกฎระเบียบข้อบังคับที่น าความประพฤติให้สม ่าเสมอกัน หรือเป็นเครื่องบริหารคณะ พระสตตันตปิฎก ว่าด้วยค าสอนยกบุคคลเป็นที่ตั้ง
พระอภิธรรมปิฎก ว่าด้วยค าสอนยกธรรมล้วนๆ ไม่เจือด้วยสตว์หรอบุคคลเป็นที่ตั้ง ฯ
(ปี 50) ปาพจน์ ๒ ได้แก่อะไรบ้าง? ถ้าแจกเป็น ๓ จะได้อะไรบ้าง?
ตอบ ได้แก่ พระธรรม และ พระวินัย ฯ ถ้าแจกเป็น ๓ จะได้ พระวินัย ๑ พระสูตร ๑ พระอภิธรรม ๑ ฯ
Ø บูชา ๒ มี ๑. อามิสบูชา บูชาด้วยอามิสสิ่งของ ๒. ปฏิปัตติบูชา บูชาด้วยปฏิบัตติ
(ปี 61) บูชา ๒ คืออะไรบ้าง ? การสมาทานศีล ๕ เป็นประจ า จัดเป็นบูชา ประเภทใด ?
ตอบ คือ อามิสบูชา บูชาด้วยอามิสสิ่งของ ๑ ปฏิบัติบูชา บูชาด้วยการปฏิบัติตาม ๑ ฯ จัดเป็นปฏิบัติบูชา ฯ
าม.
Ø
ปฏิสันถาร ๒ การต้อนรับผมาเยือนด้วยการพูดจาปราศรัย หรือด้วยการรับรองด้วยของ ต้อนรับตามสมควรด้วยไมตรีจิต
๑. อามิสปฏิสนถาร ปฏิสันถารด้วยสิ่งของ ๒. ธัมมปฏิสนถาร ปฏิสันถารด้วยธรรม
(ปี 64, 60, 45) ปฏิสันถาร คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ? มีประโยชน์แก่ผู้ท าอย่างไรบ้าง ?
ตอบ คือการต้อนรับแขกผู้มาถึงถิ่น ฯ มี ๒ อย่าง
๑. อามิสปฏิสันถาร ปฏิสันถารด้วยสิ่งของ ๒. ธัมมปฏิสันถาร ปฏิสันถารด้วยธรรม ฯ มีประโยชน์แก่ผู้ท าอย่างนี้ คือ
๑. เป็นอุบายสร้างความสามัคคีและยดเหนี่ยวน ้าใจกัน ๒. เป็นการรักษาไมตรีจิตระหว่างกันและกันให้มั่นคงยิ่งขึ้น ฯ
(ปี 49) ปฏิสันถาร คืออะไร ? จงแสดงวิธีปฏิสันถารตามความรู้ที่ได้ศึกษามา ?
ตอบ คือ การต้อนรับผมาเยือนด้วยการพูดจาปราศรัย หรือด้วยการรับรองด้วยของ ต้อนรับตามสมควรด้วยไมตรีจิต ฯ ปฏิสันถารที่ได้ศึกษามามี ๒ อย่าง คือ
๑.อามิสปฏิสันถาร ปฏิสันถารด้วยสิ่งของ ได้แก่การจัดหาวัตถุสิ่งของต้อนรับ เช่น ข้าว น ้า หรือที่พัก เป็นต้น
๒.ธัมมปฏิสันถาร ปฏิสันถารด้วยธรรม ได้แก่การแสดงการต้อนรับตามความเหมาะสมแก่ผู้มาเยือน หรือการให้ค าแนะน า ในสิ่งที่เป็นประโยชน์ เป็นต้น ฯ
Ø เทสนา ๒ วิธีการแสดงธรรมเพื่อสงั่ สอนผู้อื่น มี ๑. ปุคคลาธิฏฐานา มีบุคคลเป็นที่ตั้ง ๒. ธัมมาธิฏฐานา มีธรรมเป็นที่ตั้ง
(ปี 62) บุคคลาธิฏฐานาเทศนา เทศนามีบุคคลเป็นที่ตั้ง มีอธิบายว่าอย่างไร? ตอบ มีอธิบายว่า การสอนที่ยกบุคคลมาเป็นตัวอย่าง เช่น ใน มหาชนกชาดก สอนเรื่องความเพียรโดยกล่าวถึงพระมหาชนกโพธิสัตว์ว่า ทรงมีความเพียรอย่างยิ่ง พยายามว่าย น ้าในท่ามกลางมหาสมุทรที่กว้าง ใหญ่ มองไม่เห็นฝั่งอย่างไม่ย่อท้อ ด้วยความมุ่งมั่นที่จะถึงฝั่งให้ได้ และทรงถึงฝั่งได้ดังประสงค์ ฯ
(ปี 46) เทสนา ๒ มีอะไรบ้าง? เทสนา ๒ อย่างนั้นต่างกันอย่างไร จงอธิบาย? ตอบ มี ปุคคลาธิฏฐานา มีบุคคลเป็นที่ตั้ง ๑ ธัมมาธิฏฐานา มีธรรมเป็นที่ตั้ง ๑ ฯ ต่างกันอย่างนี้
การสอนที่ยกบุคคลมาเป็นตัวอย่าง เช่น ในมหาชนกชาดก สอนเรื่องความเพียร โดยกล่าวถึงพระมหาชนกโพธิสัตว์ว่า ทรงมีความเพียร อย่างยิ่ง พยายามว่ายน ้าในท่ามกลางมหาสมุทรที่กว้างใหญ่มองไม่เห็นฝั่งอย่างไม่ย่อท้อ ด้วยความมุ่งมั่นที่จะถึงฝั่งให้ได้ เป็น ปุคคลาธิฏฐานา ฯ
ส่วนการยกธรรมแต่ละข้อมาอธิบายความหมายอย่างเดยว เช่น สติ แปลว่า ความระลึกได้ หมายความว่า ก่อนจะท า ก่อนจะพูดอะไร ต้องคิดให้รอบคอบเสียก่อน จึงท า จึงพูดออกไป เป็นต้น เป็น ธัมมาธิฏฐานา ฯ
Ø
ธรรม ๒
๑. โลกิยธรรม ธรรมอันเป็นวิสัยของโลก ๒. โลกุตตรธรรม ธรรมอันพ้นวิสัยของโลก
Ø ธรรม ๒
๑. สังขตธรรม ธรรมอันปัจจัยปรุงแต่ง [สภาพเกิดแต่เหตุทั้งปวง มีแปรไปในท่ามกลางและมดับในที่สุด]
๒. อสังขตธรรม ธรรมอันปัจจัยไม่ได้ปรุงแต่ง [นิพพานจัดเป็นอสังขตธรรม]
Ø
สังขตธรรม หรือ สังขตลักษณะ ๓ ธรรมอันปัจจัยปรุงแต่ง
๑. ความเกิด ปรากฏ
๒. ความดบ ปรากฏ
๓.
เมื่อยังตั้งอยู่ ความผันแปรปรากฏ
(ปี 62, 53) สังขตธรรม คืออะไร ? มีลักษณะอย่างไร ?
ตอบ คือธรรมอันปัจจัยปรุงแต่ง ฯ มีลักษณะ คือ มีความเกิดขึ้นในเบื้องต้น มีความแปรปรวนในท่ามกลางและมีความดบไปในที่สด ฯ
(ปี 57) สังขตธรรม และ อสังขตธรรม ต่างกันอย่างไร? สตว์ ต้นไม้ ภูเขา เป็นสังขตธรรม เพราะมีลักษณะอย่างไร?
ตอบ สังขตธรรม คือธรรมอันปัจจัยปรุงแต่ง ส่วนอสังขตธรรม คือธรรมอันปัจจัยไม่ได้ปรุงแต่ง ฯ
เพราะมล
ักษณะ คือมีความเกิดขึ้นในเบื้องต้น มีความดับในที่สด
และเมื่อยังตั้งอยู่ ความแปรผันปรากฏ ฯ
(ปี 52) ความเกิดขึ้น ความตั้งอยู่ ความดับไป เป็นลักษณะของธรรมอะไร สัตว์บุคคลมีลักษณะเช่นนั้นหรือไม่? จงอธิบาย
ตอบ เป็นลักษณะของสังขตธรรม มีลักษณะเช่นนั้นคือเมื่อสัตว์บุคคลเกิดมาแล้วก็เป็นความเกิดขึ้น ต่อมาก็เจรญเติบโตผ่านวัยทั้ง ๓ ก็เป็นความ ตั้งอยู่ เมื่อตายก็เป็นความดับไป ฯ
(ปี 47) สังขารทั้งหลายไม่เป็นอนัตตาหรือ เพราะเหตไุ รในธรรมนิยามจึงใช้ค าว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา ? จงอธิบาย
ตอบ สังขารทั้งหลายก็เป็นอนตตา แต่ที่ใช้ค าว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา นั้น เพราะธรรมนั้นหมายเอาธรรมคือสังขตธรรมและอสังขตธรรม สังขตธรรมได้แก่สังขารนั่นเอง อสังขตธรรมได้แก่วิสังขารคือพระนิพพาน ฯ
Ø
กาม ๒
๑. กิเลสกาม กิเลสเป็นเหตุใคร่ [ได้แก่ กิเลสให้ใคร่ คือ ราคะ โลภะ อิจฉา เป็นต้น]
๒. วัตถุกาม วัตถุอันน่าใคร่ [ได้แก่กามคุณ ๕ รูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ อันเป็นที่น่าปรารถนารักใคร่ชอบใจ]
Ø กามคุณ ๕ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ (ปี 63, 59) ราคะ
โลภะ อิสสา กลิ่น รส
อย่างไหนเป็นกิเลสกาม อย่างไหนเป็นวัตถุกาม? ตอบ ราคะ โลภะ อิสสา เป็นกิเลสกาม กลิ่น รส เป็นวตถุกาม ฯ
(ปี 44) กาม และ กามคุณ มีอธิบายอย่างไร? รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ทั้ง ๕ นี้ เพราะเหตุไรจึงเรียกว่า กามคุณ?
ตอบ กาม ได้แก่ ความใคร่ ความน่าปรารถนา ความพอใจ แบ่งเป็น กิเลสกาม และวัตถุกาม
ส่วนกามคุณ ได้แก่อารมณ์ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มี รูป เสยง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ซึ่งเป็นวัตถุกามนั่นเอง ฯ เพราะเป็นกลุ่มแห่งกาม และเป็นสิ่งที่ให้เกิดความสุข ความพอใจได้ ฯ
หมวด ๓
Ø วิเวก ๓
๑. กายวิเวก สงัดกาย ได้แก่อยู่ในทส
งัด
๒. จิตตวิเวก สงัดจิต ได้แก่ท าจิตให้สงบด้วยสมถภาวนา
๓. อุปธิวิเวก สงัดกิเลส ได้แก่ท าใจให้บริสุทธิ์จากกิเลสด้วยวิปัสสนาภาวนา
(ปี 58) วิเวก ๓ คืออะไรบ้าง ? จงอธิบายแต่ละอย่างพอเข้าใจ
ตอบ คือ ๑. กายวิเวก สงัดกาย ได้แก่อยู่ในที่สงัด ๒. จิตตวิเวก สงัดจิต ได้แก่ท าจิตให้สงบด้วยสมถภาวนา
๓. อุปธิวิเวก สงัดกิเลส ได้แก่ท าใจให้บริสุทธิ์จากกิเลสด้วยวิปัสสนาภาวนา ฯ
Ø อธิปเตยยะ ๓ (ความเป็นใ👉ญ่) สงิ่ ที่ยึดถือเป็นส าคัญในการกระท าหรือด าเนินชีวิต
๑. อัตตาธิปเตยยะ ความมีตนเป็นใหญ่ ๒. โลกาธิปเตยยะ ความมีโลกเป็นใหญ่ ๓. ธัมมาธิปเตยยะ ความมีธรรมเป็นใหญ่
(ปี 64, 62, 44) บุคคลผู้ถือความถูกต้องเป็นใหญ่ท าด้วยอ านาจเมตตา กรุณา เป็นต้น จัดเข้าในอธิปเตยยะข้อไหนได้หรือไม่?
ตอบ จัดเข้าในธัมมาธิปเตยยะได้ ฯ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น