พิธีถวายผ้าป่า
คาว่า ผ้าป่า ในสมัยพุทธกาล เรียกว่า บังสุกุลจีวร หรือ ผ้าบังสุกุล แปลว่า ผ้าเปื้อนฝุ่น
ไม่มีเจ้าของหวงแหน ทิ้งอยู่ตามถนนหนทาง ในป่าช้า หรือแขวนอยู่ตามกิ่งไม้ในป่า แรกตรัสรู้
พระพุทธเจ้ายังมิได้ทรงอนุญาตให้พระภิกษุรับถวายจีวรจากชาวบ้าน ทรงอนุญาตเพียงให้
แสวงหาผ้าบังสุกุล ผ้าเปื้อนฝุ่นไม่มีเจ้าของ ผ้าห่อซากศพทิ้งตามป่าช้า และผ้าตกอยู่ตามถนน
นามาซักย้อมตัดเย็บเป็นสบง จีวร สังฆาฏิอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อใช้นุ่งห่ม พุทธศาสนิกชน
สมัยนั้น เห็นความลาบากของพระภิกษุเรื่องนี้ มีความประสงค์จะบาเพ็ญกุศลไม่ขัดต่อ
พระพุทธบัญญัติ จึงจัดหาผ้าควรแก่สมณบริโภค นาไปทิ้งตามสถานที่ต่าง ๆ โดยมากตามป่า
หรือป่าช้า ดังนั้น พุทธศาสนิกชนชาวไทย จึงนิยมเรียกกันว่า ผ้าป่า
หนังสือนักธรรมชั้นตรี,นักธรรมตรีpdf,นักธรรมตรี,สรุปนักธรรมตรี,ข้อสอบนักธรรมตรี,เก็งข้อสอบนักธรรมตรี
- หน้าแรก
- พุทธประวัติ
- ธรรมวิภาค
- เบญจศีล-เบญจธรรม
- แบบกระทู้ธรรมชั้นตรี
- แบบกระทู้ธรรมชั้นโท
- แบบกระทู้ธรรมชั้นเอก
- หมวด พุทธศาสนสุภาษิต
- อนุพุทธประวัติชั้นโท
- ดาวโหลดหนังสือธรรมศึกษาชั้นตรี โท เอก
- Download ข้อสอบนักธรรมและธรรมศึกษา ปี 2559-2563
- ประวัตินักธรรม-ธรรมศึกษา โดยสังเขป
- ขอบข่ายการเรียนการสอนธรรมศึกษา 2561
- ขอบข่ายธรรมศึกษา ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป
- ข้อสอบนักธรรมตรี-โท-เอก[ย้อนหลัง]
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น