วันเสาร์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

วิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นตรี 2559

 




ปัญหาและเฉลยวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นตรี
                                  สอบในสนามหลวง
                                  วันพฤหัสบดีที่๑๓ ตุลาคมพุทธศักราช๒๕๕๙




๑.            กิจที่บรรพชิตไม่ควรท า เรียกว่าอะไร?มีอะไรบ้าง?

ตอบ เรียกว่า อกรณียกิจ ฯ มี๔ คือ ๑. เสพเมถุน ๒. ลักทรัพย์

๓.  ฆ่าสัตว์ ๔. พูดอวดคุณวิเศษที่ไม่มีในตน ฯ

๒.     อาบัติคืออะไร?อาการที่ภิกษุต้องอาบัติ๖อย่างนั้น อย่างไหนเสียหายมากที่สุด?

ตอบ คือ โทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าห้ามฯ ต้องด้วยไม่ละอาย จัดว่าเสียหายมากที่สุด ฯ

๓.           ภิกษุปฏิบัติศีล สมาธิ ปัญญาดีแล้ว จะได้รับประโยชน์อย่า?

ตอบ ย่อมได้รับประโยชน์ คือ ปฏิบัติศีล ท นผูาให้มีกายเป็ วาจาเรียบร้อย

ปฏิบัติสมาธิห้ใจสงบมั่นคงทาใ ไม่ฟุูงซ่าน ปฏิบัติปัญญา ท าใหรู้นกองสังขารรอบใ ฯ

๔.           ปาราชิกทั้ง๔สิกขาบท เป็นสจิตตกะหรืออจิตตกะ?เพราะเหตุใด?

ตอบ ปาราชิกทั้ง๔สิกขาบท เป็นสจิตตกะ ฯ เพราะต้องด้วยจงใจเกิดขึ้นโดยมีเจตนาเป็นสมุฏฐาน ฯ

๕.     ภิกษุท าคนอื่นให้ถึงแก่ความตาย ต้องอาบัติอะไรหรือไม่?
ตอบ ถ้าไม่จงใจ ไม่เป็นอาบัติ แต่ถ้าจงใจประสงค์จะให้เขาตาย เป็นอา

๖.      ภิกษุมีความก าหนัดจับต้องอนุปสัมบันต้องอาบัติอะไร?

ตอบ ภิกษุมีความก าหนัดจับต้องอนุปสัมบันที่เป็นหญิง ต้องอาบั อนุปสัมบันที่เป็นบัณเฑาะก์ ต้องอาบัติถุลลัจจัย อนุปสัมบันที่เป็นชาย ต้องอาบัติทุกกฏ ฯ

๗.     ภิกษุรู้อยู่ น้อมลาภที่เขาจะถวายสงฆ์มาเพื่อตนต้องอาบัต?
ลาภนั้น ได้แก่อะไรบ้าง?
ตอบ ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ ฯ
ได้แก่ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และเภสัช ซึ่งเรียกว่าปัจจัย๔
และของที่เป็นกัปปิยะอย่างอื่นอีก ฯ

๘.            ผ้าไตรจีวร ที่ทรงอนุญาตให้ภิกษุอธิษฐานไว้ใช้มีกี่อย่าง?อะไรบ้าง?

ตอบ มี๓ อย่าง ฯ คือ ๑. สังฆาฏิ (ผ้าคลุม)

๒.  อุตตราสงค์ (ผ้าห่ม) ๓. อันตรวาสก (ผ้านุ่ง) 

๙.      พูดอย่างไร ชื่อว่าส่อเสียดภิกษุ?ภิกษุพูดอย่างนั้นต้องอาบัติอะไร?

ตอบ เก็บความข้างนี้ไปบอกข้างโน้น เก็บความข้างโน้นมาบอกข้างนี้ ด้วยประสงค์จะให้เขารักตนหรือให้เขาแตกกัน ชื่อว่าส่อเสียดภิกษุ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ฯ

๑๐. เสขิยวัตร คืออะไร?ภิกษุไม่ปฏิบัติตาม ต้องอาบัติอะไร? ตอบ คือธรรมเนียมที่ภิกษุต้องศึกษา ฯ
ต้องอาบัติทุกกฏ ฯ




--------------------

ให้เวลา๓ ชั่วโมง


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น