วันจันทร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2561

วิมุตติ ความหลุดพ้น ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

วิมุตติ ๒ ตามนัยพระบาลี
๑) เจโตวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งใจ หมำยถึง ควำมหลุดพ้นจำก
กิเลสำสวะเครื่องร้อยรัดผูกพันทั้งปวงด้วยกำรฝึกจิต เป็นปฏิปทำข้อปฏิบัติของผู้บำเพ็ญเพียร
ที่เจริญสมถะและวิปัสสนำมำโดยลำดับจนสำเร็จเป็นพระอรหันต์
๒) ปัญญาวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งปัญญา หมำยถึง ควำมหลุดพ้น
ด้วยอำนำจปัญญำที่รู้เห็นตำมเป็นจริง หรือภำวะที่จิตใช้ปัญญำพิจำรณำอันเป็นเหตุให้
หลุดพ้นจำกเครื่องร้อยรัดผูกพันคือกิเลสและอวิชชำได้อย่ำงเบ็ดเสร็จเด็ดขำด เป็นปฏิปทำ
ข้อปฏิบัติของผู้บำเพ็ญเพียรที่มุ่งมั่นเจริญวิปัสสนำอย่ำงเดียวจนสำเร็จเป็นพระอรหันต์
วิมุตติทั้ง ๒ อย่ำงนี้เป็นเครื่องแสดงปฏิปทำที่ให้สำเร็จควำมหลุดพ้นของ
พระอรหันต์ ในพระบำลีจะมีคำว่ำ “อนาสวํ : อันหาอาสวะมิได้” กำกับเป็นคุณบทให้รู้ว่ำ
เป็นโลกุตตรธรรม เช่นพระบำลีว่ำ“อาสวานํ ขยา อนาสวํ เจโตวิมุตฺตึ ปญฺ าวิมุตฺตึ ... :
กระทาให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติอันหาอาสวะมิได้เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ”
ไว้เสมอ จึงเป็นเหตุให้วินิจฉัยว่ำ วิมุตติที่เป็นสำสวะคือมีอำสวะหรือเป็นโลกิยะก็มี
เมื่อกำหนดควำมในธัมมจักกัปปวัตตนสูตรที่ว่ำ “อกุปฺปา เม วิมุตฺติ : วิมุตติของเราไม่กาเริบ”
ก็เป็นเหตุให้วินิจฉัยว่ำ วิมุตติมีทั้งที่เป็น อกุปปธรรม ธรรมที่กาเริบไม่ได้ คือเป็นโลกุตตระ
และเป็น กุปปธรรม ธรรมที่กาเริบได้ คือเป็นโลกิยะ ด้วยเหตุนี้ ในคัมภีร์อรรถกถำ ท่ำนจึง
แบ่งวิมุตติเป็น ๕ อย่ำง
วิมุตติ ๕ ตามนัยอรรถกถา
๑) ตทังควิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยองค์นั้นๆ หมำยถึงภำวะที่จิตพ้นจำกกิเลสด้วย
อำศัยธรรมตรงกันข้ำมที่เป็นคู่ปรับกัน เช่น เกิดเมตตำ หำยโกรธ เกิดสังเวช หำยกำหนัด
เป็นต้น เป็นกำรหลุดพ้นชั่วครำวโดยระงับอกุศลเจตสิกได้เป็นครำวๆ จัดเป็นโลกิยวิมุตติ
๒) วิกขัมภนวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยข่มไว้ หมำยถึงควำมหลุดพ้นจำกกิเลสกำม
และอกุศลธรรมทั้งหลำยได้ด้วยกำลังฌาน อำจสะกดไว้ได้นำนกว่ำตทังควิมุตติ แต่เมื่อฌำน
เสื่อมแล้ว กิเลสอำจเกิดขึ้นอีก จัดเป็นโลกิยวิมุตติ
๓) สมุจเฉทวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยตัดขาด หมำยถึงควำมหลุดพ้นจำกกิเลสด้วย
อริยมรรค โดยที่กิเลสไม่สำมำรถเกิดขึ้นในจิตสันดำนได้อีก จัดเป็นโลกุตตรวิมุตติ
๔) ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยสงบราบ หมำยถึงควำมหลุดพ้นจำกกิเลส
ด้วยอริยผล จัดเป็นโลกุตตรวิมุตติ
๕) นิสสรณวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยสลัดออกได้ หมำยถึงภำวะที่จิตหลุดพ้นจำก
กิเลสเสร็จสิ้นแล้วดำรงอยู่ในภำวะที่หลุดพ้นจำกกิเลสนั้นตลอดไป ได้แก่ นิพพาน จัดเป็น
โลกุตตรวิมุตติ
กำรบัญญัติตทังควิมุตติ เป็นเกณฑ์กำหนดว่ำ วิมุตติที่เป็นของปุถุชนก็มี กำรบัญญัติ
วิกขัมภนวิมุตติ เป็นเกณฑ์กำหนดว่ำ เจโตวิมุตติที่เป็นสำสวะ คือมีอำสวะก็มี กำรบัญญัติ
สมุจเฉทวิมุตติและปฏิปัสสัทธิวิมุตติ เป็นเกณฑ์กำหนดว่ำ วิมุตติเป็นไ ด้ทั้งอริยมรรค
อริยผล กำรบัญญัตินิสสรณวิมุตติ เป็นเกณฑ์กำหนดว่ำ วิมุตติที่เป็นปรมัตถสัจจะนั้นได้แก่
พระนิพพำน หรือเป็นเกณฑ์กำหนดให้ครบโลกุตตรธรรม ๙ (มรรค ๔ ผล ๔ นิพพำน ๑)
สรุปความ
วิมุตติ หมำยถึงควำมที่จิตหลุดพ้นจำกอำสวะทั้งหลำย ในพระบำลีจำแนกเป็น ๒
คือ เจโตวิมุตติ และ ปัญญาวิมุตติ ส่วนในอรรถกถำจำแนกเป็น ๕ คือ ตทังควิมุตติ
วิกขัมภนวิมุตติ สมุจเฉทวิมุตติ ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ และนิสสรณวิมุตติ โดย ๒ ข้อแรก
จัดเป็นโลกิยะ ส่วน ๓ ข้อหลัง จัดเป็นโลกุตตระ
วิมุตติของพระอรหันต์ มีไตรสิกขำ คือ ศีล สมำธิ ปัญญำสมบูรณ์ ส่วนผู้แรกปฏิบัติ
ธรรม กำรหัดทำจิตให้ปลอดจำกกิเลสกำมและอกุศลวิตกอย่ำงอื่นได้ ก็นับว่ำได้รับประโยชน์
จำกกำรศึกษำเรื่องวิมุตติในเบื้องต้นนี้แล้ว

วิราคะ ความสิ้นกำหนัด ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

วิราคะ ความสิ้นกาหนัด หมำยถึงภำวะที่จิตปรำศจำกควำมกำหนัดยินดีในกำม
ควำมสำรอกจิตจำกกิเลสกำม หรือสภำวธรรมใดๆ ที่เป็นไปเพื่อควำมสิ้นกำหนัด หำยรัก
หำยอยำกในกำมสุขทั้งปวง
ไวพจน์แห่งวิราคะ ๘ อย่าง
ในอัคคัปปสำทสูตร อังคุตตรนิกำย จตุกกนิบำต พระพุทธองค์ทรงแสดงวิรำคะว่ำ
เป็นยอดแห่งธรรมทั้งปวง ทั้งที่เป็นสังขตธรรมและอสังขตธรรม แล้วทรงแจกไวพจน์แห่ง
วิราคะ คากาหนดใช้เรียกแทนวิราคะ เป็น ๘ อย่าง คือ
๑. มทนิมฺมทโน ธรรมยังควำมเมำให้สร่ำง
๒. ปิปาสวินโย ธรรมนำเสียซึ่งควำมระหำย
๓. อาลยสมุคฺฆาโต ควำมถอนขึ้นด้วยดีซึ่งอำลัย
๔. ควำมเข้ำไปตัดเสียซึ่งวัฏฏะ
๕. ตณฺหกฺขโย ควำมสิ้นตัณหำ
๖. วิราโค ควำมสิ้นกำหนัด
๗. นิโรโธ ควำมดับ
๘. นิพฺพานํ ธรรมชำติหำเครื่องเสียบแทงมิได้
       วิราคะ ที่มำในลำดับแห่งนิพพิทำ ตำมอุทเทสว่ำ “นิพฺพินฺทํ วิรชฺชติ : เมื่อเบื่อ
หน่าย ย่อมสิ้นกาหนัด” จัดเป็นอริยมรรค คือญำณอันให้สำเร็จควำมเป็นพระอริยะ
มี ๔ อย่ำง คือ โสดำปัตติมรรค สกทำคำมิมรรค อนำคำมิมรรค และอรหัตตมรรค
วิรำคะในอุทเทสว่ำ วิราโค เสฏโฐ ธมฺมานํ : วิราคะ เป็นประเสริฐแห่งธรรมทั้งหลาย
เป็นไวพจน์ของนิพพำน ส่วนวิรำคะ ที่แปลว่ำ สิ้นกาหนัด ในอุทเทสแห่งวิมุตติที่ว่ำ วิราคา
วิมุจฺจติ : เพราะสิ้นกาหนัด ย่อมหลุดพ้น เป็นชื่อของอริยมรรค
วิราคะ เป็นได้ทั้งอริยมรรคและอริยผล คือ ถ้ำมำหรือปรำกฏในลำดับแห่งนิพพิทำ

หรือมำคู่กับวิมุตติ จัดเป็นอริยมรรค ถ้ำมำตำมลำพัง จัดเป็นอริยผล

วันอาทิตย์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2561

หมวด ๑๐ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท

บารมี ๑๐
๑. ทาน การให้ การเสียสละ
๒. สีล การรักษากาย วาจา ให้เรียบร้อย
๓. เนกขัมมะ การออกบวช การปลีกตนออกจากกาม
๔. ปัญญา ความรอบรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล เข้าใจสภาวธรรมทั้งหลาย
ตามความเป็นจริง
๕. วิริยะ ความเพียร ความแกล้วกล้า ไม่เกรงกลัวอุปสรรค
ก้าวหน้าเรื่อยไปไม่ทอดธุระ
๖. ขันติ ความอดทนอดกลั้น สามารถใช้สติปัญญาควบคุมตน
ให้อยู่ในอำนาจเหตุผล ไม่ลุอำนาจกิเลส
๗. สัจจะ ความสัตย์ความจริง มีความตั้งใจจริง คือ พูดจริง ทำจริง
และจริงใจ
๘. อธิษฐาน ความตั้งใจมั่น วางจุดมุ่งหมายไว้แน่นอน แล้วทำไปตามนั้น
อย่างแน่วแน่
๙. เมตตา ความรักใคร่ปรารถนาดี มีจิตเกื้อกูลต่อมนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย
ให้มีสุขทั่วหน้ากัน
๑๐. อุเบกขา ความวางใจเป็นกลาง ไม่เอนเอียงไปเพราะความรัก ความชัง
ความหลง และความกลัว มีความเที่ยงธรรม

บารมี แปลว่า คุณสมบัติ หรือปฏิปทาอันยวดยิ่ง หมำยถึง คุณธรรมที่ประพฤติ
ปฏิบัติอย่ำงยิ่งยวด หรือควำมดีที่บำเพ็ญอย่ำงพิเศษ เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมำยอันสูงสุด หรือปฏิปทำส่งให้บรรลุถึงฝั่ง คือ นิพพำน ควำมเป็นพระพุทธเจ้ำ ควำมเป็นพระมหำสำวก
เป็นต้น ต้องบำเพ็ญบำรมีมำทั้งนั้น พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำทุกพระองค์ ได้ทรงบำเพ็ญมำตั้งแต่
ครั้งยังเป็นพระโพธิสัตว์ เมื่อบำรมีเหล่ำนี้เต็มแล้วจึงได้ตรัสรู้
บุญกิริยาวัตถุ ๑๐
บุญกิริยาวัตถุ คือสิ่งเป็นที่ตั้งแห่งการบำเพ็ญบุญ มี ๑๐ อย่าง คือ
๑. ทานมัย บุญสำเร็จด้วยการบริจาคทาน
๒. สีลมัย บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล
๓. ภาวนามัย บุญสำเร็จด้วยการเจริญภาวนา
๔. อปจายนมัย บุญสำเร็จด้วยการประพฤติถ่อมตนแก่ผู้ใหญ่
๕. เวยยาวัจจมัย บุญสำเร็จด้วยการช่วยขวนขวายในกิจที่ชอบ

๖. ปัตติทานมัย บุญสำเร็จด้วยการให้ส่วนบุญ
๗. ปัตตานุโมทนามัย บุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนาส่วนบุญ
๘. ธัมมัสสวนมัย บุญสำเร็จด้วยการฟังธรรม
๙. ธัมมเทสนามัย บุญสำเร็จด้วยการแสดงธรรม

๑๐. ทิฏฐุชุกัมม์ การทำความเห็นให้ตรง
บุญ แปลว่ำ สิ่งที่ชำระจิตสันดำนให้หมดจด ได้แก่ ควำมดี, ควำมถูกต้อง, ควำม
สะอำด บุญกิริยาวัตถุ แปลว่ำ เหตุเป็นที่ตั้งแห่งกำรทำบุญ, หลักกำรทำควำมดี, หรือ
วิธีกำรทำควำมดี เมื่อทำแล้วจะได้รับผล คือควำมสุข โดยย่อมี ๓ อย่ำง คือ ทำนมัย สีลมัย

และภำวนำมัย แต่โดยพิสดำรมี ๑๐ อย่ำง