จริต ๖
ราคจริต มีราคะเป็นปกติ
โทสจริต มีโทสะเป็นปกติ
โมหจริต มีโมหะเป็นปกติ
วิตักกจริต มีวิตกเป็นปกติ
สัทธาจริต มีศรัทธาเป็นปกติ
พุทธิจริต มีความรู้เป็นปกติ
จริต แปลว่ำ ควำมประพฤติ หมำยถึง ควำมประพฤติคุ้นเคยซึ่งหนักไปทำงใดทำงหนึ่ง
อันเป็นปกติประจำอยู่ในสันดำน หรือพฤติกรรมที่แสดงออกมำเป็นควำมชอบควำมเคยชิน
เป็นลักษณะเด่นชัดในด้ำนนั้น ๆ ควำมประพฤติหรือลักษณะนิสัย เรียกอีกอย่ำงว่ำ จริยำ
มี ๖ อย่ำง คือ
๑. ราคจริต มีราคะเป็นปกติ หรือ มีรำคะเป็นเจ้ำเรือน หมำยถึงคนที่มีลักษณะ
นิสัยหนักไปทำงรำคะ รักสวยรักงำม ละมุนละไม ชอบควำมเอำอกเอำใจ ควำมอ่อนโยน
หรือชอบเรื่องบันเทิงเจริญใจ แสดงออกให้เห็นในลักษณะต่ำงๆ เช่น มีอิริยำบถเรียบร้อย
สวยงำมทำกำรงำนละเอียดประณีต นิยมรสอำหำรที่กลมกล่อม มักติดใจพอใจอย่ำงลึกซึ้ง
ในสิ่งที่ตนเกิดควำมรักควำมยินดี เป็นคนเจ้ำเล่ห์ โอ้อวด ถือตัว มีควำมต้องกำรทำงกำมและ
เกียรติมำก เช่น ต้องกำรเป็นใหญ่ให้คนยกย่องสรรเสริญ ไม่ค่อยสันโดษ มักโลเล พิถีพิถัน
ในเรื่องอำหำร กำรแต่งตัว และกำรทำงำน เป็นต้น คนราคจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญ
อสุภกัมมัฏฐำน ๑๐ และกำยคตำสติ
๒. โทสจริต มีโทสะเป็นปกติ หรือ มีโทสะเป็นเจ้ำเรือน หมำยถึงคนที่มีลักษณะ
นิสัยหนักไปทำงโทสะ ประพฤติหนักไปทำงใจร้อนหงุดหงิดรุนแรง ฉุนเฉียวโกรธง่ำย
ชอบควำมรุนแรง ชอบกำรต่อสู้เอำชนะระรำนผู้อื่นด้วยกำลัง อำจสังเกตได้จำกอิริยำบถที่
พรวดพรำดรีบร้อน กระด้ำง ทำกำรงำนรวดเร็วแต่ไม่ค่อยเรียบร้อย ไม่สำรวม ชอบบริโภค
อำหำรรสจัด กินเร็ว มักโกรธง่ำย ลบหลู่คุณท่ำน ตีเสมอ และมักริษยำ คนโทสจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญกัมมัฏฐำน ประเภทวัณณกสิณ ๔ คือ นีลกสิณ ปีตกสิณ โลหิตกสิณ
โอทำตกสิณ และเจริญพรหมวิหำร ๔ คือ เมตตำ กรุณำ มุทิตำ อุเบกขำ
๓. โมหจริต มีโมหะเป็นปกติ หรือ มีโมหะเป็นเจ้ำเรือน หมำยถึงคนที่มีลักษณะ
นิสัยหนักไปทำงโมหะ ประพฤติหนักไปทำงเขลำ เหงำซึม ขี้หลงขี้ลืม เลื่อนลอยไปตำมกระแส
สังคม ขำดเหตุผล ชอบเรื่องไร้สำระ อำจสังเกตได้จำกอิริยำบถที่เซื่องซึมเหม่อลอย ทำกิจกำร
งำนหยำบ ไม่ถี่ถ้วน คั่งค้ำง ขำดควำมเรียบร้อย เอำดีไม่ค่อยได้ ไม่เลือกอำหำรกำรกิน อย่ำงไร
ก็ได้ มักมีควำมเห็นคล้อยตำมคนอื่นง่ำยๆ ใครว่ำอย่ำงไร ก็ว่ำตำมเขำ มักชอบง่วงนอน ขี้สงสัย
เข้ำใจอะไรยำก เป็นต้น คนโมหจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญอำนำปำนสติกัมมัฏฐำน หรือ
เพ่งกสิณ และพึงเสริมปัญญำด้วยกำรจัดให้มีกำรเรียน กำรไต่ถำม กำรฟังธรรม กำรสนทนำ
ธรรมตำมกำล หรือกำรให้อยู่กับครูอำจำรย์
๔. วิตักกจริต มีวิตกเป็นปกติ หรือ มีควำมวิตกเป็นเจ้ำเรือน หมำยถึงคนที่มี
ลักษณะนิสัยควำมประพฤติหนักไปทำงชอบครุ่นคิดวกวน นึกคิดฟุ้งซ่ำน ย้ำคิดย้ำทำ ขำดควำม
มั่นใจในตนเอง ชอบวิตกกังวลเรื่องไม่เป็นเรื่อง คิดตรึกตรองไปเรื่อยๆ ไม่ค่อยแน่นอนอะไร
นัก เข้ำใจอะไรไม่ตลอดสำย อำจสังเกตได้จำกอิริยำบถที่เชื่องช้ำ คล้ำยพวกโมหจริต ทำกำร
งำนจับจดไม่เป็นหลัก แต่เป็นคนช่ำงพูด อำหำรที่บริโภคไม่ค่อยพิถีพิถันมำกนัก อย่ำงไรก็ได้
มักเห็นตำมคล้อยตำมผู้คนหมู่มำก ประเภทพวกมำกลำกไป เป็นคนโลเลเดี๋ยวดีเดี๋ยวร้ำย
คนวิตักกจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญอำนำปำนสติกัมมัฏฐำน
๕. สัทธาจริต มีศรัทธาเป็นปกติ หรือ มีควำมเชื่อง่ำยเป็นเจ้ำเรือน หมำยถึงคนที่มี
ลักษณะนิสัยมำกด้วยศรัทธำ ประพฤติหนักไปทำงถือมงคลตื่นข่ำว เชื่อง่ำยโดยปรำศจำก
เหตุผล ไว้ใจทุ่มเทใจให้ผู้อื่นได้ง่ำย ชอบเรื่องไสยศำสตร์หรืออำนำจลึกลับ สังเกตได้จำก
อิริยำบถที่แช่มช้อยละมุนละม่อม ทำกำรงำนอะไรจะมีควำมเรียบร้อย ชอบสวยงำมแบบ
เรียบร้อย ชอบสวยงำมแบบเรียบๆ ไม่ฉูดฉำด ไม่โลดโผน ชอบอำหำรรสมัน มีจิตใจเบิกบำน
ในเรื่องที่เป็นกุศล แต่ไม่ชอบโอ้อวด คนสัทธาจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญกัมมัฏฐำน
ประเภทอนุสสติ ๖ ประกำร คือ พุทธำนุสสติ ธัมมำนุสสติ สังฆำนุสสติ สีลำนุสสติ
จำคำนุสสติ และเทวตำนุสสติ นอกจำกนี้ พึงชักนำไปในสิ่งที่ควรแก่ควำมเลื่อมใสและควำม
เชื่อที่มีเหตุผล
๖. พุทธิจริต มีความรู้เป็นปกติ มีพุทธิปัญญำเป็นเจ้ำเรือนหมำยถึงคนที่มีลักษณะ
นิสัยควำมประพฤติหนักไปทำงใช้ควำมคิดพิจำรณำและมองไปตำมควำมจริง มีปัญญำเฉียบแหลม ว่องไว ได้ยินได้ฟังอะไรมักจำได้เร็ว อำจสังเกตได้จำกอิริยำบถที่ว่องไวและเรียบร้อย
ทำกิจกำรงำนอะไรมักเป็นประโยชน์ ทำได้เรียบร้อยสวยงำมมีระเบียบ ชอบบริโภคอำหำร
รสไม่จัด มองอะไรด้วยควำมพินิจพิเครำะห์ คนพุทธิจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญกัมมัฏฐำน
๔ ประกำร คือ มรณัสสติ อุปสมำนุสสติ อำหำเรปฏิกูลสัญญำ และจตุธำตุววัตถำน นอกจำกนี้
พึงส่งเสริมแนะนำให้ใช้ควำมคิดพิจำรณำสภำวธรรมและสิ่งดีงำมที่ให้เจริญปัญญำ
จริตหรือจริยำ ๖ อย่ำงนี้ ในบุคคลคนเดียว แม้จะเป็นผู้มีลักษณะเด่นไปในจริตใด
จริตหนึ่งดังกล่ำวมำ แต่บำงครั้งอำจมีจริตระคนกันเกิดขึ้นพร้อมกันหลำยจริตก็มี เช่น
ในกรณีเมื่อผู้น้อยไม่ได้สิ่งที่ตนปรำรถนำจึงโกรธนินทำผู้ใหญ่ เช่นนี้ท่ำนว่ำมีทั้งรำคจริต
โทสจริต และโมหจริตระคนกัน
ธรรมคุณ ๖
สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว
สนฺทิฏฐิ โก อันผู้ได้บรรลุจะพึงเห็นเอง
อกาลิโก ไม่ประกอบด้วยกาล
เอหิปสฺสิโก ควรเรียกให้มาดู
โอปนยิโก ควรน้อมเข้ามา
ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญฺญูหิ อันวิญญูชนพึงรู้เฉพาะตน
ธรรมคุณ แปลว่ำ คุณของพระธรรม หมำยถึง คำสอนทำงพระพุทธศำสนำที่บุคคล
ประพฤติปฏิบัติดีแล้ว จะได้ผลคือควำมดี เพรำะพระธรรมมีควำมดีรอบด้ำน โดยสมควรแก่
กำรปฏิบัติที่เรียกว่ำ ธัมมำนุธัมมปฏิบัติ คุณของพระธรรมท่ำนจำแนกไว้ ๖ ประกำร
หนังสือนักธรรมชั้นตรี,นักธรรมตรีpdf,นักธรรมตรี,สรุปนักธรรมตรี,ข้อสอบนักธรรมตรี,เก็งข้อสอบนักธรรมตรี
- หน้าแรก
- พุทธประวัติ
- ธรรมวิภาค
- เบญจศีล-เบญจธรรม
- แบบกระทู้ธรรมชั้นตรี
- แบบกระทู้ธรรมชั้นโท
- แบบกระทู้ธรรมชั้นเอก
- หมวด พุทธศาสนสุภาษิต
- อนุพุทธประวัติชั้นโท
- ดาวโหลดหนังสือธรรมศึกษาชั้นตรี โท เอก
- Download ข้อสอบนักธรรมและธรรมศึกษา ปี 2559-2563
- ประวัตินักธรรม-ธรรมศึกษา โดยสังเขป
- ขอบข่ายการเรียนการสอนธรรมศึกษา 2561
- ขอบข่ายธรรมศึกษา ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป
- ข้อสอบนักธรรมตรี-โท-เอก[ย้อนหลัง]
วันอาทิตย์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2561
หมวด ๕ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท
อนุปุพพีกถา ๕
ทานกถา กล่าวถึงทาน
สีลกถา กล่าวถึงศีล
สัคคกถา กล่าวถึงสวรรค์
กามาทีนวกถา กล่าวถึงโทษแห่งกาม
เนกขัมมานิสังสกถา กล่าวถึงอานิสงส์แห่งความออกจากกาม
อนุปุพพีกถา แปลว่ำ ถ้อยคำที่พรรณนำควำมโดยลำดับ หมำยถึง พระธรรมเทศนำ
ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงไปโดยลำดับเพื่อฟอกจิตของเวไนยสัตว์ผู้มีอุปนิสัยสำมำรถจะบรรลุ
ธรรมพิเศษ ให้หมดจดเป็นชั้นๆ จำกง่ำยไปหำยำก ซึ่งเป็นกำรเตรียมจิตของผู้ฟังให้พร้อมที่
จะรับฟังอริยสัจต่อไป มี ๕ อย่ำง
มัจฉริยะ ๕
อาวาสมัจฉริยะ ตระหนี่ที่อยู่
กุลมัจฉริยะ ตระหนี่สกุล
ลาภมัจฉริยะ ตระหนี่ลาภ
วัณณมัจฉริยะ ตระหนี่วรรณะ
ธัมมมัจฉริยะ ตระหนี่ธรรม
มัจฉริยะ แปลว่ำ ควำมตระหนี่ หมำยถึง ควำมหวงแหนกีดกันไม่ให้ผู้อื่นได้ดีหรือมี
ส่วนร่วม คือ ควำมไม่พอใจที่จะให้สิ่งของของตนแก่ผู้อื่นด้วยอำกำรที่หวงแหนเหนียวแน่น
โดยมีควำมโลภเป็นสมุฏฐำน
มาร ๕
ขันธมาร มารคือปัญจขันธ์
กิเลสมาร มารคือกิเลส
อภิสังขารมาร มารคืออภิสังขาร
มัจจุมาร มารคือมรณะ
เทวปุตตมาร มารคือเทวบุตร
มาร แปลว่ำ สภำพที่ทำให้ตำย หมำยถึง สิ่งที่ฆ่ำบุคคลให้ตำยจำกคุณควำมดีและ
ผลที่คำดหวัง หรือสิ่งที่ล้ำงผลำญคุณควำมดี ตัวกำรที่กำจัดขัดขวำงบุคคลมิให้บรรลุผลสำเร็จ
นิวรณ์ ๕
ธรรมอันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี เรียก นิวรณ์ มี ๕ อย่าง
๑. ความพอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจ มีรูป เป็นต้น เรียกกามฉันท์
๒. ปองร้ายผู้อื่น เรียกพยาบาท
๓. ความที่จิตหดหู่และเคลิบเคลิ้ม เรียกถีนมิทธะ
๔. ฟุ้งซ่านและรำคาญ เรียกอุทธัจจกุกกุจจะ
๕. ลังเลไม่ตกลงใจได้ เรียกวิจิกิจฉา
นิวรณ์ แปลว่ำ กิเลสหรืออกุศลธรรมที่ครอบงำจิต หรือปิดกั้นจิตไม่ให้บรรลุควำมดี
ไม่ให้ก้ำวขึ้นสู่ธรรมเบื้องสูงขึ้นไป ควำมดีในที่นี้ หมำยถึง สมำธิ ฌำน สมำบัติ เช่น ในกำร
เจริญสมถกัมมัฏฐำน หรือเจริญวิปัสสนำกัมมัฏฐำนก็ตำม หำกกิเลสเหล่ำนี้อย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง
เกิดขึ้นแล้วจะไม่สำมำรถเจริญกัมมัฏฐำนให้ก้ำวหน้ำได้
ขันธ์ ๕
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
กำยกับใจนี้ แบ่งออกเป็น ๕ กอง เรียกว่ำ ขันธ์ ๕ คือ
๑. รูป ๒. เวทนำ ๓. สัญญำ
๔. สังขำร ๕. วิญญำณ
ธำตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม ประชุมกันเป็นกำย นี้ เรียกว่ำ รูป
ควำมรู้สึกอำรมณ์ว่ำ เป็นสุข คือสบำยกำยสบำยใจ หรือเป็นทุกข์ คือไม่สบำยกำย
ไม่สบำยใจ หรือเฉยๆ คือไม่ทุกข์ไม่สุข เรียกว่ำ เวทนา
ควำมจำได้หมำยรู้ คือ จำรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อำรมณ์ที่เกิดกับใจได้
เรียกว่ำ สัญญา
เจตสิกธรรม คืออำรมณ์ที่เกิดกับใจ เป็นส่วนดีเรียกกุศล เป็นส่วนชั่วเรียกอกุศล
เป็นส่วนกลำงๆ ไม่ดีไม่ชั่วเรียกอัพยำกฤต เรียกว่ำ สังขาร
ควำมรู้อำรมณ์ ในเวลำที่รูปมำกระทบตำ เป็นต้น เรียกว่ำ วิญญาณ
ขันธ์ ๕ นี้ย่อลง เรียกว่ำ นามรูป เวทนำ สัญญำ สังขำร วิญญำณ รวมเข้ำเป็นนำม,
รูปคงเป็นรูป.
ขันธ์ แปลว่ำ กอง หมำยควำมว่ำ แบ่งกำยกับใจออกเป็น ๕ กอง ได้แก่ รูปขันธ์
เวทนำขันธ์ สัญญำขันธ์ สังขำรขันธ์ และวิญญำณขันธ์ ดังนี้
๑. รูปร่ำงกำยอันประกอบด้วยธำตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม รวมตัวกันเข้ำ เกิดใน
ครรภ์มำรดำ มีอวิชชำ ตัณหำ อุปำทำน กรรม และอำหำรเป็นเหตุ เป็น ๑ กอง เรียกว่ำ
รูปขันธ์ แปลว่ำ กองรูป,
๒. ส่วนใจ แบ่งออกเป็น ๔ กอง คือ
๑) เมื่ออำยตนะภำยในอำยตนะภำยนอก และวิญญำณ ๓ อย่ำง ประชุมกัน
ก็เกิดผัสสะ ผัสสะเป็นปัจจัยให้เกิดควำมสุขบ้ำง ควำมทุกข์บ้ำง กลำงๆ ไม่สุขไม่ทุกข์บ้ำง
เป็นเวทนำขันธ์ แปลว่ำ กองเวทนา
๒) ควำมจำได้หมำยรู้สิ่งที่มำกระทบทำงทวำรทั้ง ๖ ที่ล่วงมำแล้วแม้นำนได้
กล่ำวคือ เมื่อรูป เสียง เป็นต้น แม้ผ่ำนพ้นไปแล้ว และเวทนำดับไปแล้วก็ยังจำได้ ควำมจำ
ได้นี้ เป็นสัญญำขันธ์ แปลว่ำ กองสัญญา
๓) อำรมณ์ที่เกิดกับใจ ทั้งอิฏฐำรมณ์และอนิฏฐำรมณ์ ทั้งที่เป็นกุศลหรืออกุศล
หรือที่เป็นกลำงๆ กล่ำวคือ เมื่อจำได้ ก็คิดปรุงแต่งหรือปรุงแต่งควำมคิด ดีบ้ำง ชั่วบ้ำง ไม่ดี
ไม่ชั่วบ้ำง ควำมคิดปรุงแต่งจิตให้มีอำกำรต่ำงๆ นี้ เป็นสังขำรขันธ์ แปลว่ำ กองสังขาร
๔) ควำมรู้อำรมณ์ในรูปขันธ์ที่กรรมตกแต่งให้มีอำยตนะภำยใน ๖ คือ ตำ หู
จมูก ลิ้น กำย ใจ, เมื่ออำยตนะภำยนอกมีรูปกระทบตำ เสียงกระทบหู กลิ่นกระทบจมูก
รสกระทบลิ้น โผฏฐัพพะกระทบกำย อำรมณ์ต่ำงๆ กระทบใจ ก็เกิดควำมรู้ขึ้น เป็นวิญญำณขันธ์
แปลว่ำ กองวิญญาณ
ขันธ์ ๕ นี้ เป็นสภำวธรรม มีกำรเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ไม่ควรเข้ำไปยึดถือว่ำ เป็นเรำ
เป็นของเรำ เป็นตัวตน เพรำะตกอยู่ในไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ไม่เที่ยง ทุกขัง ทนได้ยำก หรือ
ไม่อยู่ในสภำพเดิม อนัตตา ไม่มีตัวตน ไม่อยู่ในบังคับบัญชำของใคร สรุปเรียกว่ำ กาย ใจ,หรือ รูป นาม ก็ได้
เวทนา แปลว่ำ ควำมเสวยอำรมณ์ หมำยถึง ภำวะจิตที่เกิดควำมรู้สึก เมื่อรับอำรมณ์
ต่ำงๆ จำแนกโดยรวมทั้งกำยและจิตไว้ ๕ ประกำร คือ
๑. สุข หรือ สุขเวทนา ควำมรู้สึกสุข หมำยถึง ควำมรู้สึกสบำย ในที่นี้ มำคู่กับ
โสมนัส จึงหมำยเอำเฉพำะควำมรู้สึกสุขทำงกำย หรือควำมรู้สึกสบำยกำยอย่ำงเดียว
๒. ทุกข์ หรือ ทุกขเวทนา ควำมรู้สึกทุกข์ หมำยถึง ควำมรู้สึกไม่สบำย ในที่นี้มำคู่
กับโทมนัสจึงหมำยเอำเฉพำะควำมรู้สึกทุกข์กำยหรือควำมรู้สึกไม่สบำยกำยอย่ำงเดียว
๓. โสมนัส หรือ โสมนัสสเวทนา ควำมรู้สึกสุขใจ หมำยถึงควำมรู้สึกสบำยใจ
๔. โทมนัส หรือ โทมนัสสเวทนา ควำมรู้สึกทุกข์ใจ หมำยถึงควำมรู้สึกเสียใจ
๕. อุเบกขา หรือ อุเปกขาเวทนา ควำมรู้สึกเฉยๆ หมำยถึงควำมที่จิตมีควำมรู้สึก
เป็นกลำงระหว่ำงสุขกับทุกข์ ไม่ดีใจไม่เสียใจ เป็นได้เฉพำะทำงใจ เพรำะอุเบกขำทำงกำย
ไม่มี แต่ควำมเฉยๆ แห่งกำย คือกำยเป็นปกติอยู่นั้น ท่ำนจัดว่ำเป็นสุขเวทนำ
เวทนำ ๕ อย่ำงนี้ ย่อมบังเกิดมีแก่บุคคล สัตว์ ทุกประเภท ในส่วนปุถุชน เมื่อเกิดขึ้น
แล้วย่อมทำให้จิตหวั่นไหวมำก หำกเป็นสุขกำยหรือสุขเวทนำก็จะตื่นเต้นยินดีมำก หำกเป็น
ทุกข์กำยหรือทุกขเวทนำก็จะดิ้นรนกระสับกระส่ำยมำก อุเบกขำเวทนำไม่สำมำรถดำรงมั่น
อยู่ในจิตได้ หรือได้ก็เป็นเพียงชั่วครู่เท่ำนั้น ซึ่งต่ำงจำกพระอริยบุคคล เมื่อกระทบกับเวทนำ
ส่วนใดก็มักไม่หวั่นไหวไปตำม จิตจะตั้งมั่นอยู่ในอุเบกขำเวทนำเป็นส่วนใหญ่ ในเวทนำ ๕ นี้
หำกสรุปลงเป็น ๓ คือ สุขเวทนำ ทุกขเวทนำ อุเบกขำเวทนำ คือ สุขกับโสมนัส จัดเป็นสุขเวทนำ
ทุกข์กับโทมนัส จัดเป็นทุกขเวทนำ ส่วนอุเบกขำเวทนำคงเดิม
ทานกถา กล่าวถึงทาน
สีลกถา กล่าวถึงศีล
สัคคกถา กล่าวถึงสวรรค์
กามาทีนวกถา กล่าวถึงโทษแห่งกาม
เนกขัมมานิสังสกถา กล่าวถึงอานิสงส์แห่งความออกจากกาม
อนุปุพพีกถา แปลว่ำ ถ้อยคำที่พรรณนำควำมโดยลำดับ หมำยถึง พระธรรมเทศนำ
ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงไปโดยลำดับเพื่อฟอกจิตของเวไนยสัตว์ผู้มีอุปนิสัยสำมำรถจะบรรลุ
ธรรมพิเศษ ให้หมดจดเป็นชั้นๆ จำกง่ำยไปหำยำก ซึ่งเป็นกำรเตรียมจิตของผู้ฟังให้พร้อมที่
จะรับฟังอริยสัจต่อไป มี ๕ อย่ำง
มัจฉริยะ ๕
อาวาสมัจฉริยะ ตระหนี่ที่อยู่
กุลมัจฉริยะ ตระหนี่สกุล
ลาภมัจฉริยะ ตระหนี่ลาภ
วัณณมัจฉริยะ ตระหนี่วรรณะ
ธัมมมัจฉริยะ ตระหนี่ธรรม
มัจฉริยะ แปลว่ำ ควำมตระหนี่ หมำยถึง ควำมหวงแหนกีดกันไม่ให้ผู้อื่นได้ดีหรือมี
ส่วนร่วม คือ ควำมไม่พอใจที่จะให้สิ่งของของตนแก่ผู้อื่นด้วยอำกำรที่หวงแหนเหนียวแน่น
โดยมีควำมโลภเป็นสมุฏฐำน
มาร ๕
ขันธมาร มารคือปัญจขันธ์
กิเลสมาร มารคือกิเลส
อภิสังขารมาร มารคืออภิสังขาร
มัจจุมาร มารคือมรณะ
เทวปุตตมาร มารคือเทวบุตร
มาร แปลว่ำ สภำพที่ทำให้ตำย หมำยถึง สิ่งที่ฆ่ำบุคคลให้ตำยจำกคุณควำมดีและ
ผลที่คำดหวัง หรือสิ่งที่ล้ำงผลำญคุณควำมดี ตัวกำรที่กำจัดขัดขวำงบุคคลมิให้บรรลุผลสำเร็จ
นิวรณ์ ๕
ธรรมอันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี เรียก นิวรณ์ มี ๕ อย่าง
๑. ความพอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจ มีรูป เป็นต้น เรียกกามฉันท์
๒. ปองร้ายผู้อื่น เรียกพยาบาท
๓. ความที่จิตหดหู่และเคลิบเคลิ้ม เรียกถีนมิทธะ
๔. ฟุ้งซ่านและรำคาญ เรียกอุทธัจจกุกกุจจะ
๕. ลังเลไม่ตกลงใจได้ เรียกวิจิกิจฉา
นิวรณ์ แปลว่ำ กิเลสหรืออกุศลธรรมที่ครอบงำจิต หรือปิดกั้นจิตไม่ให้บรรลุควำมดี
ไม่ให้ก้ำวขึ้นสู่ธรรมเบื้องสูงขึ้นไป ควำมดีในที่นี้ หมำยถึง สมำธิ ฌำน สมำบัติ เช่น ในกำร
เจริญสมถกัมมัฏฐำน หรือเจริญวิปัสสนำกัมมัฏฐำนก็ตำม หำกกิเลสเหล่ำนี้อย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง
เกิดขึ้นแล้วจะไม่สำมำรถเจริญกัมมัฏฐำนให้ก้ำวหน้ำได้
ขันธ์ ๕
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
กำยกับใจนี้ แบ่งออกเป็น ๕ กอง เรียกว่ำ ขันธ์ ๕ คือ
๑. รูป ๒. เวทนำ ๓. สัญญำ
๔. สังขำร ๕. วิญญำณ
ธำตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม ประชุมกันเป็นกำย นี้ เรียกว่ำ รูป
ควำมรู้สึกอำรมณ์ว่ำ เป็นสุข คือสบำยกำยสบำยใจ หรือเป็นทุกข์ คือไม่สบำยกำย
ไม่สบำยใจ หรือเฉยๆ คือไม่ทุกข์ไม่สุข เรียกว่ำ เวทนา
ควำมจำได้หมำยรู้ คือ จำรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อำรมณ์ที่เกิดกับใจได้
เรียกว่ำ สัญญา
เจตสิกธรรม คืออำรมณ์ที่เกิดกับใจ เป็นส่วนดีเรียกกุศล เป็นส่วนชั่วเรียกอกุศล
เป็นส่วนกลำงๆ ไม่ดีไม่ชั่วเรียกอัพยำกฤต เรียกว่ำ สังขาร
ควำมรู้อำรมณ์ ในเวลำที่รูปมำกระทบตำ เป็นต้น เรียกว่ำ วิญญาณ
ขันธ์ ๕ นี้ย่อลง เรียกว่ำ นามรูป เวทนำ สัญญำ สังขำร วิญญำณ รวมเข้ำเป็นนำม,
รูปคงเป็นรูป.
ขันธ์ แปลว่ำ กอง หมำยควำมว่ำ แบ่งกำยกับใจออกเป็น ๕ กอง ได้แก่ รูปขันธ์
เวทนำขันธ์ สัญญำขันธ์ สังขำรขันธ์ และวิญญำณขันธ์ ดังนี้
๑. รูปร่ำงกำยอันประกอบด้วยธำตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม รวมตัวกันเข้ำ เกิดใน
ครรภ์มำรดำ มีอวิชชำ ตัณหำ อุปำทำน กรรม และอำหำรเป็นเหตุ เป็น ๑ กอง เรียกว่ำ
รูปขันธ์ แปลว่ำ กองรูป,
๒. ส่วนใจ แบ่งออกเป็น ๔ กอง คือ
๑) เมื่ออำยตนะภำยในอำยตนะภำยนอก และวิญญำณ ๓ อย่ำง ประชุมกัน
ก็เกิดผัสสะ ผัสสะเป็นปัจจัยให้เกิดควำมสุขบ้ำง ควำมทุกข์บ้ำง กลำงๆ ไม่สุขไม่ทุกข์บ้ำง
เป็นเวทนำขันธ์ แปลว่ำ กองเวทนา
๒) ควำมจำได้หมำยรู้สิ่งที่มำกระทบทำงทวำรทั้ง ๖ ที่ล่วงมำแล้วแม้นำนได้
กล่ำวคือ เมื่อรูป เสียง เป็นต้น แม้ผ่ำนพ้นไปแล้ว และเวทนำดับไปแล้วก็ยังจำได้ ควำมจำ
ได้นี้ เป็นสัญญำขันธ์ แปลว่ำ กองสัญญา
๓) อำรมณ์ที่เกิดกับใจ ทั้งอิฏฐำรมณ์และอนิฏฐำรมณ์ ทั้งที่เป็นกุศลหรืออกุศล
หรือที่เป็นกลำงๆ กล่ำวคือ เมื่อจำได้ ก็คิดปรุงแต่งหรือปรุงแต่งควำมคิด ดีบ้ำง ชั่วบ้ำง ไม่ดี
ไม่ชั่วบ้ำง ควำมคิดปรุงแต่งจิตให้มีอำกำรต่ำงๆ นี้ เป็นสังขำรขันธ์ แปลว่ำ กองสังขาร
๔) ควำมรู้อำรมณ์ในรูปขันธ์ที่กรรมตกแต่งให้มีอำยตนะภำยใน ๖ คือ ตำ หู
จมูก ลิ้น กำย ใจ, เมื่ออำยตนะภำยนอกมีรูปกระทบตำ เสียงกระทบหู กลิ่นกระทบจมูก
รสกระทบลิ้น โผฏฐัพพะกระทบกำย อำรมณ์ต่ำงๆ กระทบใจ ก็เกิดควำมรู้ขึ้น เป็นวิญญำณขันธ์
แปลว่ำ กองวิญญาณ
ขันธ์ ๕ นี้ เป็นสภำวธรรม มีกำรเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ไม่ควรเข้ำไปยึดถือว่ำ เป็นเรำ
เป็นของเรำ เป็นตัวตน เพรำะตกอยู่ในไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ไม่เที่ยง ทุกขัง ทนได้ยำก หรือ
ไม่อยู่ในสภำพเดิม อนัตตา ไม่มีตัวตน ไม่อยู่ในบังคับบัญชำของใคร สรุปเรียกว่ำ กาย ใจ,หรือ รูป นาม ก็ได้
เวทนา ๕
สุข ทุกข์ โสมนัส โทมนัส อุเบกขา
เวทนา แปลว่ำ ควำมเสวยอำรมณ์ หมำยถึง ภำวะจิตที่เกิดควำมรู้สึก เมื่อรับอำรมณ์
ต่ำงๆ จำแนกโดยรวมทั้งกำยและจิตไว้ ๕ ประกำร คือ
๑. สุข หรือ สุขเวทนา ควำมรู้สึกสุข หมำยถึง ควำมรู้สึกสบำย ในที่นี้ มำคู่กับ
โสมนัส จึงหมำยเอำเฉพำะควำมรู้สึกสุขทำงกำย หรือควำมรู้สึกสบำยกำยอย่ำงเดียว
๒. ทุกข์ หรือ ทุกขเวทนา ควำมรู้สึกทุกข์ หมำยถึง ควำมรู้สึกไม่สบำย ในที่นี้มำคู่
กับโทมนัสจึงหมำยเอำเฉพำะควำมรู้สึกทุกข์กำยหรือควำมรู้สึกไม่สบำยกำยอย่ำงเดียว
๓. โสมนัส หรือ โสมนัสสเวทนา ควำมรู้สึกสุขใจ หมำยถึงควำมรู้สึกสบำยใจ
๔. โทมนัส หรือ โทมนัสสเวทนา ควำมรู้สึกทุกข์ใจ หมำยถึงควำมรู้สึกเสียใจ
๕. อุเบกขา หรือ อุเปกขาเวทนา ควำมรู้สึกเฉยๆ หมำยถึงควำมที่จิตมีควำมรู้สึก
เป็นกลำงระหว่ำงสุขกับทุกข์ ไม่ดีใจไม่เสียใจ เป็นได้เฉพำะทำงใจ เพรำะอุเบกขำทำงกำย
ไม่มี แต่ควำมเฉยๆ แห่งกำย คือกำยเป็นปกติอยู่นั้น ท่ำนจัดว่ำเป็นสุขเวทนำ
เวทนำ ๕ อย่ำงนี้ ย่อมบังเกิดมีแก่บุคคล สัตว์ ทุกประเภท ในส่วนปุถุชน เมื่อเกิดขึ้น
แล้วย่อมทำให้จิตหวั่นไหวมำก หำกเป็นสุขกำยหรือสุขเวทนำก็จะตื่นเต้นยินดีมำก หำกเป็น
ทุกข์กำยหรือทุกขเวทนำก็จะดิ้นรนกระสับกระส่ำยมำก อุเบกขำเวทนำไม่สำมำรถดำรงมั่น
อยู่ในจิตได้ หรือได้ก็เป็นเพียงชั่วครู่เท่ำนั้น ซึ่งต่ำงจำกพระอริยบุคคล เมื่อกระทบกับเวทนำ
ส่วนใดก็มักไม่หวั่นไหวไปตำม จิตจะตั้งมั่นอยู่ในอุเบกขำเวทนำเป็นส่วนใหญ่ ในเวทนำ ๕ นี้
หำกสรุปลงเป็น ๓ คือ สุขเวทนำ ทุกขเวทนำ อุเบกขำเวทนำ คือ สุขกับโสมนัส จัดเป็นสุขเวทนำ
ทุกข์กับโทมนัส จัดเป็นทุกขเวทนำ ส่วนอุเบกขำเวทนำคงเดิม
หมวด ๔ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท
อปัสเสนธรรม ๔
พิจารณาแล้วเสพของอย่างหนึ่ง
พิจารณาแล้วอดกลั้นของอย่างหนึ่ง
พิจารณาแล้วเว้นของอย่างหนึ่ง
พิจารณาแล้วบรรเทาของอย่างหนึ่ง
อปัสเสนธรรม แปลว่ำ ธรรมดุจพนักพิง หมำยถึงธรรมเป็นที่อิงหรือพึ่งอำศัย
ของผู้มีปัญญำที่รู้จักพิจำรณำปฏิบัติต่อสิ่งต่ำงๆ ให้ถูกต้อง เพื่อไม่ให้เกิดทุกข์โทษแก่ตน เป็น
ทำงป้องกันไม่ให้อกุศลเกิดขึ้น และให้กุศลเจริญยิ่งขึ้น
อัปปมัญญา ๔
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
อัปปมัญญา แปลว่ำ ภำวะจิตที่แผ่ไปโดยไม่มีประมำณ หมำยถึง กำรแผ่คุณธรรม คือ
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ไปในหมู่มนุษย์และสัตว์หำประมำณมิได้ คือไม่จำกัดขอบเขต
แต่ถ้ำแผ่ไปโดยเจำะจงตัวบุคคล หรือโดยไม่เจำะจงตัวบุคคลแต่ยังมุ่งจำกัดเอำหมู่คนหรือสัตว์
เรียกว่ำ พรหมวิหาร แปลว่ำ ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพรหม หรือธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่ำง
ประเสริฐ หมำยถึง พรหมโดยสมมติ คือ ท่ำนผู้เป็นใหญ่
พระอริยบุคคล ๔
๑. พระโสดาบัน
๒. พระสกทาคามี
๓. พระอนาคามี
๔. พระอรหันต์
อริยบุคคล แปลว่ำ บุคคลผู้ประเสริฐ หมำยถึง บุคคลผู้ได้บรรลุอริยผลอันเป็น
โลกุตระ จึงจัดเป็นผู้ประเสริฐในพระพุทธศำสนำ เพรำะสำมำรถละสังโยชน์กิเลสได้เด็ดขำด
ตำมภูมิธรรมของตน
สัมปรายิกัตถประโยชน์ คือประโยชน์ภายหน้า ๔
๑. สัทธาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศรัทธา คือเชื่อสิ่งที่ควรเชื่อ เช่นเชื่อว่า
ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นต้น
๒. สีลสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศีล คือรักษากายวาจาเรียบร้อยดี ไม่มีโทษ
๓. จาคสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการบริจาคทานเป็นการเฉลี่ยสุขให้แก่ผู้อื่น
๔. ปัญญาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยปัญญา รู้จักบาปบุญ คุณโทษ
ประโยชน์ มิใช่ประโยชน์ เป็นต้น
สัมปรายิกัตถประโยชน์ แปลว่ำ ประโยชน์ในภำยหน้ำหรือประโยชน์ในภพหน้ำ
ชำติหน้ำ หมำยถึง คุณธรรมที่เป็นเหตุให้มีควำมสุขในภพหน้ำ
มรรค ๔
โสดาปัตติมรรค
สกทาคามิมรรค
อนาคามิมรรค
อรหัตตมรรค
มรรค แปลว่ำ ทำง หมำยถึง ทำงเข้ำถึงควำมเป็นพระอริยบุคคล ได้แก่ ญำณคือ
ควำมรู้ที่เป็นเหตุให้ผู้ปฏิบัติสำมำรถละสังโยชน์ได้เด็ดขำดเป็นชั้น ๆ
ผล ๔
โสดาปัตติผล
สกทาคามิผล
อนาคามิผล
อรหัตตผล
ผล เป็นธรรมำรมณ์สืบเนื่องมำจำกมรรค เป็นผลที่เกิดจำกกำรละกิเลสได้ด้วยมรรค
หรือธรรมำรมณ์อันพระอริยบุคคลพึงเสวยเป็นชื่อของโลกุตรธรรมที่ใช้คู่กับมรรค
พิจารณาแล้วเสพของอย่างหนึ่ง
พิจารณาแล้วอดกลั้นของอย่างหนึ่ง
พิจารณาแล้วเว้นของอย่างหนึ่ง
พิจารณาแล้วบรรเทาของอย่างหนึ่ง
อปัสเสนธรรม แปลว่ำ ธรรมดุจพนักพิง หมำยถึงธรรมเป็นที่อิงหรือพึ่งอำศัย
ของผู้มีปัญญำที่รู้จักพิจำรณำปฏิบัติต่อสิ่งต่ำงๆ ให้ถูกต้อง เพื่อไม่ให้เกิดทุกข์โทษแก่ตน เป็น
ทำงป้องกันไม่ให้อกุศลเกิดขึ้น และให้กุศลเจริญยิ่งขึ้น
อัปปมัญญา ๔
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
อัปปมัญญา แปลว่ำ ภำวะจิตที่แผ่ไปโดยไม่มีประมำณ หมำยถึง กำรแผ่คุณธรรม คือ
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ไปในหมู่มนุษย์และสัตว์หำประมำณมิได้ คือไม่จำกัดขอบเขต
แต่ถ้ำแผ่ไปโดยเจำะจงตัวบุคคล หรือโดยไม่เจำะจงตัวบุคคลแต่ยังมุ่งจำกัดเอำหมู่คนหรือสัตว์
เรียกว่ำ พรหมวิหาร แปลว่ำ ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพรหม หรือธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่ำง
ประเสริฐ หมำยถึง พรหมโดยสมมติ คือ ท่ำนผู้เป็นใหญ่
พระอริยบุคคล ๔
๑. พระโสดาบัน
๒. พระสกทาคามี
๓. พระอนาคามี
๔. พระอรหันต์
อริยบุคคล แปลว่ำ บุคคลผู้ประเสริฐ หมำยถึง บุคคลผู้ได้บรรลุอริยผลอันเป็น
โลกุตระ จึงจัดเป็นผู้ประเสริฐในพระพุทธศำสนำ เพรำะสำมำรถละสังโยชน์กิเลสได้เด็ดขำด
ตำมภูมิธรรมของตน
สัมปรายิกัตถประโยชน์ คือประโยชน์ภายหน้า ๔
๑. สัทธาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศรัทธา คือเชื่อสิ่งที่ควรเชื่อ เช่นเชื่อว่า
ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นต้น
๒. สีลสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศีล คือรักษากายวาจาเรียบร้อยดี ไม่มีโทษ
๓. จาคสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการบริจาคทานเป็นการเฉลี่ยสุขให้แก่ผู้อื่น
๔. ปัญญาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยปัญญา รู้จักบาปบุญ คุณโทษ
ประโยชน์ มิใช่ประโยชน์ เป็นต้น
สัมปรายิกัตถประโยชน์ แปลว่ำ ประโยชน์ในภำยหน้ำหรือประโยชน์ในภพหน้ำ
ชำติหน้ำ หมำยถึง คุณธรรมที่เป็นเหตุให้มีควำมสุขในภพหน้ำ
มรรค ๔
โสดาปัตติมรรค
สกทาคามิมรรค
อนาคามิมรรค
อรหัตตมรรค
มรรค แปลว่ำ ทำง หมำยถึง ทำงเข้ำถึงควำมเป็นพระอริยบุคคล ได้แก่ ญำณคือ
ควำมรู้ที่เป็นเหตุให้ผู้ปฏิบัติสำมำรถละสังโยชน์ได้เด็ดขำดเป็นชั้น ๆ
ผล ๔
โสดาปัตติผล
สกทาคามิผล
อนาคามิผล
อรหัตตผล
ผล เป็นธรรมำรมณ์สืบเนื่องมำจำกมรรค เป็นผลที่เกิดจำกกำรละกิเลสได้ด้วยมรรค
หรือธรรมำรมณ์อันพระอริยบุคคลพึงเสวยเป็นชื่อของโลกุตรธรรมที่ใช้คู่กับมรรค
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)