กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นโท
กระทู้ธรรมที่ออกข้อสอบแต่ละปี
ปี พ.ศ. |
ภาษิต |
หมวด |
2564 |
อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม. ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงท าตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ได้ยินว่าตนแลฝึกยาก (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๖ |
ตน |
2563 |
อคฺคทายี วรทายี เสฎฺ ฐทายี จ โย นโร ทีฆายุ ยสวา โหติ ยตฺถ ยตฺถูปปชฺชติ. ผู้ให้สิ่งที่เลศิ ให้สิ่งที่ดี ให้สิ่งที่ประเสริฐ ย่อมเป็นผู้มีอายุยืน มียศในภพที่ตนเกิด. (พุทฺธ) องฺ. ปญฺจก. ๒๒/๕๖. |
ทาน |
2562 |
มธุวา มญฺญตี พาโล ยาว ปาปํ น ปจฺจติ, ยทา จ ปจฺจตี ปาปํ อถ ทุกขํ นิคจฺฉติ. ตราบเท่าที่บาปยังไม่ให้ผล คนเขลายังเข้าใจว่ามีรสหวาน แต่บาปให้ผลเมื่อใด คนเขลาย่อมประสบทุกข์เมื่อนั้น. (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๔. |
บุคคล |
2561 |
อาทิ สีลํ ปติฏฺ า จ กลฺยาณานญฺจ มาตุกํ ปมุขํ สพฺพธมฺมานํ ตสฺมา สีลํ วิโสธเย. |
ศีล |
|
ศีลเป็นที่พึ่งเบื้องต้น เป็นมารดาของกัลยาณธรรมทั้งหลาย เป็นประมุขของธรรมทั้งปวง เพราะฉะนั้น ควรช าระศีลให้บริสุทธิ์. (สีลวตฺเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๘. |
|
2560 |
เอโกปิ สทฺโธ เมธาวี อสฺสทฺธานํ ญาตินํ ธมฺมฏฺ โฐ สีลสมปฺ
นฺโน โหติ อตฺถาย พนฺธุนํ. ผู้มีศรัทธา มีปัญญา ตั้งในธรรม ถึงพร้อมด้วยศีล แม้คนเดยว ย่อมเป็นประโยชน์แก่ญาติและพวกพ้องผู้ไม่มีศรัทธา. (ปสฺสิกเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๐๖. |
ศรัทธา |
2559 |
อจฺจยนฺติ อโหรตฺตา ชีวิตํ อุปรุชฺฌติ อายุ ขีวติ มจฺจานํ กุนฺนทีนํว โอทกํ. วันคืนย่อมล่วงไป ชีวิตย่อมหมดเข้าไป อายุของสัตว์ย่อมสิ้นไป เหมือนน ้าแห่งแม่น ้าน้อย ๆ ฉะนั้น (พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๑๕๙ ขุ. มหา. ๒๙/๑๔๔ |
ความตาย |
2558 |
อวณณฺ ญฺจ อกิตฺติญฺจ ทุสฺสีโล ลภเต นโร วณฺณํ กิตฺตึ ปสํสญฺจ สทา ลภติ สีลวา. คนผู้ทุศีล ย่อมได้รับความติเตียน และความเสยชื่อเสียง ส่วนผู้มีศีล ย่อมได้รับชื่อเสียง และความยกย่อง สรรเสริญทุกเมื่อ. (สีลวตฺเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๗. |
ศีล |
2557 |
โย จ วสฺสสตํ ชีเว ทุปฺปญฺโญ อสมาหิโต เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย ปญฺญวนฺตสฺส ฌายิโน. |
ปัญญา |
|
ผู้ใดมีปัญญาทราม มีใจไม่มั่นคง พงึ เป็นอยู่ตั้งร้อยปี, ส่วนผู้มีปัญญาเพ่งพินิจ มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ดีกว่า. (พุทฺธ) ขุ.ธ. ๒๕/๒๙. |
|
2556 |
มธุวา มญฺญตี พาโล ยาว ปาปํ น ปจฺจติ, ยทา จ ปจฺจตี ปาปํ อถ ทุกขํ นิคจฺฉติ ตราบเท่าที่บาปยังไม่ให้ผล คนเขลายังเข้าใจว่ามีรสหวาน, แต่บาปให้ผลเมื่อใด คนเขลาย่อมประสบทุกข์เมื่อนั้น. (พุทฺธ) ขุ.ธ. ๒๕/๒๔. |
บุคคล |
2555 |
อุทพนิ ฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ อาปูรติ พาโล ปาปสฺส โถกํ โถกํปิ อาจินํ. แม้หม้อน˚้ายังเตมด้วยหยาดน˚้าฉันใด คนเขลาสั่งสมบาป แม้ทีละน้อย ก็เต็มด้วยบาปฉันนน. (พุทฺธ) ขุ.ธ. ๒๕/๓๑. |
บาป |
2554 |
อคฺคสฺมึ ทานํ ททตํ อคฺคํ ปุญฺญํ ปวฑฺฒติ อคฺคํ อายุ จ
วณฺโณ จ ยโส กิตฺติ สุขํ พลํ. เมื่อให้ทานในวัตถุอันเลิศ บุญอันเลิศ อายุวรรณะยศเกียรตสิ ุขและ ก˚าลังอันเลิศ ก็เจริญ. (พุทฺธ) ขุ. อิติ. ๒๕/๒๙๙ |
ทาน |
2553 |
กลฺยาณิเมว มุญฺเจยฺย น หิ มุญฺเจยฺย ปาปิ กํ |
วาจา |
|
โมกฺโข กลฺยาณิยา สาธุ มุตฺวา ตปฺปติ
ปาปิ
กํ.
พึงเปล่งวาจางามเท่านั้น ไม่พึงเปล่งวาจาชั่วเลย การเปล่งวาจางาม ยังประโยชน์ให้ส˚าเรจ็ คนเปล่งวาจาชั่วย่อมเดือดร้อน. (พุทฺธ) ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๒๘ |
|
2552 |
อวณณฺ ญฺจ อกิตฺติญฺจ ทุสฺสีโล ลภเต
นโร วณฺณํ กิตฺตึ ปสํสญฺจ สทา ลภติ สีลวา. คนผู้ทุศีล ย่อมได้รับความติเตียนและความเสยชื่อเสียง ส่วนผู้มีศีล ย่อมได้รับชื่อเสียงและความยกย่องสรรเสริญทุกเมื่อ. (สีลวตฺเถร) ขุ.เถร. ๒๖/๓๕๗. |
ศีล |
2551 |
ขนฺติโก เมตฺตวา ลาภี ยสสฺสี สุขสีลวา ปิ โย เทวมนุสฺสานํ มนาโป โหติ ขนฺติโก. ผู้มีขันตินับว่ามีเมตตา มีลาภ มียศ และมีสุขเสมอ, ผู้มีขันติเป็นที่รัก ที่ชอบใจของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย. ส.ม. ๒๒๒. |
อดทน |
2550 |
สีลสมาธิคุณานํ ขนฺติ ปธานการณํ สพฺเพปิ
กุสลา ธมฺมา ขนฺตฺยาเยว วฑฺฒนฺติ เต ฯ ขันติเป็นประธาน เป็นเหตุแห่งคุณคือศีลและสมาธิ กุศลธรรมทั้งปวงย่อมเจริญเพราะขันติเท่านั้น ฯ ส. ม. ๒๒๒ |
อดทน |
2549 |
อถ ปาปานิ กมฺมานิ กรํ พาโล น พุชฺฌติ เสหิ กมฺเมหิ ทุมฺเมโธ อคฺคิทฑฺโฒว ตปฺปติ. เมื่อคนโง่มีปัญญาทราม ท˚ากรรมชั่วอยู่ก็ไม่รู้สึก เขาเดือดร้อนเพราะกรรมของตน เหมือนถูกไฟไหม้. (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๓. |
กรรม |
2548 |
ยมฺหิ กิจฺจํ ตทปวิทฺธํ อกิจฺจํ ปน กยีรติ อุนฺนฬานํ ปมตฺตานํ เตสํ วฑฺฒนฺติ อาสวา. คนทอดทิ้งกิจที่ควรท˚า ไปท˚ากิจที่ไม่ควรท˚า เมื่อเขา ถือตัว มัวประมาท อาสวะย่อมเจริญ. (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๕๔. |
ประมาท |
2547 |
ยาทิสํ
วปเต พชี
ํ ตาทิสํ
ลภเต ผลํ กลฺยาณการี
กลฺยาณํ ปาปการี
จ ปาปกํ. บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้รับผลเช่นนั้น ผู้ท˚ากรรมดี ย่อมได้รับผลดี ผู้ท˚ากรรมชั่ว ย่อมได้รับผลชั่ว. (พุทธ) สํ.ส. ๑๕/๓๓๓. |
กรรม |
2546 |
พฺรหฺมาติ มาตาปิ ตโร ปุพฺพาจริยาติ วุจฺจเร อาหุเนยฺยา จ ปุตตานํ ปชาย อนุกมฺปกา. มารดาบิดา ท่านว่าเป็นพรหม เป็นบุรพาจารย์ เป็นที่นับถือของบุตร และเป็นผู้อนุเคราะห์บุตร. |
บุคคล |
|
(โสณโพธิสตตฺ ) ขุ.ชา.สตฺตติ.
๒๗/๖๖. |
|
2545 |
อุฏฺ ฐานวโต สติมโต สุจิกมฺมสฺส นิสมฺมการิโน สญฺญตสฺส
จ ธมฺมชีวิโน อปฺปมตฺตสฺส ยโสภิวฑฺฒติ. ยศย่อมเจริญ แก่ผู้มีความหมั่น มีสติ มีการงานสะอาด ใคร่ครวญแล้วท˚า ระวังดีแล้ว เป็นอยู่โดยธรรม และไม่ประมาท. (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๑๘. |
ไม่ประมาท |
2544 |
พหุมฺปิ เจ สํหิตภาสมาโน น ตกฺกโร โหติ นโร ปมตฺโต โคโปว คาโว คณยํ ปเรสํ น ภาควา สามญฺญสฺส โหติ. หากกล่าวพุทธพจน์ได้มาก แต่เป็นคนประมาท ไม่ท˚าตามพุทธพจน์นั้น ก็ไม่มีส่วนแห่งสามัญผล เหมือนคนเลี้ยงโค คอยนับโคให้ผอื่นฉะนั้น. ขุ. อิติ. ๒๕/๒๔๒. |
ประมาท |
2543 |
โย จ วสฺสสตํ ชีเว ทุปฺปญฺโญ อสมาหิโต เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย ปญฺญวนฺตสฺส ฌายิโน. ผู้ใดมีปัญญาทราม มีใจไม่มั่นคง
พึงเป็นอยู่ตั้งร้อยปี, ส่วนผู้มีปัญญาเพ่งพินิจ
มีชีวิตอยู่สิ้นวันเดยว
ดีกว่า. ขุ.ธ. ๒๕/๒๙ |
ปัญญา |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น