ความเป็นมาของการปวารณา
เมื่อพระพุทธเจ้าประทับจาพรรษา ณ พระเชตวันมหาวิหาร เมืองสาวัตถี มีพระภิกษุ
กลุ่มหนึ่งแยกย้ายกันจาพรรษา ณ อารามรอบ ๆ พระนคร พระภิกษุเหล่านั้นมีความคิดว่า
เพื่อไม่ให้เกิดการทะเลาะวิวาทขึ้นระหว่างกัน สมควรจะปฏิบัติมูควัตร คือ การตั้งปฏิญาณ
ไม่พูดจากันตลอดพรรษา เมื่อออกพรรษาแล้ว พระภิกษุเหล่านั้นพากันไปเฝ้าพระพุทธเจ้าที่
พระเชตวันมหาวิหาร กราบทูลเรื่องการปฏิบัติมูควัตรให้ทรงทราบ พระพุทธเจ้าทรงตาหนิว่า
เป็นการอยู่ร่วมกันเหมือนปศุสัตว์ แล้วทรงอนุญาตให้พระภิกษุสงฆ์ทาปวารณาต่อกันว่า
ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุทั้งหลายผู้จาพรรษาแล้ว ปวารณาต่อกันใน ๓ ฐานะ คือ
ด้วยการได้เห็น ด้วยการได้ยิน หรือด้วยการรังเกียจสงสัย ดังนั้น วันออกพรรษา จึงได้ชื่ออีก
อย่างหนึ่งว่า วันปวารณา
หนังสือนักธรรมชั้นตรี,นักธรรมตรีpdf,นักธรรมตรี,สรุปนักธรรมตรี,ข้อสอบนักธรรมตรี,เก็งข้อสอบนักธรรมตรี
- หน้าแรก
- พุทธประวัติ
- ธรรมวิภาค
- เบญจศีล-เบญจธรรม
- แบบกระทู้ธรรมชั้นตรี
- แบบกระทู้ธรรมชั้นโท
- แบบกระทู้ธรรมชั้นเอก
- หมวด พุทธศาสนสุภาษิต
- อนุพุทธประวัติชั้นโท
- ดาวโหลดหนังสือธรรมศึกษาชั้นตรี โท เอก
- Download ข้อสอบนักธรรมและธรรมศึกษา ปี 2559-2563
- ประวัตินักธรรม-ธรรมศึกษา โดยสังเขป
- ขอบข่ายการเรียนการสอนธรรมศึกษา 2561
- ขอบข่ายธรรมศึกษา ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป
- ข้อสอบนักธรรมตรี-โท-เอก[ย้อนหลัง]
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น