วันพฤหัสบดีที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

สรุปนักธรรมชั้นเอก หน้าที่ 6/10

 










พระอัครสาวก (พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ)

(ปี 64, 58) พระพุทธองค์ทรงสรรเสรญพระสาวกองค์ใดว่า " ไม่ทําศรัทธาและโภคทรัพย์ของตระกูลให้เสีย " ? และทรงอุปมาเปรยบเทียบว่า อย่างไร ? ตอบ ทรงสรรเสริญพระโมคคัลลานะ ว่า ประ👉นึ่งแมลงผึ้งอันเที่ยวไปในสวนดอกไม้ ไม่ทําสีและกลิ่นของดอกไม้ใ👉้ชํ้า ถือเอาแต่รส บินไป ฉะนั้น

(ปี 63, 60, 43) พระอัสสชิแสดงธรรมแก่อุปติสสปริพาชกมีความว่าอย่างไร? และมผลอย่างไร?

ตอบ       มีความว่า ธรรมใดเกิดแต่เหตุ พระศาสดาทรงแสดงเหตุของธรรมนั้นและความดับแห่งธรรมนั้น พระศาสดาทรงสอนอย่างนี้ ฯ มีผล คือ อุปติสสปริพาชกไดดวงตาเห็นธรรมว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้น เป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดมีความดับเป็นธรรมดา

(ปี 60, 53) พระสารบุตรนิพพานที่ไหน ? ท่านเลือกสถานที่นั้นเพราะเหตุไร ?

ตอบ ที่นาลันทคาม แคว้นมคธ เพราะตั้งใจจะโปรดนางสารีพราหมณีผู้เป็นมารดาของท่าน ให้พ้นจากมิจฉาทิฏฐิก่อนที่ท่านจะนิพพาน

(ปี 57) การที่พระสารบุตรมีชื่อเสยงว่าเป็นผู้กตัญญูกตเวทีนั้น มีหลกฐานอะไรเป็นตัวอย่าง จงแสดงมาสัก เรื่อง?

ตอบ เรื่องที่ ท่านได้ฟังคําสอนจากพระอัสสชิโดยย่อจนได้ดวงตาเห็นธรรม เมื่อทราบว่า พระอัสสชิอยู่ทางทิศใด เวลาจะนอนก็หันศีรษะไปทาง ทิศนั้นด้วยความเคารพ


เรื่องที่ ท่านระลึกถึงอุปการะที่รับบิณฑบาตจากราธพราหมณ์เพียง ทัพพี จึงรับเป็นภาระในการจด

(ปี 55) พระอัสสชิเถระแสดงธรรมโดยย่อแก่อุปติสสปริพาชก ความว่าอย่างไร? และได้ผลอย่างไร?


การอุปสมบทตามความประสงค์


ตอบ มีความว่า ธรรมใดเกิดแต่เหตุ พระศาสดาทรงแสดงเหตุของธรรมนั้นและความดับแห่งธรรมนั้น พระศาสดาทรงสั่งสอนอย่างนี้ ฯ อุปติสสปริพาชกได้ฟังแล้ว ได้ธรรมจักษุ ดวงตาเห็นธรรม

(ปี 54) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องพระอัครสาวกทั้ง ว่าเป็นผมีปัญญาอนุเคราะห์สพรหมจารีทั้งหลาย มีอุปมาต่างกันอย่างไร?


ตอบ มีอุปมาต่างกันอย่างนี้ พระสารีบุตรเถระเปรียบเหมือนมารดาผให้บุตรเกิด ย่อมแนะนําให้กุลบุตรตั้งอยู่ในโสดาปัตตผ เถระเปรียบเหมือนนางนมผเลยงทารกผู้เกิดแล้วนั้น ย่อมแนะนําให้กุลบุตรตั้งอยู่ในคุณเบื้องสูงกว่านั้น


พระมหาโมคคัลลาน


(ปี 52) พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญพระเถระรูปใดเปรียบด้วยแมลงผึ้งตัวเที่ยวไปในสวนดอกไม้ ไม่ทําสีและกลิ่นของดอกไม้ให้ชํ้า ถือเอาแต่รสบิน ไป? และทรงสรรเสริญไว้อย่างไร?

ตอบ ทรงสรรเสริญพระมหาโมคคัลลานะ ทรงสรรเสริญไว้ว่า ท่านไม่ทําศรัทธาและโภคทรัพย์ของตระกูลที่เข้าไปหาให้เสีย

(ปี 51) มีภาษิตอยู่บทหนึ่งว่า สัตบุรุษตั้งมั่นแล้วในสัจจะที่เป็นอรรถเป็นธรรม ดังนี้ ข้อนี้ มีปฏิปทาของพระสาวกรูปใด ที่ให้สญญาต่อกันไว้แล้ว ปฏิบัติตามสญญานั้น เป็นตัวอย่าง? จงเล่าเรื่องประกอบ

ตอบ มีปฏิปทาของพระสารีบุตร เป็นตัวอย่าง เรื่องมีอยู่ว่า เมื่อครั้งที่ท่านและพระโมคคัลลานะยังไม่ได้อุปสมบท เคยให้สัญญากันว่า ใครได้ โมกขธรรมก่อน จะบอกแก่กัน ต่อมาท่านพระสารีบุตรได้ฟังอริยสัจจกถาแต่สํานักพระอัสสชิแล้ว ไดดวงตาเห็นธรรม จึงนําข้อความนั้นไปบอกแก่ พระโมคคัลลานะ จนได้บรรลุธรรมเช่นเดียวกัน

(ปี 50) ใครเป็นผู้ถามพระปุณณมันตานีบุตรว่า ข้าพเจ้าถามท่านว่า ท่านประพฤติพรหมจรรย์เพื่ออย่างนั้นหรือ ท่านก็ตอบว่า ไม่อย่างนั้น เมื่อ เป็นอย่างนี้ ท่านประพฤติพรหมจรรย์เพื่ออะไรเล่า? และได้รับคําตอบว่าอย่างไร?

ตอบ พระสารีบุตรเป็นผู้ถาม ได้รับคําตอบว่า เราประพฤติพรหมจรรย์เพื่อความดับไม่มเชื้อ

(ปี 48) พระพุทธดํารัสว่า เราสรรเสริญความคลุกคลีด้วยประการทั้งปวงหามิได้ แต่เรามิใช่ไม่สรรเสริญความคลุกคลีด้วยประการทั้งปวงเลย

ตรัสแก่ใคร? ทรงหมายความว่าอย่างไร? ตอบ ตรสแก่พระมหาโมคคัลลานเถระ ทรงหมายความว่า พระองค์ไม่ทรงสรรเสริญความคลกคลีด้วย

หมู่คณะ แต่ทรงสรรเสริญความคลุกคลีด้วยเสนาสนะอันสงัด

(ปี 47) ข้อความว่า เราจักไม่พูดคําซึ่งเป็นเหตุเถียงกัน ถือผิดต่อกัน พระศาสดาทรงแนะนําใคร? เพราะทรงเห็นโทษอย่างไร?


ตอบ ทรงแนะนําพระมหาโมคคัลลานะ เพราะว่า เมื่อคําซึ่งเป็นเหตุเถียงกันถือผิดต่อกันมีขึ้น ก็จําต้องหวังความพูดมาก เมื่อความพูดมากมีขึ้นก็ จะเกิดความคิดฟุ้งซ่าน ครั้นคิดฟุ้งซ่านแล้วก็จะเกิดความไม่สํารวม ครั้นไม่สํารวมแล้วจิตก็จะห่างจากสมาธิ

(ปี 46) อุปติสสปริพาชก เมื่อได้ฟังธรรมโดยย่อจากพระอัสสชิเถระแล้ว มีความเข้าใจในเนื้อความแห่งธรรมนั้นว่าอย่างไร? ครั้งพุทธกาล กุลบุตรผู้ มีศรัทธาเลื่อมใสในพระศาสนาขออนุญาตบวชจากมารดาบิดา เมื่อไม่ได้รับอนุญาตก็เสียใจ จึงทําการประท้วง กุลบุตร ผู้นั้นคือใคร? ประท้วงด้วย วิธีใด? ตอบ ว่าอย่างนี้คือ ธรรมทั้งปวงเกิดแต่เหตุ และจะสงบระงบไป เพราะเหตุดับก่อน พระศาสดาทรงสั่งสอนให้ปฏิบัติ เพื่อสงบระงับเหตุ

แห่งธรรมเป็นเครื่องก่อให้เกิดทุกข์ กุลบุตรผู้นั้น คือพระรัฐบาล ประท้วงด้วยวิธีนอนไมลุกขึ้น และอดอาหาร

(ปี 44) คําว่า " บัวไม่ให้ชํ้า นํ้าไม้ให้ขุ่น " เปรียบด้วยปฏิปทาจริยาวัตรข้อใดของพระโมคคัลลานะ? เจ้าศากยะได้ทูลขอพระศาสดาให้บวชอุบาลี ภูษามาลาก่อน เพราะเห็นประโยชน์อันใด?

ตอบ ข้อที่ท่านเป็นผู้ฉลาดในการแนะนําตระกูลที่ยังไม่เลื่อมใสให้เลอมใส ไม่ทําศรัทธาและโภคทรัพย์ของเขาให้เสีย เปรยบเหมือนแมลงผึ้งบินเที่ยว ไปในสวนดอกไม้ ไม่ทําสีและกลิ่นของดอกไม้ให้ชํ้า ถือเอาแต่รสบินไปฉะนั้น

เพราะเห็นประโยชน์ว่า จักได้ทําการกราบไหว้ ลุกรับ ประณมมือ และทํากิจที่สมควรอื่น แก่พระอุบาลีซึ่งเดิมเป็นคนรับใช้ เมื่อเป็นเช่นนี้จักละ มานะความถือตัวได้ ฯ

(ปี 43) พระอัครสาวก รูปมีชื่อเรียกอะไรบ้าง? เหตุไรจึงเรียกอย่างนั้น?

ตอบ มีชื่อเรียก อุปติสสะ หรือสารีบุตร เรียก โกลิตะ หรือ โมคคัลลานะ ที่เรยกว่า อุปติสสะ เพราะเรียกตามโคตร ที่เรยกว่า สารีบุตร เพราะ เป็นบุตรของ นางสารีพราหมณี ส่วนที่เรียกว่า โกลิตะ เพราะเรียกตามโคตร ที่เรียกว่า โมคคัลลานะ เพราะเป็นบุตรของนางโมคคัลลานีพราหมณีฯ (ปี 43) ปัญหาว่า พระขีณาสพตายแล้วเป็นอะไร ใครถามใคร? มีคําตอบอย่างไร? พระศาสดาทรงพยากรณ์ปัญหาจบลงแล้ว มีผลอะไรเกิดแก่ มาณพ ๑๖ คน? ตอบ พระสารีบุตรถามพระยมกะ มีคําตอบว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณที่ไม่เที่ยง ดับไปแล้ว

มีผลคือ มาณพ ๑๕ คน เว้นปิงคิยมาณพ ส่งใจไปตามธรรมเทศนา มีจิตพ้นจากอาสวะไม่ถือมั่นด้วยอุปาทาน ส่วนปิงคิยมาณพเป็นแต่ได้ญาณเห็น ในธรรม ฯ

 

พระปุณณมันตานีบุตร

(ปี 62, 43) "ท่านประพฤติพรหมจรรยเพื่ออะไร" ใครเป็นผู้ถาม ใครเป็นผตอบ? และตอบว่าอย่างไร?

ตอบ พระสารีบุตรเป็นผู้ถาม พระปุณณมันตานีบุตรเป็นผู้ตอบ และตอบว่า เราประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความดับไม่มเชื้อ

(ปี 60, 43) พระปุณณมันตานีบุตรเป็นชาวเมืองไหน? ตั้งอยู่ในคุณธรรม อะไรบ้าง?

ตอบ เป็นชาวเมืองกบิลพัสดุ์ ตั้งอยู่ในคุณธรรม ๑๐ ประการ คือ มักน้อย สันโดษ ชอบสงัด ไม่ชอบเกี่ยวข้องด้วยหมู่ ปรารภความเพียร บริบูรณ ด้วยศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ ความรู้เห็นในวิมุตติ

 

เสด็จโปรดพระญาต

·        ทรงแสดงสุจริตธรรมโปรดพระเจ้าสุทโธทนะ และพระนางมหาปชาบดีโคตมี ทําให้ทั้ง พระองค์ได้บรรลโสดาปัตติผล

(ปี 60, 52) พระพุทธองค์ทรงแสดงสุจริตธรรมโปรดพระเจ้าสุทโธทนะ และพระนางมหาปชาบดีโคตมี ทําให้ทั้ง พระองค์ได้บรรลุอริยผลชั้น ไหน? ตอบ ทําให้พระเจ้าสุทโธทนะทรงบรรลุสกทาคามิผล และพระนางมหาปชาบดีโคตมีทรงบรรลโุ สดาปัตติผล

(ปี 58) ผู้ที่ได้รับการอุปสมบทโดยวิธีรับโอวาท และโดยวิธีรับครุธรรม คือใคร ? และได้รับการยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะในทางใด ?

ตอบ       โดยวิธีรับโอวาท คือพระมหากัสสปะ และโดยวิธีรับครุธรรม คือพระมหาปชาบดี โคตมี ฯ พระมหากัสสปะ ในทางผู้ทรงธุดงคคุณ ส่วนพระมหาปชาบดี โคตมี ในทาง รัตตัญญู

(ปี 58) พระพุทธองค์เสด็จไปแสดงธรรมโปรดพระพุทธมารดาในสวรรค์ชั้นใด? ด้วยธรรมอะไร? และพระพุทธมารดาได้รับผลอะไร?


ตอบ ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ด้วยพระอภิธรรม ได้บรรลุพระโสดาปัตติผล

(ปี 50) พระพุทธบัญญัติที่ว่า ผู้ขออุปสมบทต้องได้รับอนุญาตจากมารดาบิดาก่อน นั้น มีประวัติความเป็นมาโดยย่ออย่างไร?

ตอบ พระเจ้าสุทโธทนะทรงโทมนัสมาก เพราะพระสิทธัตถราชกุมาร พระนันทะ และพระราหุล เสด็จออกผนวชแล้ว สิ้นผู้จะสืบราชวงศ์ ต่อไป ทรงปรารภทุกข์นี้ที่จะพึงมีแก่มารดาบิดาในตระกูลอื่น จึงทูลขอพระพุทธองค์ให้มารดาบิดาต้องอนุญาตก่อนจึงจะบวชกุลบุตรได้ จึงเกิดพระพุทธ บัญญัติข้อนี้ขึ้น

(ปี  47)  พระเจ้าสุทโธทนะทรงบรรลุพระโสดาปัตติผลด้วยพระธรรมเทศนามีใจความว่าอย่างไร?  ทรงบรรลุอริยผลสูงสุดชั้นไหน?

ตอบ มีใจความว่า ไม่พึงประมาทในบิณฑบาต พึงประพฤติธรรมให้เป็นสุจริต ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุขทั้งในโลกนี้ทั้งในโลกอื่นฯ ชั้นพระ อรหัตผล ฯ

(ปี 44) คําว่า " บัวไม่ให้ชํ้า นํ้าไม้ให้ขุ่น " เปรียบด้วยปฏิปทาจริยาวัตรข้อใดของพระโมคคัลลานะ? เจ้าศากยะได้ทูลขอพระศาสดาให้บวชอุบาลี ภูษามาลาก่อน เพราะเห็นประโยชน์อันใด?

ตอบ ข้อที่ท่านเป็นผู้ฉลาดในการแนะนําตระกูลที่ยังไม่เลื่อมใสให้เลอมใส ไม่ทําศรัทธาและโภคทรัพย์ของเขาให้เสีย เปรยบเหมือนแมลงผึ้งบินเที่ยว ไปในสวนดอกไม้ ไม่ทําสีและกลิ่นของดอกไม้ให้ชํ้า ถือเอาแต่รสบินไปฉะนั้น

เพราะเห็นประโยชน์ว่า จักได้ทําการกราบไหว้ ลุกรับ ประณมมือ และทํากิจที่สมควรอื่น แก่พระอุบาลีซึ่งเดิมเป็นคนรับใช้ เมื่อเป็นเช่นนี้จักละ มานะความถือตัวได้ ฯ

(ปี 44) ข้อความว่า " ขออย่าให้พระภิกษุทั้งหลายบวชบุตรที่บิดามารดายังไม่อนุญาตต่อไป " เป็นคําพดของใคร? มีความเป็นมาอย่างไร? พระราหุลได้สาเร็จเป็นพระอรหันต์ เพราะได้สดับธรรมอะไร?

ตอบ เป็นพระดํารัสของพระเจ้าสทโธทนะ, มีความเป็นมาอย่างนี้ คือเมื่อพระนันทะพระโอรสทรงผนวช พระเจ้าสุทโธทนะทรงโทมนัสเป็นอันมาก ครั้นราหุลกุมารบวชแล้ว สิ้นผู้ที่จะสืบพระวงศ์ ยิ่งทรงโทมนัสมากขึ้น ทรงปรารภถึงทุกข์อันนี้ที่จะพึงมีแก่มารดาบิดาในตระกูลอื่นในเวลาเมื่อบตร ออกบวช จึงทูลขอพรนี้ ฯ

เพราะได้สดับพระโอวาทซึ่งสั่งสอนในทางวิปัสสนา คล้ายกับโอวาทที่ตรัสสอนพระปัญจวัคคีย์ ต่างกันแต่ทรงยกอายตนะภายในภายนอกเป็นต้นขึ้น แสดงแทนขันธ์ เท่านั้น

(ปี 43) เพราะเห็นอานิสงส์อะไร พระอานนท์จึงทูลขอพรข้อที่ ? พระอุบาลีออกบวชพร้อมใครบ้าง? ที่ไหน? ท่านได้รับเอตทัคคะทางไหน? ตอบ เพราะเห็นอานิสงส์ว่าหากมีผู้มาถามว่า ธรรมนี้พระพุทธองค์ทรงแสดงในที่ใด ถ้าท่านตอบไมไ่ ด้ เขาจะพูดได้ว่า ท่านตามเสด็จพระศาสดา ตลอดกาลนาน ไม่รู้แม้แต่เรื่องเท่านี้

พระอุบาลีออกบวชพร้อมกับ พระภัททิยะ พระอนุรุทธะ พระอานันทะ พระภัคคุ พระกิมพิละ พระเทวทัต ที่อนุปิยนิคม ไดรับเอตทัคคะทางเป็นผู้ เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายผู้ทรงวินัย

 

พระอานนท

·        บวชพร้อมกันกับ พระเจ้าภัททิยราช เจ้าชายอนุรุทธะ เจ้าชายอานนท์ เจ้าชายภคุ เจ้าชายกิมพิละ เจ้าชายเทวทัต และอุบาลี รวมแล้วทั้งหมด

คน


·        พระอานนท์ได้บรรลุโสดาปัตตผ


ลเพราะได้ฟังโอวาทจากพระปุณณมันตานีบุตร


·        บรรลุอรหัตผลก่อนวันรุ่งขึ้นจะทําปฐมสังคายนา

·        การบรรลุอรหัตผลของท่านในขณะที่กําลังเอนกายศีรษะยังไม่ถึงหมอนเท้ายกขึ้นในระหว่างอิริยาบถ  

·        ท่านนิพพานบนอากาศ กลางแม่นํ้าโรหิณีแล้วอธิษฐานให้สรีระของท่านแยกเป็น ภาค ให้ตกลงที่ฝั่งแม่นํ้าฝั่งละภาค


·        วันพระศาสดาปรินิพพาน มีพระสาวกผู้ใหญ่อยู่ในที่นั้น รูป คือ พระอนุรุทธเถระ และพระอานนทเถระ

·        เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายที่เป็นพหุสูต มีคติ มีสติ มีธิติ และเป็นอุปัฏฐาก

·        พระอานนท์ทูลขอพร ประการ

ข้อที่ ว่า ขอพระองค์อย่าได้ประทานจีวรอันประณีตที่พระองค์ได้แล้วแก่ข้าพระองค์

ข้อที่ ว่า ขอพระองค์อย่าได้ประทานบิณฑบาตอันประณีตที่พระองค์ได้แล้วแก่ข้าพระองค์ ข้อที่ ว่า ขอพระองค์อย่าได้โปรดให้ข้าพระองค์อยู่ในที่ประทับของพระองค์

ข้อที่ ว่า ขอพระองค์อย่าได้ทรงพาข้าพระองค์ไปในที่นิมนต์ ข้อที่ ว่า ขอพระองค์จงเสด็จไปสู่ที่นิมนต์ที่ข้าพระองค์รับไว้

ข้อที่ ว่า ขอให้ข้าพระองค์ได้พาบริษัทซึ่งมาเฝาพระองค์แต่ที่ไกลเข้าเฝ้าได้ในขณะที่มาแล้ว ข้อที่ ว่า ถ้าความสงสัยของข้าพระองค์เกิดขึ้นเมื่อใด ขอให้ได้เข้าเฝ้าทูลถามเมื่อนั้น

**ข้อที่ ว่า ถ้าพระองค์เสด็จไปเทศนาเรื่องใดที่ไหน ซึ่งข้าพระองค์ไม่ได้ฟัง ขอพระองค์ตรัสบอกเทศนาเรื่องนั้นแก่ข้าพระองค์ (เคยออกข้อสอบ)

ถ้าพระองค์ประทานพร ประการนี้แก่ข้าพระองค์ ข้าพระองค์จักเป็นผู้อุปัฏฐากพระองค์

(ปี 63) พระอานนท์พุทธอุปัฏฐากได้รับยกย่องจากพระศาสดาว่าเลศกว่าภิกษุทั้งหลาย ด้วยคุณสมบัติอะไรบ้าง ?

ตอบ ด้วยคุณสมบัติ ประการ คือ . เป็นพหูสูต . มีสติ . มีคติ . มีธิติ . เป็นพุทธอุปัฏฐาก

(ปี  56)  พระอานนท์ได้รับเลือกให้เป็นพุทธอุปัฏฐากในเวลาก่อนหรือหลังบรรลุเป็นพระโสดาบัน?  ได้รบยกย่องจากพระศาสดาว่าเป็นเอตทัคคะ

ในทางใดบ้าง? ตอบ หลังบรรลุเป็นพระโสดาบัน ในทางเลศกว่าภิกษุทั้งหลายที่เป็นพหุสต มีคติ มีสติ มีธิติ และเป็นอุปัฏฐาก

(ปี 52) พระสาวกผู้ได้รบการยกย่องเป็นเอตทัคคะหลายอย่างกว่าสาวกรูปอนคือใคร? เป็นเอตทัคคะในทางใดบ้าง?

ตอบ พระอานนทเถระ เป็นเอตทัคคะในทาง

.เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายที่เป็นพหุสูต                              .เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายที่มีคติ                       .เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายที่มีสติ

.เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายที่มีธิติปัญญาจําทรง                             .เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายที่เป็นอุปัฏฐาก

(ปี 49) ท่านพระอานนท์ทูลขอพรพระบรมศาสดาก่อนจะรับเป็นพุทธุปัฏฐากไว้ ข้อ ท่านมีเหตุผลที่ทูลขอพร ข้อหลังว่าอย่างไร?

ตอบ ใน ข้อหลังนี้ ข้อแรก เพื่อจะป้องกันคนพูดว่า พระอานนท์บํารุงพระศาสดาทําอะไร เพราะพระองค์ไม่ทรงอนุเคราะห์แม้ด้วยกิจเท่านี้

ส่วนข้อสุดท้าย เมื่อมีคนถามในทลับหลัง พระพุทธองค์ว่า ธรรมนี้ พระองค์ทรงแสดงในที่ไหน ถ้าท่านบอกไม่ได้ เขาก็จะพูดได้ว่า ท่านไม่รู้แม้แต่

เรื่องเท่านี้ ไม่ละพระศาสดาเที่ยวตามเสด็จอยู่ ดุจเงาตามตัวสิ้นกาลนาน เพราะเหตุอะไร

(ปี 47) พระอานนท์ได้ดวงตาเห็นธรรมเพราะฟังโอวาทจากใคร? ท่านผู้ให้โอวาทนั้นเลศทางไหน?

ตอบ เพราะฟังโอวาทจากพระปุณณมันตานีบุตรเถระ เลิศในทางเป็นพระธรรมกถึก

(ปี 45) พระอานนท์พุทธอุปัฏฐากได้ทูลขอพร ประการ ข้อสุดท้าย ความว่าอย่างไร? ท่านได้รับการยกย่องจากพระศาสดาอย่างไรบ้าง?

ตอบ ความว่า ถ้าพระองค์เสด็จไปเทศนาเรื่องใดที่ไหน ซึ่งข้าพระองค์ไม่ได้ฟัง ขอพระองค์ตรสบอกเทศนาเรื่องนั้นแก่ข้าพระองค์

ได้รับการยกย่องว่า เลิศกว่าภิกษทั้งหลายด้วยคุณสมบัติ สถาน คือ .เป็นพหูสูต .มีสติ .มีคติ .มีธิติ .เป็นพุทธอุปัฏฐาก

(ปี 43) เพราะเห็นอานิสงส์อะไร พระอานนท์จึงทูลขอพรข้อที่ ? พระอุบาลีออกบวชพร้อมใครบ้าง? ที่ไหน? ท่านได้รับเอตทัคคะทางไหน?

ตอบ เพราะเห็นอานิสงส์ว่าหากมีผู้มาถามว่า ธรรมนี้พระพุทธองค์ทรงแสดงในที่ใด ถ้าท่านตอบไมไ่ ด้ เขาจะพูดได้ว่า ท่านตามเสด็จพระศาสดา ตลอดกาลนาน ไม่รู้แม้แต่เรื่องเท่านี้ พระอุบาลีออกบวชพร้อมกับ พระภัททิยะ พระอนุรุทธะ พระอานันทะ พระภัคคุ พระกิมพิละ พระเทวทัต ที่อนุปิยนิคม ไดรับเอตทัคคะทางเป็นผู้เลศกว่าภิกษุทั้งหลายผู้ทรงวินัย


พระมหากัสสปะ

(ปี 64, 62, 60, 43) พระมหากัสสปเถระประพฤติธุดงควัตรเพราะเห็นอํานาจประโยชน์อย่างไร ?

ตอบ เพราะเห็นอํานาจประโยชน์ อย่างคือ

. การอยู่เป็นสุขในบัดนี้ของตน

. เพื่ออนุเคราะห์ประชุมชนในภายหลัง จะได้เป็นทฏฐานุคติแห่งคนผู้มาเกิดในภายหลัง เมื่อทราบว่า สาวกของ พระพุทธเจ้าได้ประพฤติอย่างนี้ เขาจะได้ประพฤติตาม ซึ่งเป็นทางอํานวยสุขแก่เขาเอง

(ปี 63, 59) พระพุทธโอวาท ข้อ ที่ทรงประทานแก่พระมหากัสสปะว่าอย่างไร ? จัดเข้าในการอุปสมบทวิธีใด ?

ตอบ พระโอวาท ข้อว่าดังนี้

. กัสสปะ ทานพึงศึกษาวาเราจักเข้าไปตั้งความละอายและความยําเกรงไว้ในภิกษทั้งที่เป็นผู้เฒ่า ทั้งที่เป็นผู้ใหม่ ทั้งที่เป็นปานกลางอย่างแรงกล้า

. เราจักฟังธรรมอันใดอันหนึ่งซึ่งประกอบด้วยกุศล เราจักเงี่ยโสตฟังธรรมนั้นพิจารณาเนื้อความ

. เราจักไม่ละสติเป็นไปในกาย คือพิจารณากายเป็นอารมณ์                                    จัดเข้าในเอหิภิกขุอุปสมบทวิธี

(ปี 61) หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว พระมหากัสสปะได้ทํากิจใด ที่สําคัญแก่พระศาสนา ? จงอธิบาย

ตอบ ท่านได้ทํากิจที่สําคัญ คือเป็นผู้ชักชวนภิกษุสงฆ์ ทําสังคายนาร้อยกรองพระธรรมวินัย และเป็นประธานในการทําสังคายนานั้น อันเป็นเหตุให้ พระศาสนาตั้งมั่นถาวรสืบมาจนถึงปัจจุบัน ฯ

(ปี 58) ผู้ที่ได้รับการอุปสมบทโดยวิธีรับโอวาท และโดยวิธีรับครุธรรม คือใคร ? และได้รับการยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะในทางใด ?

ตอบ โดยวิธีรับโอวาท คือพระมหากัสสปะ และโดยวิธีรับครุธรรม คือพระมหาปชาบดี โคตมี ฯ พระมหากัสสปะ ในทางผู้ทรงธุดงคคุณ ส่วนพระมหาปชาบดี โคตมี ในทาง รัตตัญญู

(ปี 56) พระมหากัสสปเถระชักชวนภิกษุทั้งหลายให้ทําสังคายนาครงั้ แรก เพราะปรารภเหตุอะไร?

ตอบ เพราะปรารภเหตุ ประการ คือ . ระลึกถึงคําของสุภัททวุฑฒบรรพชิตกล่าวจ้วงจาบพระธรรมวินัย

. ระลึกถึงอุปการคุณของพระผมพระภาคที่มีอยู่แก่ตน

(ปี 53) พระมหากัสสปะกับพระรฐบาล ออกบวชเพราะมีความคิดเห็นต่างกันอย่างไร?

ตอบ พระมหากัสสปะออกบวชเพราะคิดเห็นว่า ผู้อยู่ครองเรือนต้องคอยนั่งรับบาป เพราะการงานที่ผอื่นทําไม่ดี มีใจเบื่อหน่าย จึงละสมบัติแล้ว ออกบวช พระรัฐบาลออกบวชเพราะมีความคิดเห็นตามธรรมุเทศ ข้อที่พระศาสดา

ทรงแสดง ว่า              . โลกคือหมู่สตว์ อันชราเป็นผู้นําๆ เข้าไปใกล้ ไม่ยั่งยืน

. โลกคือหมู่สตว์ ไมมีผู้ป้องกัน ไม่เป็นใหญ่จําเพาะตน

. โลกคือหมู่สตว์ไม่มีอะไรเป็นของ ตน จําต้องละทิ้งสิ่งทั้งปวงไป

. โลกคือหมู่สตว์ พร่องอยู่เป็นนิตย์ ไมรู้จักอิ่ม เป็นทาสแห่งตัณหา

(ปี 49) พระศาสดารับสั่งให้ท่านพระมหากัสสปะทรงจีวรที่คฤหบดีถวายเป็นต้น แต่ท่านมิได้ทําตาม เพราะเห็นอํานาจประโยชน์อะไร? ตอบ เห็น ประโยชน์ ๒ อย่าง คือ

. การอยู่เป็นสุขในบัดนี้ของตน

. การอนุเคราะห์ประชุมชนในภายหลัง ประชุมชนในภายหลัง ทราบว่าสาวกของพระพุทธเจ้าไม่ประพฤติตนอย่างนั้น จักถึงทิฏฐานุคติ ปฏิบัติ ตามที่ตนได้เห็นได้ยิน ความปฏิบัตินั้น จักเป็นไปเพื่อประโยชน์และสุขแก่เขาสิ้นกาลนาน

(ปี    48)    พระพุทธเจ้าตรสสอนภิกษุให้ประพฤติตนในการเข้าไปใกลตระกูลโดยยกพระมหากัสสปะเป็นตัวอย่างไว้อย่างไร?

ตอบ ตรัสสอนไว้มาก โดยสรุปทรงสอนว่า ท่านพระมหากัสสปะมีความสํารวมระวังอย่างยิ่ง ทําตนเป็นผู้ใหม่อยู่เสมอ ไม่ลําพอง ไมติดข้อง วางเฉย กับอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ที่ประสบได้ทุกอย่าง


(ปี  43) เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว พระมหากัสสปเถระเป็นกําลังสําคัญแก่พระพุทธศาสนาอย่างไร?

ตอบ พระมหากัสสปเถระได้เป็นประธานทําสังคายนาเป็นครั้งแรก

 

 

พระอนุรุทธะ

·        เป็นโอรสของพระเจ้าอมิโตทนะ *

·        วันพระศาสดาปรินิพพาน มีพระสาวกผู้ใหญ่อยู่ในที่นั้น รูป คือ พระอนุรุทธเถระ และพระอานนทเถระ

(ปี 54) อนุรุทธศากยะออกบวชเพราะมลเหตุอะไร? ผู้ที่ออกบวชพร้อมกับท่านมีใครบ้าง?

ตอบ   เพราะมูลเหตจากการที่อนุรุทธศากยะเป็นพระญาติของพระพุทธเจ้าซึ่งควรออกบวชตามพระพุทธเจ้าอย่างที่เจ้าศากยะองค์อื่นผมีชื่อเสียง  ได้

กระทํากัน และครั้นเมื่อได้ฟังคําพูดของมหานามศากยะผู้พี่ว่า  การงานของผู้อยู่ครองเรือนไม่มสิ้นสุด  ที่สุดของการงานไม่มีปรากฏ  จึงตัดสินใจให้พี่

อยู่ครองเรือนส่วนตนออกบวช มี พระเจ้าภัททิยะ อานันทะ ภัคคุ กิมพิละ เทวทัต และ อุบาลี

 

 

พระรัฐบาล

·        บวชเพราะศรัทธา

·        แสดงธรรมุเทศ (*คือ หัวข้อธรรมที่ยกขึ้นแสดง) แก่พระเจ้าโกรัพยะ ดังนี้

. โลกคือหมู่สตว์ อันชรานําเข้าไปใกล้ ไม่ยั่งยืน

. โลกคือหมู่สตว์ ไมมีผู้ป้องกัน ไม่เป็นใหญ่จําเพาะตน

. โลกคือหมู่สตว์ ไมมีอะไรเป็นของ ตน จําต้องละทิ้งสิ่งทั้งปวงไป

. โลกคือหมู่สตว์ พร่องอยู่เป็นนิตย์ ไมรู้จักอิ่ม เป็นทาสแห่งตัณหา


·        พระเจ้าโกรัพยะตรส


ถึงเหตุแห่งความเสื่อมที่จะให้คนออกบวชกะกะพระรัฏฐปาลเถร เหตุแห่งความเสอมนั้นได้แก่ . ความแก่ชรา .


ความเจ็บ . ความสิ้นโภคทรัพย์ . ความสิ้นญาติ

(ปี 63) ธรรมุเทศ ข้อ ที่พระรัฐบาลแสดงแก่พระเจ้าโกรัพยะ มีใจความว่าอย่างไรบ้าง ?

ตอบ ว่า . โลกคือหมู่สตว์ อันชราเป็นผู้นํา นําเข้าไปใกล้ ไม่ยั่งยืน

. โลกคือหมู่สตว์ ไมมีผู้ป้องกัน ไม่เป็นใหญ่จําเพาะตน

. โลกคือหมู่สตว์ ไมมีอะไรเป็นของตน จําต้องละทิ้งสิ่งทั้งปวงไป

. โลกคือหมู่สตว์ พร่องอยู่เป็นนิตย์ ไมรู้จักอิ่ม เป็นทาสแห่งตัณหา

(ปี 57) ธรรมุทเทศ ข้อ ได้แก่อะไรบ้าง? ใครแสดง? แสดงแก่ใคร?

ตอบ      ได้แก่         . โลกคือหมู่สตว์ อันชราเป็นผู้นํา นําเข้าไปใกล้ ไม่ยั่งยืน

. โลกคือหมู่สตว์ ไมมีผู้ป้องกัน ไม่เป็นใหญ่จําเพาะตน

. โลกคือหมู่สตว์ ไมมีอะไรเป็นของของตน จําต้องละทิ้งสิ่งทั้งปวงไป

. โลกคือหมู่สตว์ พร่องอยู่เป็นนิตย์ ไมรู้จักอิ่ม เป็นทาสแห่งตัณหา พระรัฐบาลแสดง แสดงแก่พระเจ้าโกรัพยะ ฯ

(ปี 54) พระสาวกผู้กลาวว่า โลกคือหมู่สัตว์อันชราเป็นผู้นําๆ เข้าไปใกล้ ไม่ยั่งยืน ดังนี้ คือใคร? กล่าวแก่ใคร? ได้รับเอตทัคคะในทางใด? ตอบ คือ พระรัฐบาล แก่พระเจ้าโกรัพยะ ในทางเป็นยอดของภิกษุผู้บวชด้วยศรัทธา

(ปี 53) พระมหากัสสปะกับพระรฐบาล ออกบวชเพราะมีความคิดเห็นต่างกันอย่างไร?


ตอบ พระมหากัสสปะออกบวชเพราะคิดเห็นว่า ผู้อยู่ครองเรือนต้องคอยนั่งรับบาป เพราะการงานที่ผอื่นทําไม่ดี มีใจเบื่อหน่าย จึงละสมบัติแล้ว ออกบวช พระรัฐบาลออกบวชเพราะมีความคิดเห็นตามธรรมุเทศ ข้อที่พระศาสดา

ทรงแสดง ว่า              . โลกคือหมู่สตว์ อันชราเป็นผู้นําๆ เข้าไปใกล้ ไม่ยั่งยืน

. โลกคือหมู่สตว์ ไมมีผู้ป้องกัน ไม่เป็นใหญ่จําเพาะตน

. โลกคือหมู่สตว์ไม่มีอะไรเป็นของ ตน จําต้องละทิ้งสิ่งทั้งปวงไป

. โลกคือหมู่สตว์ พร่องอยู่เป็นนิตย์ ไมรู้จักอิ่ม เป็นทาสแห่งตัณหา

(ปี  51)  พระเจ้าโกรัพยะตรัสถึงเหตุแห่งความเสื่อมที่จะให้คนออกบวชกะพระสาวกรูปใด?  เหตุแห่งความเสื่อมนั้นได้แก่อะไรบ้าง?

ตอบ กะพระรัฏฐปาลเถระ เหตุนั้นได้แก่ . ความแก่ชรา . ความเจ็บ . ความสิ้นโภคทรัพย์ . ความสิ้นญาติ

(ปี 46) อุปติสสปริพาชก เมื่อได้ฟังธรรมโดยย่อจากพระอัสสชิเถระแล้ว มีความเข้าใจในเนื้อความแห่งธรรมนั้นว่าอย่างไร? ครั้งพุทธกาล กุลบุตรผ มีศรัทธาเลื่อมใสในพระศาสนาขออนุญาตบวชจากมารดาบิดา เมื่อไม่ได้รับอนุญาตก็เสียใจ จึงทําการประท้วง กุลบุตร ผู้นั้นคือใคร? ประท้วงด้วย วิธีใด? ตอบ ว่าอย่างนี้คือ ธรรมทั้งปวงเกิดแต่เหตุ และจะสงบระงบไป เพราะเหตุดับก่อน พระศาสดาทรงสั่งสอนให้ปฏิบัติ เพื่อสงบระงับเหตุ แห่งธรรมเป็นเครื่องก่อให้เกิดทุกข์ กุลบุตรผู้นั้น คือพระรัฐบาล ประท้วงด้วยวิธีนอนไม่ลุกขึ้น และอดอาหาร

(ปี   45)   พระเจ้าโกรัพยะทรงปรารภกับพระรัฐบาลถึงเหตุให้บุคคลออกบวชว่าอย่างไร?

ตอบ ทรงปรารภเหตุวิบัติ ประการ คือ ) ความแก่ ) ความเจ็บป่วย ) ความเสื่อมจากโภคทรัพย์ ) ความเสื่อมญาติ

 

 

พระราธะ

(ปี 64, 59, 53) พระพุทธเจ้าตรัสสอนพระราธะว่า "สิ่งใดเป็นมาร ทานจงละความกําหนัดพอใจในสิ่งนั้นเสีย" มารในที่นี้หมายถึงอะไร ?

ตอบ หมายถึง รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ

(ปี 55) การอุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจา พระสาวกผู้เป็นอุปัชฌายะ และเป็นสัทธิวิหาริกรูปแรก คือใคร?

ตอบ พระสารีบุตร เป็นอุปัชฌายะรูปแรก พระราธะ เป็นสัทธิวิหาริกรูปแรก

 

 

พระมหากัจจายนะ

(ปี 62 และ ปี 43) พระพุทธพจน์ว่า "ภทฺเทกรตฺโต" ผู้มีราตรเดียวอันเจริญ หมายถึงการปฏิบัติย่างไร ? พระสาวกรูปใดสามารถอธิบายพระพุทธ พจน์นี้ได้ถูกต้องตามพุทธประสงค์ ?

ตอบ หมายถึง เป็นผู้มีความเพียร ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืนอยู่ด้วยความไม่ประมาท พระมหากัจจายนะ

(ปี 58, 55) คําว่า วรรณะใด ประพฤติอกุศลกรรมบถ เบื้องหน้าแต่มรณะ วรรณะนั้นย่อมเข้าสู่อบายเสมอกันหมด ไม่มีพิเศษ ใครกล่าว ? และ กล่าวกะใคร ? ตอบ พระมหากัจจายนะ กล่าว กล่าวกะพระเจ้ามธุรราชอวันตีบุตร

(ปี 52) พระดํารัสว่า เธอไปเองเถิด เมื่อเธอไปแล้ว พระเจ้าแผ่นดินจักทรงเสื่อมใส พระศาสดาตรัสกะพระเถระรูปใด? พระเถระรูปนั้นได้ไป ประกาศพระพุทธศาสนาที่ไหน? และได้ผลอย่างไร?

ตอบ ตรัสกะพระมหากัจจายนะ ที่กรุงอุชเชนี ได้ผลคือ พระเจ้าจัณฑปัชโชตและชาวเมืองเลื่อมใส

(ปี 46) ผู้ได้นามว่า ภัทเทกรัตตะ ผู้มีราตรีเดียวเจริญ เพราะประพฤติเช่นไร?

พระเถระรูปใดได้รับยกย่องว่าเป็นผู้เข้าใจอธิบายเรื่อง ผู้มีราตรีเดียวเจรญ นี้ให้พิสดาร?

ตอบ เพราะเป็นผู้มีความเพียร ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันกลางคืน อยู่ด้วยความไม่ประมาท พระมหากัจจายนเถระ


พราหมณ์พาวรีและศิษย์ ๑๖ คน

·        พระอชิตะ ทูลถามปัญหาพระพุทธเจ้า เป็นคนที่

·        พระปุณณกะ ทูลถามปัญหาพระพุทธเจ้า เป็นคนที่

·        พระอุทยะ ทูลถามปัญหาพระพุทธเจ้า เป็นคนที่ ๑๓

·        พระโมฆราช ทูลถามปัญหาพระพุทธเจ้า เป็นคนที่ ๑๕

·        ปิงคิยมาณพ ทูลถามปัญหาพระพุทธเจ้า เป็นคนที่ ๑๖

(ปี 61, 55) ปัญหาว่า โลกคือหมู่สัตว์ อันอะไรปิดบังไว้ จึงหลงดุจอยู่ในที่มืด ดังนี้ ใครเป็นผู้ถาม? ได้รับคําพยากรณ์ว่าอย่างไร?

ตอบ อชิตมาณพเป็นผู้ถาม ได้รับการพยากรณ์ว่า โลกคือหมู่สัตว์ อันอวิชชาคือความไม่รู้แจ้งปิดบังไว้จึงหลงดุจอยู่ในที่มืด

(ปี 52) พราหมณ์พาวรีผูกปัญหาให้มาณพ ๑๖ คน ผเป็นศิษย์ทูลถามพระบรมศาสดาเพื่อประสงค์อะไร? ปัญหาว่า หมู่มนุษย์โลกนี้ คือ ฤษี กษัตริย์พราหมณเป็นอันมากอาศัยอะไร จึงบูชายัญบวงสรวงเทวดา ผู้ทูลถามคือใคร? และทรงพยากรณ์ว่าอย่างไร?

ตอบ พราหมณ์พาวรีประสงค์จะสืบสวนให้ไดความแน่นอนว่า พระโอรสของศากยราชเสด็จออกบรรพชา ปฏิญญาพระองค์ว่าเป็นพระอรหันต สัมมาสัมพุทธเจ้าตามข่าวเล่าลือนนเป็นจริงหรือไม่ ผู้ทูลถามคือ ปุณณกมานพ ทรงพยากรณ์ว่า หมู่มนุษย์เหล่านั้นอยากได้ของที่ตนปรารถนา อาศัยของที่มีชราทรุดโทรมจึงบูชายัญบวงสรวงเทวดา

(ปี 49) ก่อนที่ท่านพระโมฆราชจะมาเป็นภิกษุในพระพุทธศาสนา ท่านเคยเป็นศิษย์ของใคร? ผู้นั้นตั้งสํานักสอนอยู่ที่ไหน?

ตอบ เป็นศิษย์ของพาวรีพราหมณ์ อยู่ที่ฝั่งแม่นํ้าโคธาวรี ที่พรมแดนแห่งเมืองอัสสกะและเมืองอาฬกะ

(ปี 48) โมฆราชมาณพคิดจะทูลถามปัญหากะพระพุทธองค์ ครั้ง แต่มิได้ทูลถามเพราะเหตไุ ?


ตอบ ในครั้งที่ ไม่ได้ทูลถามเพราะเห็นว่าอชิตมาณพเป็นผู้ใหญ่กวา ตรัสห้ามไว้ ฯ


จึงยอมให้ทูลถามก่อน ในครั้งที่ และ ไม่ได้ทูลถามเพราะพระพุทธองค์


(ปี 46) ปัญหาว่า หมู่มนุษย์ในโลกนี้ คือ ฤษี กษัตริย์ พราหมณ์ เป็นอันมาก อาศัยอะไร จึงบูชายัญบวงสรวงเทวดา ใครเป็นผู้ถาม? พระ ศาสดาทรงพยากรณ์ว่าอย่างไร?

ตอบ ปุณณกมาณพฯ ทรงพยากรณ์ว่า หมู่มนุษย์เหล่านั้นอยากไดของที่ตนปรารถนา อาศัยของที่มีชราทรุดโทรม จึงบูชายัญบวงสรวงเทวดา (ปี 45) พุทธเจดีย์ มีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? อุทยมาณพทูลถามว่า "โลกมีอะไรผูกพันไว้ อะไรเป็นเครื่องสัญจรของโลกนั้น ท่านกล่าวกันวา่ นิพพานๆ ดังนี้ เพราะละอะไรได้" พระศาสดาทรงพยากรณ์ว่าอย่างไร?

ตอบ มี ประเภท คือธาตุเจดีย์ บริโภคเจดย์ ธรรมเจดย์ และอุทเทสิกเจดีย์   ทรงพยากรณ์ว่า โลกมีความเพลิดเพลินผูกพันไว้ ความตรึกเป็น

เครื่องสัญจรของโลกนั้น ท่านกล่าวกันว่า นิพพานๆ ดังนี้ เพราะละตณหาเสียได้

(ปี 43) ปัญหาว่า พระขีณาสพตายแล้วเป็นอะไร ใครถามใคร? มีคําตอบอย่างไร? พระศาสดาทรงพยากรณ์ปัญหาจบลงแล้ว มีผลอะไรเกิดแก่ มาณพ ๑๖ คน? ตอบ พระสารีบุตรถามพระยมกะ มีคําตอบว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณที่ไม่เที่ยง ดับไปแล้ว

มีผลคือ มาณพ ๑๕ คน เว้นปิงคิยมาณพ ส่งใจไปตามธรรมเทศนา มีจิตพ้นจากอาสวะไม่ถือมั่นด้วยอุปาทาน ส่วนปิงคิยมาณพเป็นแต่ได้ญาณเห็น ในธรรม ฯ

 

พระภัททิยเถระ

(ปี 61, 45) พระภัททิยเถระ มักเปล่งอุทานเนืองๆ ว่า สุขหนอๆ ดังนี้ เพราะเหตุไร?

ตอบ เพราะเมื่อก่อนท่านเป็นพระเจ้าแผ่นดิน ต้องจัดการรักษาป้องกันทั้งในวังนอกวัง ทั้งในเมือง นอกเมือง จนตลอดทั่วอาณาเขต แม้มีคนคอย รักษาอย่างนี้แล้ว ยังต้องหวาดระแวง สะดุ้งกลัวอยู่เป็นนตย์ ครั้นทรงออกบวชได้บรรลุอรหัตผลแล้ว แม้อยู่ในที่ไหนๆ ก็ไม่หวาดระแวง ไม่สะดุ้ง กลัว ไม่ต้องขวนขวายมีใจปลอดโปร่ง เป็นอิสระแก่ตน จึงเปล่งอุทานเช่นนั้น


(ปี 58) พระสาวกที่มักเปล่งอุทานเนืองๆ ว่า สุขหนอ สุขหนอ ดังนี้ คือใคร? ท่านเปล่งอุทานเช่นนี้เพราะเหตุไร?

ตอบ คือพระภัททิยะ เพราะเมื่อก่อนท่านเป็นพระเจ้าแผ่นดิน ต้องจัดการรักษาป้องกันทั้งในวังนอกวัง ทั้งในเมืองนอกเมือง จนตลอดทั่วอาณา เขต แม้มีคนคอยรักษาอย่างนี้แล้ว ยังต้องหวาดระแวง สะดุ้งกลัวอยู่เป็นนิตย์ ครั้นทรงออกบวชได้บรรลุอรหัตผลแล้ว แม้อยู่ในที่ไหนๆ ก็ไม่ หวาดระแวง ไม่สะดุ้งกลัว ไม่ต้องขวนขวาย มีใจปลอดโปร่งเป็นดุจมฤคอยู่ จึงเปล่งอุทานเช่นนั้น

 

พระโสณโกฬิวิสะ

(ปี 45) พระพุทธองค์ทรงแนะนําพระเถระองค์ใดให้ปรารภความเพียรแต่พอประมาณ? เพราะเหตุใดจึงทรงแนะนําเช่นนั้น?

ตอบ พระโสณโกฬิวิสะ เพราะพระโสณโกฬิวิสะ ทําความเพียรเดินจงกรมจนเท้าแตก ก็ไม่อาจให้บรรลมรรคผลได้ สมัยเมื่อท่านเป็นคฤหัสถ์ เป็นผู้ฉลาดเข้าใจในเสียงแห่งสายพิณ พระผมีพระภาคจึงทรงแนะนําว่า ในการดีดพิณนั้นจะต้องขึงสายพิณแต่พอดี เสียงพิณจึงจะไพเราะ หย่อน เกินไปหรือตึงเกินไปก็ไม่น่าฟัง ความเพียรก็เหมือนกัน ถ้าย่อหย่อนนัก ก็เป็นไปเพื่อเกียจคร้าน ถ้าเกินไปนักก็เป็นไป เพื่อฟุ้งซ่าน จึงควรทําความ เพียรแต่พอดี ฯ

 

อนาถบิณฑิกเศรษฐ

·        ชื่อเดิมว่า สุทัตตะ

·        ท่านได้บรรลโสดาปัตติผล ที่เมืองราชคฤห์

(ปี 58, 46) อนาถบิณฑิกเศรษฐี มีนามเดิมว่าอะไร? ได้บรรลุคุณวิเศษอะไรในพระพุทธศาสนา? ที่ไหน?

ตอบ สุทัตตะฯ โสดาปัตติผลฯ ที่เมืองราชคฤห์ฯ

 

 

ธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า

·        ธรรมจักรกัปปวัตตนสูตร (*แปลว่า สูตรว่าด้วยการหมุนพระธรรม (การประกาศธรรม) ) ในวันอาสาฬหบูชา ขึ้น ๑๕ คํ่าเดือน ๘ พระพุทธเจ้าแสดง สิ่งที่บรรพชิตไม่ควรเสพ .กามสุขัลลิกานุโยค ความหมกมุ่นอยู่ในกาม .อัตตกิลมถานุโยค ความทําตนให้ลําบาก


มัชฌิมาปฏิปทา ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางอริยมรรคมีองค์ และอริยสัจ แก่พระปัญจวัคคีทง พาราณสี

·        อริยสัจ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค


ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมือง


·        อนัตตลักขณสูตร (ขันธ์ทั้ง เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ไม่ควรยึดมั่น)*มีผลให้ปัญจวัคคีทั้ง ๕บรรลเป็นพระอรหันต์พร้อมกัน ทั้งหมดในวันแรม คํ่าเดือน ทรงแสดงแก่พระปัญจวัคคีทั้ง ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี [หมายเหตุ *ขันธ์ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ]


·        อาทิตตปริยายสูตร *ที่ตําบลคยาสีสะ ใกล้แม่นํ้าคยา* ใจความว่า อายตนะภายใน อายตนะภายนอก วิญญาณ  ผส


สะ และเวทนาซึ่งเกิด


ตามลาดับ เป็นของร้อน ร้อนเพราะไฟคือราคะ โทสะ โมหะ และร้อนเพราะความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก รํ่าไร รําพัน ความคับ แค้นใจ มีผลทําให้ชฎิล(อุรุเวลกสสปะ นทีกัสสปะ คยากัสสปะ และบริวาร ,๐๐๐ คน) บรรลุอรหัตตผล

·        เวทนาปริคคหสูตร แก่ทีฆนขปริพาชก *ถํ้าสุกรขาตา เขาคิชฌกูฏ แขวงเมืองราชคฤห์* มีใจความว่า ให้พิจารณาร่างกาย ซึ่งมีความ

แตกทําลายไม่ยั่งยืน  และแสดงผลเสียของการยึดมั่น  พร้อมกับตรสให้ละเลิกทิฏฐิอย่างนั้นเสีย

·        อนุปุพพีกถา คือ คือ ทาน ศีล สวรรค์ กามาทีนพ(โทษแห่งกาม) และเนกขัมมานิสงส์(อานิสงส์แห่งการออกจากกาม) ทรงแสดงแก่ยสกุล บุตรเป็นคนแรก


·        โอวาทปาฏิโมกข์ ใจความย่อว่า ไม่ทําบาปทั้งปวง ทํากุศลให้ถึงพร้อม ทําใจให้บริสุทธิ์ แสดงที่วัดเวฬุวนาราม กรุงราชคฤห์ ส่วนข้อที่ทรง ยกขันติขึ้นตรัสในโอวาทปาฏิโมกข์นั้น หมายความว่า ศาสนธรรมคําสอนของพระองค์เป็นไปเพื่อให้อดทนต่อเย็น ร้อน หิวระหาย ถ้อยคําให้ ร้าย ใส่ความ ด่าว่า และทุกขเวทนาอันแรงกล้าเกิดแต่อาพาธ

(ปี 63, 61) พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ที่ไหน? มีใจความย่อว่าอย่างไร?

ตอบ ที่เวฬุวนาราม กรุงราชคฤห์   ใจความย่อว่า ไม่ทําบาปทั้งปวง ทํากุศลให้ถึงพร้อม ทําใจให้บริสทธิ์

(ปี 62, 48) ข้ออุปมาว่า "ไม้แห้งที่วางไว้บนบก ไกลนํ้า สามารถสีให้เกิดไฟได้" เกิดขึ้นแก่ใคร? โดยนําไปเปรียบกับอะไร?

ตอบ แก่พระมหาบุรุษ คือองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยทรงนําไปเปรียบกับสมณพราหมณทั้งหลายว่า สมณพราหมณ์ บางพวกมีกาย


หลีกออกจากกาม ใจก็ละความรักใคร่ในกาม สงบดีแล้ว หากพากเพียร พยายามอย่างถูกต้องย่อมสามารถตรส

(ปี 62, 45) อนัตตลักขณสูตร และ อาทิตตปริยายสตร มีใจความโดยย่อว่าอย่างไร?


รู้ธรรมได้


ตอบ อนัตตลักขณสูตรมีใจความโดยย่อว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ซึ่งรวมเรียกว่าขันธ์ นี้ เป็นอนัตตา ไม่ใช่ตน


อาทิตตปริยายสตรมีใจความโดยย่อว่า อายตนะภายใน อายตนะภายนอก วิญญาณ สัมผัส และเวทนาที่เกิดแต่สัมผส คือ ราคะ โทสะ โมหะ และร้อนเพราะความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศกรํ่าไรรําพัน เจ็บกาย เสยใจ คับใจ (ปี 61, 43) ที่สุดโต่งอันบรรพชิตไม่ควรเสพนั้นคืออะไรบ้าง? ที่สุดโต่งนั้นมีโทษอย่างไร?

ตอบ คือ . กามสุขัลลิกานุโยค .อัตตกิลมถานุโยค มีโทษดังนี้


เป็นของร้อน ร้อนเพราะไฟ


กามสุขัลลิกานุโยคคือการประกอบตนให้พัวพันด้วยสุขในกาม เป็นธรรมอันเลว เป็นเหตุตั้งบ้านเรือน เป็นของคนมีกิเลสหนา ไม่ใช่ของคนอริยะคือ ผู้บริสุทธิ์ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์

อัตตกิลมถานุโยคคือการประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตนเปล่า ให้เกิดทุกข์แก่ผู้ประกอบ ไม่ทําผู้ประกอบให้เป็นอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ฯ

(ปี 60) ทางปฏิบัติที่สุด อย่าง อันบรรพชิตไม่ควรเสพนั้นคืออะไรบ้าง? มีอธิบายอย่างไร?

ตอบ คือ . กามสุขัลลิกานุโยค . อัตตกิลมถานุโยค มีอธิบายดังนี้

กามสุขัลลิกานุโยคคือการประกอบตนให้พัวพันด้วยสุขในกาม เป็นธรรมอันเลว เป็นเหตุตั้งบ้านเรือน เป็นของคนมีกิเลสหนา ไม่ใช่ของคนอริยะคือ ผู้บริสุทธิ์ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์

อัตตกิลมถานุโยคคือการประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตนเปล่า ให้เกิดทุกข์แก่ผู้ประกอบ ไม่ทาผู้ประกอบให้เป็นอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ฯ

(ปี 59) พระศาสดาทรงแสดงอนปุพพีกถา และอริยสัจ ตามลําดับ แก่บุคคลผมีคุณสมบัติเช่นไร ?

ตอบ แก่ผู้มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้คือ . เป็นมนุษย์ . เป็นคฤหัสถ์ . มีอุปนิสัยแก่กล้า ควรบรรลุโลกุตรคุณ

(ปี 59, 57, 49) คําว่า สิ่งทั้งปวงไม่ควรแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าไม่ชอบใจหมด เป็นคําพูดของใคร? พระพุทธองค์ตรัสตอบว่าอย่างไร?

ตอบ เป็นคําพูดของทีฆนขะ อัคคิเวสสนโคตร

ตรัสตอบว่า ถ้าอย่างนั้น ความเห็นอย่างนั้น ก็ต้องไม่ควรแก่ท่าน ท่านก็ต้องไม่ชอบความเห็นอย่างนั้น

(ปี 57, 53) อภิญญาเทสิตธรรม มีอะไรบ้าง? ทรงแสดงแก่ใคร? ที่ไหน?

ตอบ มี สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน อิทธิบาท อินทรีย์ พละ โพชฌงค์ มรรคมีองค์ ทรงแสดงแก่ภิกษุสงฆ์ผู้อาศัยอยู่ในเมืองเวสาลี ที่กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน

(ปี 51) อนุปุพพีกถาและสามุกกังสิกธรรม คืออะไร? พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่บุคคลผมีองคสมบัติอะไร?

ตอบ อนุปุพพีกถา คือ ถ้อยคําที่กล่าวเรยงเรื่องเป็นลําดับไป คือ ทานกถา สีลกถา สัคคกถา กามาทีนวกถา เนกขัมมานิสังสกถา สามุกกังสิกธรรม คือ ธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงยกขึ้นแสดงเอง ได้แก่อริยสัจ

ผู้มีองคสมบัติ คือ . เป็นมนุษย์ . เป็นคฤหัสถ์ . มีอุปนิสัยแก่กล้า ควรบรรลโลกุตรคุณ


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น