วันพฤหัสบดีที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

สรุปนักธรรมชั้นเอก หน้าที่ 4/10

 











ตอบ คือ ธรรมอันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี

กามฉันท์ ใช้ อสุภกัมมัฏฐาน หรือกายคตาสติเป็นเครื่องแก้

พยาบาท ใช้ เมตตา กรุณา มุทิตา พรหมวิหาร ข้อต้นเป็นเครื่องแก้ ถีนมิทธะ ใช้ อนุสสติกัมมฏฐานเป็นเครื่องแก้

อุทธัจจกุกกุจจะ ใช้ กสิณหรือมรณัสสติเป็นเครื่องแก้

วิจิกิจฉา ใช้ ธาตุกัมมัฏฐานหรือวิปัสสนากัมมัฏฐานเป็นเครื่องแก้

(ปี 53) จตุธาตุววัตถานกัมมัฏฐาน คืออะไร? ผเจรญกัมมฏฐานนี้จะพึงกําหนดพิจารณาอย่างไร?

ตอบ คือ ความกําหนดหมายซึ่งธาตุ โดยสภาวะความเป็นเองของธาตุ

พึงกําหนดพิจารณาทั้งกายตนเองและกายผู้อื่นให้เห็นเป็นแต่สักว่าธาตุ   และพึงกําหนดให้รู้จักธาตุภายในภายนอกให้เห็นเป็นแต่สักว่าธาตุไปหมดทั้ง โลก ไม่ใช่สัตว์ไม่ใช่บุคคล

(ปี 52) พระโยคาวจรสําเร็จปฐมฌาณแล้ว ควรกระทําให้ชํานาญดวยวสีทั้ง ก่อนที่จะเจรญทุติยฌาณต่อไป เพราะเหตุใด? ตอบ เพราะถ้าไม่ชํานาญในปฐมฌาณแล้ว เมื่อเจรญทุติยฌาณต่อขึ้นไปก็จะเสื่อมจากปฐมฌาณและทุติยฌาณทั้ง ฝ่าย (ปี 52) สติปัฏฐาน อันผู้ปฏิบัติธรรมอบรมให้บริบูรณเต็มที่แล้ว ย่อมเป็นเพื่ออานิสงส์ ประการ อะไรบ้าง?

ตอบ คือ . เพื่อความบริสุทธิ์แห่งสตว์ทั้งหลาย . เพื่อความข้ามพ้นโสกะและปรเิ ทวะทั้งหลาย . เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส

. เพื่อบรรลุธรรมที่ควรรู้ . เพื่อการทําให้แจ้งพระนิพพาน

(ปี 51) จริต คืออะไร? เพราะเหตุใดจึงต้องเจริญกัมมัฏฐานให้เหมาะกับจริตของตน?

ตอบ คือ ความประพฤติเป็นปกติของบุคคล


เพราะกัมมัฏฐานแต่ละอย่างก็เป็นที่สบายของคนแต่ละจรต


ถ้าเจรญ


ไม่เหมาะกับจริต กรรมฐานก็จะสาเร็จได้โดยยาก


(ปี 50) เพราะเหตไุ พระผมีพระภาคเจ้าจึงทรงชักนําให้บําเพ็ญสมาธิ? หัวใจสมถกัมมัฏฐานมีอะไรบ้าง?

ตอบ เพราะใจที่อบรมดีแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์อันใหญ่ เป็นกาลังสําคัญในอันจะให้คิดเห็นอรรถธรรมและเหตุผลอันสุขุมลุ่มลึก พระผมีพระ ภาคเจ้าจึงตรัสไว้ในพระบาลีว่า สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาติ ผู้มีใจตั้งมั่นแล้ว ย่อมรตามเป็นจริงฯ

มี กายคตาสติ เมตตา พุทธานุสสติ กสิณ จตุธาตุววัตถานะ

(ปี 49) คนสัทธาจริตและคนวิตกจริต มีลักษณะอย่างไร? ควรเจริญกัมมัฏฐานอะไร?

ตอบ คนสัทธาจริต มีลักษณะเชื่อง่ายขาดเหตุผล คนวิตกจรต มีลักษณะคิดมาก ฟุ้งซ่าน

คนสัทธาจริตควรเจริญอนุสสติ ข้างต้น คนวิตกจริตควรเจริญอานาปานสติ

(ปี 49) กายคตาสติกัมมัฏฐานกับอสุภกัมมัฏฐาน ต่างกันหรือเหมือนกันอย่างไร? จงอธิบาย

ตอบ ต่างกันที่อารมณ์ คือ กายคตาสติ พิจารณาอาการภายในของตนเป็นอารมณ์อสุภ พิจารณาซากศพเป็นอารมณ์ เหมือนกันตรงที่พิจารณาให้เห็นเป็นปฏิกูล ไม่งามเหมือนกันและเป็นปฏิปักษ์ต่อกามฉันทะ อีกทั้งเป็นเครื่องกําจัดวิปลาส ข้อที่เห็นว่าสวยงามในสิ่ง ที่ไม่สวยงามได้เหมือนกัน


(ปี 49) การทําวัตรสวดมนต์ เป็นกิจวัตรของพระภิกษส ทําวัตรเช้ามาดูพอเป็นตัวอย่าง?


ามเณรและเป็นภาวนากุศล จงแสดงวิธีเจรญสมถกัมมัฏฐานและวิปัสสนากัมมฏ


ฐาน ในบท


ตอบ การสวดนมัสการพระรัตนตรัยก็ดี สวดสรรเสริญคุณพระรัตนตรัยก็ดี เป็นการน้อมจิตระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ ชื่อว่า เจริญพุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ จัดเป็นสมถกัมมัฏฐาน

สวดสังเวคปริกิตตนปาฐะว่า ชาติปิ ทุกฺขา ชราปิ ทุกฺขา มรณมฺปิ ทกฺขํ... รูปํ อนิจฺจํ เวทนา อนิจฺจา... รูปํ อนตฺตา เวทนา อนตฺตา... เป็นอาทิ ตั้งสติ มีความเพียร ใช้ปัญญาพิจารณาเบญจขันธ์ ยกขึ้นสู่ สามัญลักษณะ จัดเป็นวิปัสสนากัมมัฏฐานฯ


(ปี 48) บุคคลผู้ถูกนิวรณ์ ครอบงํา พึงแก้ด้วยกัมมัฏฐานอะไรบ้าง?

ตอบ       ถูกกามฉันทะครอบงํา พึงแก้ด้วยอสุภกัมมัฏฐานหรือกายคตาสติ ถูกพยาบาทครอบงํา พึงแก้ด้วยเมตตาพรหมวิหาร ถูกถีนมิทธะครอบงํา พึงแก้ด้วยอนุสสติกัมมฏฐาน ถูกอุทธัจจกุกกุจจะครอบงํา พึงแก้ด้วยกสิณหรือมรณัสสติ

ถูกวิจิกิจฉาครอบงํา  พึงแก้ด้วยธาตุกัมมัฏฐานหรือวิปัสสนากัมมัฏฐาน 

(ปี 48) ผู้เจริญเมตตาพรหมวิหาร ท่านสอนให้แผ่ไปในตนก่อนนั้น มีความมุ่งหมายอย่างไร?

ตอบ มีความมุ่งหมายอย่างนี้ ให้ทําตนเป็นพยานว่า ตนนี้อยากได้แต่ความสุข เกลียดชังทุกข์และภัยต่าง ฉันใด แม้สัตว์ทั้งหลาย ก็อยากได้สุข เกลียดชังทุกข์และภัยต่าง ฉันนั้น เมื่อเห็นเช่นนี้แล้ว จิตก็ปรารถนาจะให้สตว์ทั้งสิ้น มีความสุขความเจริญ ด้วยเหตุนี้ ท่านจึงให้แผ่เมตตาจิตไปใน ตนก่อน ฯ

(ปี 47) จริตของคนในโลกนี้มีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? คนสูงอายุมความกังวลนอนไม่หลับ เพราะคิดห่วงลูกหลานเป็นต้น จัดเป็นคนมีจริตอะไร? กัมมัฏฐานข้อใดเป็นที่สบายแก่คนจริตนั้น?

ตอบ มี ประเภท คือ ราคะจริต โทสะจริต โมหะจริต วิตกจริต สัทธาจริต พุทธิจริต มีวิตกจรต ข้ออานาปานสติ หรือ กสิณ

(ปี 47) ในอนุสสติ ๑๐ ข้อว่า มรณัสสติ ไม่ใช้ว่า มรณานุสสติ เพราะเหตุไร?

ตอบ ที่ไม่ใช้อย่างนั้น ก็เพราะท่านสอนให้ผู้พิจารณาเห็นปรากฏชัดเป็นปัจจุบันธรรม จะได้เกิดความไม่ประมาท เป็นผู้แกล้วกล้าไม่ย่อท้อต่อความ ตาย หากจะไปเหนี่ยวรั้งเอาความตายที่ล่วงมาแล้วยกขึ้นพิจารณา ในบางขณะอาจเกิดความกลัวตายขึ้นก็ได้

(ปี 46) พระบรมศาสดาทรงชักนําบุคคลให้บําเพ็ญสมาธิ เพราะทรงเห็นประโยชน์อย่างไร? พระพุทธจรรยาแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในการทรงแสดงธรรมเร้าใจนั้น ด้วยอาการอย่างไรบ้าง?

ตอบ เพราะทรงเห็นว่า จิตใจของบุคคลเมื่อได้อบรมดีแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์ใหญ่ ย่อมรู้เห็นตามเป็นจริง ดังพระบาลีว่า สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาติ ผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ตามเป็นจริง


ด้วยอาการ คือ . สนฺทสส


นา อธิบายให้เห็นแจ่มแจ้ง ให้เข้าใจชด


. สมาทปนา ชวนให้มีแก่ใจสมาทาน คือทําตาม


. สมตฺเตชนา ชักนําให้เกิดอุตสาหะอาจหาญเพื่อจะทํา  . สมฺปหํสนา พยุงให้ร่าเริงในอันทํา

(ปี 46) บุคคลในโลกนี้ เมื่อจัดตามจริต มีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? นิวรณ์ อย่างไหนสงเคราะห์เข้าในจริตอะไร ?


ตอบ มี ประเภท คือ คนราคจริต คนโทสจริต คนโมหจรต กามฉันท์          สงเคราะห์เข้าในราคจรติ

พยาบาท                สงเคราะห์เข้าในโทสจรติ

ถีนมิทธะ                สงเคราะห์เข้าในโมหจรติ อุทธัจจกุกกุจจะ          สงเคราะห์เข้าในวิตักกจริต


คนสัทธาจริต คนพุทธิจริต คนวิตักกจริต


วิจิกิจฉา                 สงเคราะห์เข้าในโมหจรต

(ปี 45) ปัจจุบันนี้ การเจรญกัมมฏฐาน เป็นที่นิยมของสาธุชน ขอทราบว่า กัมมัฏฐานนั้นมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? ธรรมที่เป็นหัวใจของสมถกัมมัฏฐาน มีอะไรบ้าง?

ตอบ มี อย่าง คือ . สมถกัมมัฏฐาน กัมมัฏฐานเป็นอุบายสงบใจ                                      . วิปัสสนากัมมัฏฐาน กัมมัฏฐานเป็นอุบายเรืองปัญญา ฯ มีกายคตาสติ เมตตา พุทธานุสสติ กสิณ และจตุธาตุววัตถาน

(ปี 45) กายคตาสติกัมมัฏฐาน กับ อสุภกัมมฏฐาน แตกต่างกันอย่างไร? กสิณ แปลว่าอะไร และเป็นคู่ปรับแก่นิวรณ์ชนิดไหน?


ตอบ กายคตาสติกัมมัฏฐาน พิจารณาร่างกายที่ยังมีชีวิตอยู่ให้เห็นเป็นของน่าเกลียด ส่วนอสุภกัมมัฏฐานพิจารณาซากศพ แปลว่าวัตถุอันจูงใจ คือจูงใจให้เข้าไปผูกอยู่ เป็นชื่อของกัมมัฏฐานแปลว่า มีวัตถุที่ชื่อว่ากสิณเป็นอารมณ์ เป็นคู่ปรับแก่อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ฯ

(ปี 45) การเจริญมรณสติอย่างไร จึงจะแยบคาย? ในนวสีวถิกาปัพพะ เมื่อภิกษุเห็นซากศพชนิดใดชนิดหนึ่งใน ชนิดนั้น ท่านให้ภาวนาอย่างไร?

ตอบ เจริญพร้อมด้วยองค์ คือ . มีสติ ระลึกถึงความตาย . มีญาณ รู้ว่าความตายจักมีเป็นแน่ ตัวจะต้องตายเป็นแท้

. เกิดสังเวชสลดใจ               เจริญอย่างนี้จึงจะแยบคาย ท่านให้ภาวนาโดยการน้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า อยมฺปิ โข กาโย ถึงร่างกายอันนี้เล่า เอวํ ธมฺโม ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา เอวํ ภาวี จักเป็นอย่างนี้ เอวํ อนตีโต ไม่ล่วงความเป็นอย่างนี้ไปได้

(ปี 45) อานาปานสติ ในคิริมานนทสูตร กับในมหาสติปัฏฐานสตร ต่างกันอย่างไร? ผู้เจริญเมตตาเป็นประจําย่อมได้รับอานิสงส์ อย่างไรบ้าง?

ตอบ ในคิริมานนทสูตร แสดงการกําหนดลมหายใจที่เป็นไปพร้อมในกาย เวทนา จิต และธรรม ส่วนในมหาสติปัฏฐานสูตร แสดงแต่เพียงกายานุปัสสนาเท่านั้น

ย่อมได้รับอานิสงส์ ๑๑ ประการ คือ

. หลับอยู่ก็เป็นสุข                                   .  ไฟไม่ไหม้  พิษหรือศัสตราวุธทั้งหลายไม่อาจประทุษร้าย

. ตื่นอยู่ก็เป็นสุข                                    . จิตย่อมตั้งมั่นได้เร็วพลัน

. ไมฝันเห็นสิ่งลามก                                 . ผิวพรรณย่อมผ่องใสงดงาม

. เป็นที่รักของมนุษย์ทั้งหลาย                       ๑๐. ไม่หลงทํากาลกิริยา คือเมื่อจะตายย่อมได้สติ

. เป็นที่รักของอมนุษย์ทั้งหลาย                      ๑๑. เมื่อตายแล้วแม้เกิดอีก ก็ย่อมเกิดในที่ดีเป็นที่เสวยสุข ถ้าไม่เสื่อมจากฌาน ก็ไปเกิดในพรหมโลก

. เทวดาทั้งหลายย่อมรักษา

(ปี 44) คนโทสจริต มีอุปนิสัยเป็นอย่างไร? จะแก้ด้วยการเจรญกัมมฏฐานบทใด? การที่ท่านสอนให้เจริญเมตตาในตนก่อนแล้ว จึงแผ่ไปในชนอื่น นั้น มีเหตุผลอย่างไร?

ตอบ คนที่มีจิตมักฉุนเฉียวโกรธเคืองง่าย สันดานหนักไปในโทสะ มักก่อทุกข์โทมนัสให้แก่ผู้อื่น จัดเป็นคนโทสจริต มีโทสะเป็นเครื่องประพฤติ เป็นปกติของตัว ควรเจริญกัมมัฏฐาน ประการ คือวัณณกสิณ กับพรหมวิหาร

มีเหตุผลดังนี้ คือจะได้ทําตนให้เป็นพยานว่า ตนนี้อยากได้แต่ความสข เกลียดชังทุกข์ และภัยต่าง ฉันใด สัตว์ทั้งหลายอื่น ก็อยากได้สุข เกลียด

ชังทุกข์และภัยต่าง ฉันนั้น เมื่อเห็นดังนี้แล้ว จิตก็ปรารถนาให้สัตว์ทั้งสิ้นอื่น มีความสุขความเจริญ

(ปี 44) ผู้เจริญสติปัฏฐานต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง? ผเจรญสติปัฏฐานสมบูรณ์เต็มที่แล้ว จะได้รับอานิสงส์เช่นใด?

ตอบ มี . อาตาปี มีความเพียรแผดเผากิเลส                               . สมฺปชาโน มีสัมปชัญญะ                     . สติมา มีสติ

ได้รับอานิสงส์ ประการดังนี้ . ได้ความบริสุทธิ์ . ได้ข้ามพ้นโสกะและปรเทวะ . ได้ความดับไปแห่งทุกข์และโทมนัส

. ได้บรรลุธรรมที่ถูก  . ได้ทําให้แจ้งพระนิพพาน

(ปี 43) สมถภาวนา เป็นอุบายสงบระงับจิตอย่างไร? คนที่มีจิตมักลมหลง สติไม่มั่นคง ควรเจริญกัมมัฏฐานบทใด?

ตอบ สมถภาวนา เป็นอุบายเครื่องสํารวมปิดกั้นนีวรณปกิเลส มิให้เกิด                                    ครอบงํา จิตสันดานได้ ดังบุคคลปิดทํานบกั้นนํ้าไว้มิให้ไหลไปได้ฉะนั้น และเป็นอุบายข่มขี่สะกดจตไว้มิให้ดิ้นรนฟุ้งซ่านได้ ดังนายสารถีฝึกม้าให้เรียบร้อย ควรเป็นราชพาหนะได้ฉะนั้น

ควรเจรญอานาปานัสสติ เพราะอานาปานัสสติกัมมัฏฐานนี้เป็นที่สบายของคนที่เป็นโมหจริต

(ปี 43) ผู้จะเจรญกายคตาสติกัมมัฏฐานพึงกําหนดอะไร?  เพราะเหตุใด ตจปัญจกกัมมฏฐาน ท่านจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน?

ตอบ พึงกําหนดพิจารณากายเป็นที่ประชุมแห่งส่วนน่าเกลียดข้างบนตั้งแต่พื้นเท้าขึ้นมา ข้างล่างตั้งแต่ปลายผมลงไป มีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ ให้เห็น


ว่าเต็มไปด้วยของไม่สะอาดมีประการต่าง ที่เรย


กว่ามูลกัมมฏ


ฐานนั้น เพราะเป็นกัมมัฏฐานเดม


ที่กุลบุตรผู้มาบรรพชา ย่อมได้รับสอน


กัมมัฏฐานนไี้ ว้ก่อนจากพระอุปัชฌาย์ เหมือนดังไดรับมอบศัสตราวุธไว้สําหรับต่อสู้กับข้าศึก คือกามฉันท์ อันจะทําอันตรายแก่พรหมจรรย์

(ปี 43) เจรญมรณสสติอย่างไรจึงจะแยบคาย? อะไรเป็นลักษณะของวิปัสสนาภาวนา?


ตอบ เจริญพร้อมด้วยองค์ คือ สติ ระลึกถึงความตาย ญาณ รู้ว่าความตายจักมีแก่ตน เกิดสังเวชสลดใจ เจรญอย่างนี้ จึงจะแยบคาย ฯ ความกําหนดรู้ว่า สังขารเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา เป็นลักษณะของวิปัสสนาภาวนา

(ปี  43)  เมื่อจะเจรญกัมมฏฐานพึงปฏิบัติอย่างไร?

ตอบ พึงปฏิบัติอย่างนี้ ในชั้นต้นพึงศึกษาให้รู้ว่า กัมมัฏฐานชนิดไหนชั้นใด ในกัมมัฏฐานนั้น มีความมุ่งหมายเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร ใน ที่นี้ควรศึกษาให้รู้กัมมัฏฐาน อย่างคือ . สมถกัมมัฏฐาน    . วิปัสสนากัมมัฏฐาน ฯ

 

พุทธคุณกถา (นวรหคุณ แปลว่า คุณของพระอรหันต์ ประการ)

(ปี 63, 59) ในพระพุทธคุณ ประการนั้น ส่วนไหนเป็นเหตุ ส่วนไหนเป็นผล ? เพราะเหตไุ ?

ตอบ พระพุทธคุณ ส่วนอัตตสมบัติ เป็นเหตุ ส่วนปรหตปฏิบัติ เป็นผล เพราะทรงบริบูรณ์ด้วยพระพุทธคุณส่วนอัตตสมบัติก่อนแล้วจึงทรง บําเพ็ญพุทธกิจให้สําเร็จประโยชน์แก่เวไนย

(ปี 56) คุณของพระธรรมส่วนปริยัติ ปฏิบัติ และปฏิเวธ โดยย่อว่าอย่างไร? จงอธิบาย

ตอบ       คุณของปริยัติธรรม คือให้รู้วิธีบําเพ็ญศีล สมาธิ ปัญญา

คุณของปฏิปัตติธรรม คือทํากาย วาจา ใจ ให้บริสุทธิ์จนบรรลมรรค ผล นิพพาน คุณของปฏิเวธธรรม คือละกิเลสเป็นสมุจเฉทปหาน บรรลุถึงความสขอย่างยิ่ง

(ปี 55) จงแสดงพระพุทธคุณ โดยอัตตสมบัติและปรหิตปฏิบัติ พอได้ใจความ

ตอบ       พระพุทธคุณ คือ อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู เป็นพระพุทธคุณส่วนอตตสมบัติ พระพุทธคุณ คือ อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ เป็นพระพุทธคุณส่วนปรหตปฏิบัติ พระพุทธคุณ คือ พุทฺโธ ภควา เป็นพระพุทธคุณทั้งอัตตสมบัติและปรหิตปฏบัติ

(ปี 50) จงจัด นวหรคุณ แต่ละอย่างลงในพระปัญญาคุณและพระกรุณาคุณ?

ตอบ       บท อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู เป็นพระปัญญาคุณ บท อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ เป็นพระกรุณาคุณ

บท พุทฺโธ ภควา เป็นพระปัญญาคุณและพระกรุณาคุณทั้งสอง (สุคโต ในที่บางแห่ง จัดเป็นทั้งพระปัญญาคุณทั้งพระกรุณาคุณ)

(ปี 48) พระพุทธคุณบทว่า สตฺถา เทวมนุสฺสานํ เมื่อกล่าวถึงพุทธจรรยาในส่วนที่ทรงสั่งสอนมหาชน ประมวลลงเป็นข้อได้อย่างไรบ้าง?

ตอบ ประมวลลงได้อย่างนี้               . ทรงพระกรณาหวังจะให้ผู้ที่ทรงสั่งสอน ได้ความรู้อันจะให้สําเร็จประโยชน์

. ทรงมุ่งความจริงกับประโยชน์เป็นที่ตั้ง . ทรงทํากับตรัสเป็นอย่างเดียวกัน . ทรงฉลาดในวิธีสั่งสอน

(ปี 47) พระพุทธคุณบทว่า สุคโต นั้น เป็นพระคุณส่วนอัตตสมบัติ และส่วนปรหิตปฏิบัติอย่างไร? จงอธิบาย

ตอบ พระคุณส่วนอตตสมบัติ คือ เสด็จออกผนวชไม่ย่อท้อ เสด็จดาํ เนินไปตามอัฏฐังคิกมรรคเป็นมัชฌิมาปฏิปทา มิได้ทรงกลับคืนมาสู่อํานาจ กิเลสที่พระองค์ทรงละได้แล้ว จนบรรลุอนตตรสัมมาสมโพธิญาณ เสด็จไปในที่ใด ก็ทรงไม่มีอันตรายใดจักเกิดแก่พระองค์ได้ เสด็จไปกลบได้โดย สวัสดี ฯ

พระคุณส่วนปรหิตปฏิบัติ คือ เสด็จจาริกไปในสถานที่ต่างๆ เทศนาโปรดมหาชนให้ได้ดวงตาเห็นธรรม ให้ได้รับประโยชน์ทั้งปัจจุบัน อนาคต และ ประโยชน์อย่างยิ่งคือพระนิพพาน อนึ่ง ทรงมีพระวาจาดี คือทรงกล่าวแต่คําที่จริงที่แท้ ประกอบด้วยประโยชน์แก่บุคคลที่ควรกล่าว เสด็จไประงับ อันตรายด้วยความอนุเคราะห์เกื้อกูลแก่ปวงชน แม้เสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้ว ทรงฝากรอยจารึก คือพระคุณความดีในโลก ดุจฝนตกลงยังพืช ให้เผลดผล เป็นประโยชน์แก่คนและสตว์ผู้พึ่งแผ่นดิน

(ปี 46) ปริยัติธรรม หมายถึงอะไร? ที่ได้ชื่ออย่างนั้นเพราะเหตุไร?  ธรรมทั้งปริยติ ปฏิบัติ และปฏิเวธ มีคุณโดยย่ออย่างไร?


ตอบ หมายถึง พุทธวจนะทั้งสิ้น ที่ได้ชื่อว่าปริยัติธรรม เพราะเป็นธรรมต้องเล่าเรียนศึกษาให้รู้รอบคอบด้วยดี มีคุณโดยย่ออย่างนี้

ปริยัติธรรม มีคุณคือ ให้รู้วิธีบําเพ็ญ ศีล สมาธิ ปัญญา

ปฏิบัติธรรม มีคุณคือ ทํากาย วาจา ใจ ให้บริสุทธิ์จนบรรลุมรรค ผล นิพพาน

ปฏิเวธธรรม คือมรรค ผล นิพพาน มรรคผลนั้น มีคุณคือ ละกิเลสเป็นสมุจเฉทปหาน ส่วนนิพพาน มีคุณคือ ดับเพลิงกิเลสและกองทุกข์ได้ทั้งหมดฯ (ปี 45) จงแสดงพระพุทธคุณ โดยอัตตสมบัติและปรหิตปฏิบัติ พอได้ใจความ? ในพระพุทธคุณ ประการนั้น ส่วนไหนเป็นเหตุ ส่วนไหนเป็น ผล? เพราะเหตุไร?

ตอบ      พระพุทธคุณ ตั้งแต่ อรหํ จนถึง โลกวิทู เป็นพระพุทธคุณส่วนอัตตสมบัติ

พระพุทธคุณ คือ อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ เป็นพระพุทธคุณส่วนปรหตปฏิบัติ พระพุทธคุณ คือ พุทฺโธ ภควา เป็นพระพุทธคุณทั้งอัตตสมบัติและปรหิตปฏบัติ

พระพุทธคุณ ส่วนอัตตสมบัติ เป็นเหตุ ส่วนปรหิตปฏิบัติ เป็นผล เพราะทรงบริบูรณ์ด้วยพระพุทธคุณส่วนอัตตสมบัติก่อนแล้วจึงทรงบําเพ็ญพุทธ กิจให้สําเร็จประโยชน์แก่เวไนย

 


วิปัสสนากัมมฏฐาน หลักการเจริญวิปัสสนา

Ø  การเจริญวิปัสสนามีขันธ์ เป็นอารมณ์

ในพหุลานุสาสนีที่สวดในเวลาทําวัตรเช้า ตรัสสั่งสอนแต่โดยอนิจจลักษณะอนัตตลักษณะ หาได้ตรส


 

 

ทุกขลักษณะไม่ แม้บ่มิ


ได้กลาว ก็สําเร็จด้วย อนิจจลักษณะแล้ว เพราะเหตลักษณะทั้ง นี้ เป็นธรรมธาตุ ธรรมนิยาม ธรรมฐิติ ความตั้งอยู่ แห่งธรรมที่ คงอยู่บ

มิ ได้ยักย้ายประการหนึ่ง ยทนิจฺจํ สิ่งใดไม่เที่ยง ตํ ทุกฺขํ สิ่งนั้นเป็นทุกข์ ยํ ทุกฺขํ ตทนตฺตร สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งใดเป็น

อนัตตาแล้วก็ไม่ควรที่ จะถือมั่นซึ่งสิ่งนั้น ด้วยตณหามานะทิฏฐิอย่างใดอย่างหนึ่งเลย ตสฺมา เหตุนั้น พหุลานุสาสโนวาทนี้ จึงได้ลักษณะ

ครบทั้ง คือ อนิจฺ จตา ความเป็นของไม่เที่ยง ทุกฺขตา ความเป็นทุกข์ อนตฺตตา ความเป็นอนัตตา.

 

Ø  ธรรมเป็นภูมเป็นอารมณ์ของวิปัสสนานั้น ได้แก่ )สังขาร เป็นอารมณ์                                       )ธรรม เป็นอารมณ์             )ขนธ์ เป็นอารมณ

)ขนธ์ พร้อมทั้งเหตุและปัจจัย เป็นอารมณ์

 

 


Ø  รากเหง้าป็นเหตุเกิดขึ้นตั้งอยู่ของวิปัสสนา (ขั้นตอนก่อนการปฏิบัติวิปัสสนา)

.สีลวิสุทธิ ความบริสุทธิ์ของศีล                                  .จิตตวิสุทธิ ความบริสุทธิ์ของจิต คืออุปจารสมาธิและอัปปนาสมาธิ

วิสุทธิทั้ง นี้ เป็นรากเหง้าป็นเหตุเกิดขึ้นตั้งอยู่ของวิปัสสนานั้น. ผู้ที่จะเจรญวิปัสสนานั้นต้องปฏิบัติให้เป็นผู้มีศีลบริสุทธ์ เป็นผู้มีจิตบรส ด้วยสมาธิเสยก่อน จึงควรจะเจริญวิปัสสนานั้นได้เลย เพราะศีลและสมาธิเป็นเหตุแรงกล้าให้เกิดวิปัสสนานั้น.

 

Ø  วิสุทธิทั้ง นี้เป็นตัววิปัสสนา (ขั้นตอนการปฏิบัติวิปัสสนา)


 

ุทธิ์


. กําหนดรู้เห็นนามและรูปที่มีจริงเปนจรงตามลักิ                      ษณะเครื่องหมายแจ้งชัด ไม่หลงในสมมติ ว่าสัตว์ ว่าบุคคล ว่าตัวตน ดังนี้ ชื่อว่าทิฏฐิวิสุทธ.

.  กําหนดรู้จริงเห็นซึ่งนามและรูปทั้งเหตุทั้งปัจจัยข้ามล่วงกังขาในกาลทั้ง เสียได้ ไม่สงสัยว่า เราจุติมาแต่ไหน เราเป็นอะไร เราจะไปเกิดที่ไหน เทวดามีหรือไมมีเป็นต้น ดังนี้ ชื่อว่ากังขาวิตรณวิสุทธิ.

. ความรู้จริงเห็นจริงว่า นี่เป็นตัววิปัสสนาเป็นทางมรรคผล นี่เป็นอุปกเลส มิใช่ทางมรรคผล ดังนี้ ชื่อว่ามัคคามัคคญาณทัสสนาวิสุทธิ.


.  วิปัสสนาญาณทั้ง มีอุทยัพพญาณเป็นต้น มีอนุโลมญาณเป็นที่สุด ชื่อว่าปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ.

. อริยมรรคทั้ง ชื่อว่าญาณทัสสนวิสุทธิ.

 

Ø อรกสูตร ในคัมภีร์สตตกังคุตรว่า ภูตปุพฺพํ ภิกฺขเว อรโก นาม สตฺถา อโหสิ ติตฺถกโร กาเมสุ วีตราโค เป็นต้น มีความเป็นกระแสพระพุทธ ภาษิตว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรื่องนี้ได้เคยมีมาแล้ว มีศาสดาเจ้าลัทธิผู้หนึ่งชื่ออรกะ เป็นคนปราศจากกําหนัดในกามคุณ และสาวกของ อรกศาสดานั้นมีหลายร้อย อรกศาสดานั้น แสดงธรรมแก่พวกสาวกวาดังนี้ ชีวิตของมนุษย์ทั้งหลายน้อยนิดเดยว พลันจะดับ มีทุกข์มาก

มีความคับแค้นมาก ควรรสึกด้วยปัญญา ควรบําเพ็ญกุศล ควรประพฤติพรหมจรรย์ เกิดแล้วจะไม่ตายไม่มี. ต่อนี้ในพระสูตรแสดงอุปมา

เป็นหลายข้อ จะถวายวิสัชนาพร้อมทั้งอรรถาธิบายเป็นลําดับไป

ข้อ ว่า ชีวิตของมนุษย์ทั้งหลายเหมือนหยาดนํ้าค้าง ธรรมดาว่าหยาดนํ้าค้างที่ปลายใบหญ้า เมื่อพระอาทิตย์อุทัยต้องไอร้อน ก็พลันจะหายไป

ไม่ตั้งอยู่นานฉันใด ชีวิตของมนุษย์ทั้งหลายนี้เลา เมื่อชาติมีแล้ว ก็มีชรา พยาธิ มรณะ คอยรุมเผาไม่ให้เป็นไปนาน พลันสาบสญอันตรธานเสียแต่ไม่

ทันไร เกิดแล้วก็แก่เฒ่าเจ็บตาย ในชวยังไม่ทันถึงร้อยปี ข้อนี้ก็อุปไมยฉันนั้น.

ข้อ ว่า เหมือนต่อมนํ้า (เหมือนฟองนํ้า) ธรรมดาว่าต่อมนํ้าอันตั้งขึ้นเพราะฝนเม็ดโตตกกระทบพื้นโดยกําลังแรง ย่อมพลันจะแตกไปไม่ตั้งอยู่

นานฉันใด   ชีวิตตนเกิดขึ้นเพราะความประชุมแห่งเหตุ   เมื่อเหตสลายจากกันแล้ว   ก็พลันทจะดับฉันนั้น.ี่

ข้อ ว่า เหมือนรอยไม้ขีดลงในนํ้า ธรรมดาว่านํ้าเป็นของไม่แยกจากกัน เมื่อบุคคลเอาไม้ขีดให้แยกจากกัน พอไม่มีไม้คั่น ก็กลับเลอนไหลเข้าหา กันอีน รอยปรากฏในชั่วเวลาไม้ขีดกําลังลงฉันใด ชีวิตนี้ยังเป็นไปได้ก็เพราะได้ปัจจัยอุดหนุน หมดปัจจัยแล้วก็หมดกัน สมด้วยพระพุทธภาษิตว่า

อายุ อุสฺมา จ วิญฺญาณํ               ยทา กายํ ชหนฺติมํ อปวิฏฺโฐ ตทา เสติ                               เอตฺถา สาโร วิชฺชติ.

ความว่า เมื่อใด อายุ ไออุ่น และวิญญาณ ละกายนี้เสีย เมื่อนั้นกายนี้ย่อมนอนทอดหาแก่นสารมไิ ด้ ข้อนี้ก็มีอุปไมยฉันนั้น.

ข้อ ว่า เหมือนลําธารอันไหลมาจากภูเขา ธรรมดาว่ากระแสนํ้าในลําธารไหลไปไกล กําลังเชี่ยว นําเอาสิ่งที่อาจนําได้ไปไม่มหยุดสักขณะ มีแต่ จะไหลไปอย่างเดียวฉันใด วันคืนลวงไป ก็นําเอาชีวิตล่วงตามไปด้วย ไม่มีพักสักขณะ มีแต่จะรุกไปสวนเดียวฉันนั้น.

ข้อ ว่า เหมือนก้อนเขฬะ(เหมือนก้อนเสลด) ธรรมดาว่าบุรุษมีกําลัง จะถ่มก้อนเขฬะที่ปลายสิ้นได้โดยไม่ยากฉันใด ชีวิตนี้ก็เป็นของจะดับได้ ง่ายฉันนั้น.

ข้อ ว่า เหมือนชิ้นเนื้อนาบไฟ ธรรมดาว่าชิ้นเนื้อที่บุคคลเอาลงในกะทะเหล็กอันร้อนตลอดวันยังคํ่า ย่อมจะพลันไหม้ ไม่ตั้งอยู่นานฉันใด ชีวิต ก็ต้องเพลิงกิเลสและเพลิงทุกข์เผาผลาญให้เหี้ยมเกรียมไม่ทนอยู่นานฉันนั้น.

ข้อ ว่า เหมือนโคที่เขาจะฆ่า ต้องนําไปสู่ที่ฆ่า ยกเท้าเดินไปเท่าใด ความตายก็ใกล้เข้ามาเท่านั้น ชีวิตนี้วันคืนล่วงไปเท่าใด ก็ใกล้ความตายเข้า ไปเท่านั้นเหมือนกัน.

 

Ø อนัตตลักขณสูตร ทรงยก ขันธ์ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นอนัตตา ในตอนท้ายของพระสูตร ทรงแสดงอานิสงส์แห่ง วิปัสสนาว่า เอวํ ปสฺสํ ภิกฺขเว สุตวา อริยสาวโก เป็นต้น ความว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เมื่อเห็นอย่างนี้ ย่อมเบื่อ หน่าย ย่อมฟอกจิตให้หมดจด เพราะการฟอกจิตให้หมดจดได้ จิตนั้นก็พ้นจากอาสวะทั้งปวง เมื่อจิตพ้นพิเศษแล้ว ก็มีญาณหยั่งรู้ว่า พ้น แล้ว และเธอรู้ประจักษ์ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์คือกิจพระศาสนาได้ทําเสร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทําเช่นนี้ ไม่มีอีก

 

Ø  วิปลาส (บางทีก็ใช้ วิปัลลาส ก็มี)

วิปลาสด้วยอํานาจจิตและเจตสิก ประการ คือ

. สัญญาวิปลาส วิปลาสด้วยอํานาจสําคัญผิด


. จิตตวิปลาส วิปลาสด้วยอํานาจคิดผิด

. ทิฏฐิวิปลาส วิปลาสด้วยอํานาจเห็นผิด

วิปลาสกล่าวด้วยสามารถวัตถุที่ตั้งเป็น(หรือตามเรื่องที่ยึดถือ) ประการ คือ

. วิปลาสในของที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง

. วิปลาสในของที่เป็นทุกข์ว่าเป็นสุข

. วิปลาสในของที่ไม่ใช่ตนว่าเป็นตน

. วิปลาสในของที่ไม่งามว่างาม

Ø  ฐานะ

. อนิจจะ                          ของไม่เที่ยง

. อนิจจลักขณะ เครื่องหมายที่จะให้กาํ หนดรู้ว่าไม่เที่ยง

. ทุกขะ                           ของสัตว์ทนได้ยาก

. ทุกขลักขณะ                      เครื่องหมายที่จะให้กําหนดรู้ว่าเป็นทุกข์

. อนัตตา                          สิ่งสภาพไม่ใช่ตัวตน

.  อนัตตลักขณะ เครื่องหมายที่จะกําหนดรู้ว่าเป็นอนัตตา

 

(ปี 64) ทุกข์ และ ทุกขลักขณะ เป็นอย่างเดียวกันหรือต่างกัน ? จงอธิบาย

ตอบ ต่างกันคือ            ทุกข์ ได้แก่ปัญจขันธ์

ทุกขลักขณะ ได้แก่ปัญจขันธ์ที่ถูกเบียดเบียนถูกบีบคั้นจากเหตุปัจจัยอันเป็นข้าศึก เช่น ความเย็น ความร้อน เป็นต้น

(ปี 63, 61) วิปัลลาสคืออะไร ? วัตถุที่วิปัลลาส มีอะไรบ้าง ?

ตอบ คือ กิริยาที่ถือเอาโดยอาการอันผิดจากความจริง

มี อย่าง คือ . วิปัลลาสในของที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง . วิปัลลาสในของที่เป็นทุกข์ว่าเป็นสุข . วิปัลลาสในของที่ไม่ใช่ตนว่าเป็นตน

. วิปัลลาสในของที่ไม่งามว่างาม

(ปี 60) ทุกขลักขณะ และ ทุกขานุปัสสนา เป็นอย่างเดียวกันหรือต่างกัน ? จงอธิบาย

ตอบ ต่างกันคือ            ทุกขลักขณะ ได้แก่ ลักษณะที่เป็นทุกข์แห่งสังขาร เพราะถูกบีบคั้น จากปัจจัยต่าง

ทุกขานุปัสสนา ได้แก่ ปัญญาพิจารณาเห็นสังขารว่าเป็นทุกข์

(ปี 59) ในวิสุทธิ วิสุทธิข้อไหนบ้าง เป็นเหตุให้เกิดขึ้นและตั้งอยู่แห่งวิปัสสนา? เพราะเหตุไร? จงอธิบาย

ตอบ ข้อสีลวิสุทธิ ความบริสุทธิ์แห่งศีล และจิตตวิสุทธิ ความบริสุทธิ์แห่งจิตเป็นเหตุให้เกิดขึ้นและตั้งอยู่แห่งวิปัสสนา

เพราะผู้มีศีลไม่บรสุทธิ์ จิตย่อมไม่สงบ เมื่อจิตไม่สงบก็ยากที่จะเจริญวิปัสสนา

(ปี 58) ท่านว่า ผู้ที่จะเจริญวิปัสสนาปัญญา พึงรู้ฐานะ ก่อน ฐานะ นั้น มีอะไรบ้าง ?

ตอบ มี . อนิจจะ ของไม่เที่ยง

. อนิจจลักขณะ เครื่องหมายที่จะให้กําหนดรู้ว่าไม่เที่ยง

. ทุกขะ ของสัตว์ทนได้ยาก

. ทุกขลักขณะ เครื่องหมายที่จะให้กําหนดรู้ว่าเป็นทุกข์

. อนัตตา สิ่งสภาพไม่ใช่ตัวตน

. อนัตตลักขณะ เครื่องหมายที่จะกําหนดรู้ว่าเป็นอนัตตา


(ปี 57) ปัจจุบันมีการเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานกันมาก อยากทราบว่า อารมณ์ของวิปัสสนากัมมัฏฐาน คืออะไร ?

ตอบ คือสังขารทั้งหลาย ทั้งที่เป็นอุปาทินนกะและอนุปาทินนกะ (หรือ ธรรมในวิปัสสนาภูมิ คือขันธ์ อายตนะ ธาตุ เป็นต้น)

(ปี 56) ในอรกสูตรกล่าวไว้ว่า ชีวิตของมนุษย์ทั้งหลายเปรียบเหมือนชิ้นเนื้อนาบไฟ มีอธิบายอย่างไร? และที่กล่าวไว้เช่นนั้นเพื่อประโยชน์อะไร?

ตอบ มีอธิบายว่า ธรรมดาว่าชิ้นเนื้อที่บุคคลเอาลงในกะทะเหล็กอันร้อนตลอดวันยังคํ่า ย่อมจะพลันไหม้ ไม่ตั้งอยู่นานฉันใด ชีวิตก็ถูกเพลิงกิเลส


และเพลิงทุกข์เผาผลาญให้เหี้ยมเกรียมไม่ทนอยู่นานฉันนั้น มีประโยชน์ คือเป็นเครื่องเตือนใจให้รส สมความดี ฯ

(ปี 56) วิปลาส คืออะไร? จําแนกโดยวัตถุเป็นที่ตั้งมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?

ตอบ คือ กิริยาที่ถือเอาโดยอาการวิปริตผดจากความจริง มี อย่าง คือ ความสําคัญคิดเห็นในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง ความสําคัญคิดเห็นในสิ่งที่เป็นทุกข์ว่าเป็นสุข ความสําคัญคิดเห็นในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่าเป็นตน และ ความสําคัญคิดเห็นในสิ่งที่ไม่งามว่างาม

(ปี 55) ปัญญารู้เห็นอย่างไร ชื่อว่าวิปัสสนาปัญญา?


ึกด้วยปัญญา ทําให้ไม่ประมาทในชีวิต เร่งสั่ง


ตอบ ปัญญาอันเห็นตามเป็นจริง คือกําหนดรสังขารโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ถอนความถือมั่น

ด้วยอํานาจตัณหา มานะ ทิฏฐิเสียได้ ชื่อว่าวิปัสสนาปัญญา

(ปี 54) ในอรกสูตร กล่าวไว้ว่า ชีวิตของมนุษย์ทั้งหลายเปรียบเหมือนหยาดนํ้าค้าง ดังนี้ มีอธิบายอย่างไร? และที่กล่าวไว้เช่นนั้นมีประโยชน์ อย่างไร? ตอบ มีอธิบายว่า ธรรมดาหยาดนํ้าค้างที่จับอยู่ตามยอดหญ้า เมื่อถูกแสงอาทิตย์ในเวลาเช้า ก็พลันจะเหือดแห้งหายไปฉันใด ชีวิตของ มนุษย์ทั้งหลายก็ฉันนั้น มีความเกิดแล้วก็มีความแก่ ความเจ็บ ความตาย คอยเบียดเบียน ทําให้ดํารงอยู่ไดไ้ ม่นาน ไม่ถึงร้อยปีก็จะหมดไป เพื่อ เป็นเครื่องเตือนใจให้รู้สึกด้วยปัญญา ทําให้ไม่ประมาทในชีวิต เร่งสงั่ สมความดี

(ปี 54) ในอนัตตลักขณสตร พระศาสดาทรงยกธรรมอะไรขึ้นแสดงว่าเป็นอนัตตา? และในตอนท้ายของพระสูตร ทรงแสดงอานิสงส์แห่งวิปัสสนา ว่าอย่างไร? ตอบ ทรงยก ขันธ์ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ขึ้นแสดง

ทรงแสดงไว้ว่า เอวํ ปสฺสํ ภิกฺขเว สุตวา อริยสาวโก เป็นต้น ความว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เมื่อเห็นอย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่าย ย่อมฟอกจิตให้หมดจด เพราะการฟอกจิตให้หมดจดได้ จิตนั้นก็พ้นจากอาสวะทั้งปวง เมื่อจิตพ้นพิเศษแล้ว ก็มีญาณหยั่งรู้ว่า พ้นแล้ว และเธอรู้ ประจักษ์ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์คือกิจพระศาสนาได้ทําเสร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทําเช่นนี้ ไม่มอีก

(ปี 53) ปัญหาว่าตายแล้วเกิดหรือตายแล้วสูญจะหมดไปได้ เมื่อเจริญวิปัสสนาได้ชั้นไหนแล้ว? เพราะได้พิจารณาเห็นอย่างไร?

ตอบ ชั้นกังขาวิตรณวิสุทธิ เพราะได้พิจารณากําหนดรู้จริงเห็นจริงซึ่งนามรูปทั้งเหตุทั้งปัจจัย ข้ามลวงกังขาในกาลทั้ง เสียได้ ไม่สงสัยว่า เรา จุติมาจากไหน เราเป็นอะไร เราจะไปเกิดที่ไหน เป็นต้น

(ปี 52) ในพหุลานุสาสนีที่สวดในเวลาทําวัตรเช้า ไม่มีทุกขลักษณะพระไตรลักษณไ์ ม่ขาดไปข้อหนึ่งหรออย่างไร? จงอธิบาย

ตอบ ไม่ขาด เพราะลักษณะทั้ง นี้ เป็นธรรมธาตุ ธรรมนิยาม ธรรมฐิติ ความตั้งอยู่แห่งธรรมที่คงอยู่มิได้ยักย้าย อีกประการหนึ่ง บาลีว่า ยทนิจฺจํ สิ่งใดไม่เที่ยง ตํ ทุกฺขํ สิ่งนั้นเป็นทุกข์ ยํ ทุกขํ สิ่งใดเป็นทุกข์ ตทนตฺตา สิ่งนั้นเป็นอนัตตา มิใช่ตัวมิใช่ตน เพราะเหตุนั้น พหุลานุสาสนีจึงได้ครบ ลักษณะทั้ง


(ปี 52) อนัตตลักขณสูตร ว่าด้วยเรื่องอะไร? ในพระสูตรนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงอานส

ตอบ ว่าด้วย ขันธ์ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นอนัตตา


งส์แห่งวิปัสสนาญาณไว้อย่างไร?


อานิสงส์แห่งวิปัสสนาญาณนั้นว่า เอวํ ปสฺสํ ภิกฺขเว สุตฺวา อริยสาวโก เป็นต้น ความว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เมื่อเห็นอย่างนี้ ย่อมหน่ายในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เมื่อหน่ายก็ย่อมฟอกจิตให้หมดจด เพราะการฟอกจิตให้หมดจดให้ จิตนั้นก็พ้นจากอาสวะทั้งปวง


เมื่อจิตพ้นพิเศษแล้ว ก็มีญาณหยั่งรู้ว่าพ้นแล้ว และพระอริยสาวกนั้นรู้ประจักษ์ว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์คือกิจศาสนาได้ทําเสร็จแล้ว กิจอื่นที่ จะต้องทําเช่นนี้ไม่มีอีก ฯ

(ปี 51) ผู้จะเจรญวิปัสสนาภาวนา พึงศึกษาให้รู้จักธรรม ประการ อะไรบ้าง?

ตอบ ธรรม ประการ คือ . ธรรมเป็นภูมิเป็นอารมณ์ของวิปัสสนานั้น (มีขันธ์ เป็นต้น)

. ธรรมเป็นรากเหง้า เป็นเหตุเกิดขึ้นตั้งอยู่ของวิปัสสนานั้น (คือสีลวิสุทธิและจิตตวิสุทธิ)

. ตัว คือ วิปัสสนานั้น (คือ วิสุทธิ ที่เหลือ)

(ปี 51) วิปัลลาส คืออะไร? แบ่งตามจิตและเจตสิกได้กี่ประเภท? อะไรบ้าง?

ตอบ คือ กิริยาที่ถือโดยอาการวิปริตผดจากความเป็นจริงฯ แบ่งได้ ประเภท คือ๑. สัญญาวิปัลลาส . จิตตวิปัลลาส . ทิฏฐิวิปัลลาสฯ

(ปี 50) อะไรเป็นลักษณะ เป็นกจ และเป็นผลของวิปัสสนา?

ตอบ สภาพความเป็นเองของสังขาร คือเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา จริงอย่างไร ความรู้ความเห็นว่าสังขารเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา แจ้งชัดจริงอย่างนั้น เป็นลักษณะของวิปัสสนา

การกําจัดโมหะความมืดเสยให้สิ้นเชิง ไม่หลงในสังขารว่าเป็นของเที่ยง เป็นสุข เป็นตัวเป็นตน เป็นของงาม เป็นกิจของวิปัสสนา ความรู้แจ้งเห็นจริงในสังขารทั้งหลายว่าเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา อันสืบเนื่องมาจากการกําจัดโมหะความมืดเสียได้สิ้นเชิง ไม่มีความรู้

ผิดความเห็นผด เป็นผลของวิปัสสนา

(ปี 50) ในอรกสูตร ทรงแสดงอุปมาชีวิตของมนุษย์ทั้งหลายไว้อย่างไรบ้าง จงบอกมา ข้อ? ที่ทรงแสดงไว้เช่นนั้นเพื่ออะไร?

ตอบ ทรงแสดงไว้ดังนี้ คือ (ให้ตอบเพียง ข้อ) . เหมือนหยาดนํ้าค้าง . เหมือนต่อมนํ้า . เหมือนรอยไม้ขีดลงในนํ้า

. เหมือนลําธารอันไหลมาจากภูเขา . เหมือนก้อนเขฬะ . เหมือนชิ้นเนื้อนาบไฟ . เหมือนโคที่เขาจะฆ่า ฯ ทรงแสดงไว้เพื่อเป็นเครื่องเตือนใจให้เร่งรีบทําความดีให้ทันกับเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่


(ปี 49) การทําวัตรสวดมนต์ เป็นกิจวัตรของพระภิกษส ทําวัตรเช้ามาดูพอเป็นตัวอย่าง?


ามเณรและเป็นภาวนากุศล จงแสดงวิธีเจรญสมถกัมมัฏฐานและวิปัสสนากัมมฏ


ฐาน ในบท


ตอบ การสวดนมัสการพระรัตนตรัยก็ดี สวดสรรเสริญคุณพระรัตนตรัยก็ดี เป็นการน้อมจิตระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ ชื่อว่า เจริญพุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ จัดเป็นสมถกัมมัฏฐาน

สวดสังเวคปริกิตตนปาฐะว่า ชาติปิ ทุกฺขา ชราปิ ทุกฺขา มรณมฺปิ ทกฺขํ... รูปํ อนิจฺจํ เวทนา อนิจฺจา... รูปํ อนตฺตา เวทนา อนตฺตา... เป็นอาทิ ตั้งสติ มีความเพียร ใช้ปัญญาพิจารณาเบญจขันธ์ ยกขึ้นสู่ สามัญลักษณะ จัดเป็นวิปัสสนากัมมัฏฐานฯ

(ปี   47)   พระบรมศาสดาทรงแสดงอานิสงส์แห่งวิปัสสนาไว้ในอนัตตลกขณสูตรอย่างไร?

ตอบ ทรงแสดงไว้ว่า เอวํ ปสฺสํ ภิกฺขเว สุตวา อริยสาวโก เป็นต้น ความว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เมื่อเห็นอย่างนี้ ย่อมเบื่อ หน่าย ย่อมฟอกจิตให้หมดจด เพราะการฟอกจิตให้หมดจดได้ จิตนั้นก็พ้นจากอาสวะทั้งปวง เมื่อจิตพ้นพิเศษแล้ว ก็มีญาณหยั่งรู้ว่า พนแล้ว และ เธอรู้ประจักษ์ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์คือกิจพระศาสนาได้ทําเสร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทําเช่นนี้ไม่มีอีก

(ปี 47) กิจ เหตุ และผลของวิปัสสนา ได้แก่อะไร?

ตอบ กิจ ได้แก่ การกําจัดความมืดคือโมหะ อันปิดบังปัญญาไว้ ไม่ให้เห็นตามความเป็นจริง เหตุ ได้แก่ การที่จิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ฟุ้งซ่าน

ผล ได้แก่ การเห็นสังขารตามความเป็นจริง

(ปี 46) ความกําหนดรู้อย่างไร จัดเป็นลักษณะของวิปัสสนาภาวนา? ผู้เจรญวิปัสสนาภาวนา พึงรู้ฐานะทั้ง ก่อน ฐานะทั้ง นั้น คืออะไรบ้าง?

ตอบ ความกําหนดรู้ว่า สังขารทั้งปวงเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา เป็นลักษณะของวิปัสสนาภาวนา ฐานะทั้ง ๖ คือ     อนิจจะ      ของไม่เที่ยง


อนิจจลักขณะ            เครื่องหมายที่จะกําหนดรู้ว่าไม่เที่ยง ทุกขะ         ของที่สัตว์ทนยาก ๑

ทุกขลักขณะ             เครื่องหมายที่จะให้กําหนดรู้ว่าเป็นทุกข์ อนัตตา      สภาวะมิใช่ตัวมิใช่ตน ๑

อนัตตลักขณะ            เครื่องหมายที่จะให้กําหนดรู้ว่าเป็นอนัตตา

(ปี 44) วิปัลลาสคืออะไร? จําแนกโดยวัตถุเป็นที่ตั้งมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? จะถอนวิปัลลาสนั้นได้เพราะเจรญธรรมอะไร?

ตอบ       คือ กิริยาที่ถือเอาโดยอาการวิปรตผิดจากความจริง มี อย่างคือ . วิปัลลาสในของที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง

. วิปัลลาสในของที่เป็นทุกข์ว่าเป็นสุข . วิปัลลาสในของที่ไม่ใช่ตนว่าเป็นตน . วิปัลลาสในของที่ไม่งามว่างาม วิปัลลาสในของที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง จะถอนได้ด้วยอนิจจสัญญา

วิปัลลาสในของที่เป็นทุกข์ว่าเป็นสุข จะถอนได้ด้วยทุกขสัญญา วิปัลลาสในของที่ไม่ใช่ตนว่าเป็นตน จะถอนได้ด้วยอนัตตสัญญา วิปัลลาสในของที่ไม่งามว่างาม จะถอนได้ด้วยอสุภสัญญา

 


มหาสติปัฏฐานสูตร

(ปี 50) ตามมหาสติปัฏฐานสูตร ผู้เจรญสติปัฏฐาน ตลอด วันถึงตลอด ปี พึงหวังผลอะไรได้บ้าง?

ตอบ พึงหวังผล อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ พระอรหัตผลในปัจจุบันชาตินี้ หรือเมื่อวิบากขันธ์ที่กิเลสมีตณ พระอนาคามี ๑ ฯ

(ปี 48) ในธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน พระพุทธองค์ทรงแสดงวิธีพิจารณาสติสัมโพชฌงค์ไว้ด้วยอาการอย่างไร?


 

หาเป็นต้นเข้ายึดไว้ยังเหลืออยู่เป็น


ตอบ ด้วยอาการอย่างนี้ คือ  เมื่อสตสัมโพชฌงค์มีอยู่ ภายในจิต ก็รู้ชัดว่ามีอยู่ ภายในจิตของเรา

เมื่อไมมีอยู่ ภายในจิต ก็รู้ชัดว่าไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา เมื่อยังไม่เกิด แต่จะเกิดขึ้นด้วยประการใด ก็รู้ชัดด้วยประการนั้น

เมื่อเกิดขึ้นแล้วเจรญบริบูรณ์ขึ้นด้วยประการใด ก็รู้ชัดด้วยประการนั้น

(ปี 47) ในมหาสติปัฏฐานสูตร สติปัฏฐาน มีชื่อเรียกอีกอย่างว่ากระไร? สติปัฏฐาน นั้น มีอานิสงสอย่างไรบ้าง?

ตอบ เอกายนมรรค มีอานิสงส์ ประการ คือ . เพื่อความบริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้งหลาย . เพื่อความข้ามพ้นโสกะและปรเทวะ

. เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส . เพื่อบรรลุธรรมที่ควรรู้ . เพื่อการทําให้แจ้งพระนิพพาน (ปี 44) การพิจารณากองลมหายใจเข้าออก เพียงแต่รู้ว่าสั้นยาว ดังนี้ จัดเป็นสติปัฏฐานข้อไหน? ในธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน หัวขอธรรมที่จะนํามาพิจารณานั้นมีอะไรบ้าง?

ตอบ จัดเป็นกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน มี นิวรณ์ อุปาทานขันธ์ อายตนะ โพชฌงค์ และอริยสัจ

 

 

คิริมานนทสูตร

Ø สัญญา ๑๐ ความกําหนดหมายรู้ เป็นแนวสําหรับยกพิจารณาในการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน เพื่อทําให้เกิดปัญญารอบรู้สังขารธรรรม ทั้งหลาย

. อนิจจสัญญา กําหนดพิจารณาขันธ์ ให้เห็นของไม่เที่ยง

. อนัตตสัญญา กําหนดพิจารณาอายตนะภายในและอายตนะภายนอก ให้เป็นอนัตตา

.  อสุภสัญญา กําหนดพิจารณาร่างกาย ให้เห็นเป็นของสกปรก


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น