วันพุธที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

สรุปนักธรรมชั้นเอก หน้าที่ 1/10

 












กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นเอก

กระทู้ธรรมที่ออกข้อสอบแต่ละปี

 

ปี พ.ศ.

ภาษิต

หมวด

2564

วิวาทํ ภยโต ทิสฺวา                     อวิวาทญฺจ เขมโต

สมคฺคา สขิลา โหถ                    เอสา พุทฺธานุสาสนี. ท่านทั้งหลายจงเห็นความวิวาทโดยความเป็นภัย และความไม่วิวาท โดยความปลอดภัยแล้ว เป็นผู้พร้อมเพรียง มีความประนีประนอมกันเถิด. นี้เป็นพระพุทธานุศาสนี.

(พุทฺธ)                                ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕.

สามัคคี

2563

ปรสฺส วา อตฺตโน วาปิ เหตุ น ภาสติ อลิกํ ภูริปญฺโญ โส ปูชิโต โหติ สภาย มชฺเฌ ปจฺฉาปิ โส สุคติคามิ โหติ.

ผู้มีภมิปัญญา ย่อมไม่พูดพล่อยๆ เพราะเหตุแห่งคนอื่นหรือตนเอง

ผู้นั้นย่อมมีผู้บูชาในท่ามกลางชุมชน แม้ภายหลังเขาย่อมไปสู่สุคติ. (มโหสธโพธิสตต)          ขุ. ชา. วีสติ. ๒๗/๔๒๗.

วาจา

2562

มูฬฺโห อตฺถํ น ชานาติ                มูฬฺโห ธมฺมํ ปสฺสติ อนฺธตมํ ตทา โหติ                   ยํ โมโห สหเต นรํ. ผู้หลงย่อมไม่รู้อรรถ ผู้หลงย่อมไม่เห็นธรรม ความหลง

กิเลส


 

 

ครอบงําคนใดเมื่อใด ความมืดมิดย่อมมีเมื่อนั้น.

( พุทฺธ )                               ขุ. อิติ. ๒๕/๒๙๖. ขุ. มหา. ๒๙/๑๘.

 

2561

อุฏ าตา กมฺมเธยฺเยสุ                   อปฺปมตฺโต วิจกฺขโณ สุสํวิหิตกมฺมนฺโต                       ส ราชวสตึ วเส.

ผู้หมั่นในการงาน ไม่ประมาท เป็นผู้รอบคอบ จัดการงานเรยบร้อย จึงควรอยู่ในราชการ. (พุทฺธ)        ขุ. ธ. ๒๕/๔๒.

ไม่ประมาท

2560

ชยํ เวรํ ปสวติ                          ทุกฺขํ เสติ ปราชิโต

อุปสนฺโต สุขํ เสติ                    หิตฺวา ชยปราชยํ. ผู้ชนะย่อมก่อเวร ผู้แพ้ย่อมนอนเป็นทุกข์ คนละความชนะ และความแพไ้ ด้แล้ว สงบใจได้ ย่อมนอนเป็นสุข.

(พุทฺธ)                                ขุ. ธ. ๒๕/๔๒.

บุคคล

2559

อนฺนโท พลโท โหติ                   วตฺถโท โหติ วณฺณโท ยานโท สุขโท โหติ                    ทีปโท โหติ จกฺขุโท.

ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กําลัง ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ ผู้ให้ยานพาหนะ

ชื่อว่าให้ความสุข ผู้ให้ประทีปโคมไฟ ชื่อว่าให้จักษุ. (พุทฺธ)   สํ. ส. ๑๕/๔๔.

ทาน

2558

อุฏ ฐานวโต สตีมโต                   สุจิกมฺมสฺส นิสมฺมการิโน สญฺญตสฺส จ ธมฺมชีวิโน                 อปฺปมตฺตสฺส ยโสภิวฑฺฒติ.

เกียรติยศย่อมเจรญแก่ผู้ขยัน มีสติ มีการงานสะอาด ใคร่ครวญแล้วจึงทํา สํารวมแล้ว เป็นอยู่โดยธรรม และไม่ประมาท.

บุคคล


 

 

(พุทฺธ)                               ขุ. ธ. ๒๕/๑๘.

 

2557

ขนฺติ ธีรสฺส ลงฺกาโร                   ขนฺติ ตโป ตปสฺสิโน ขนฺติ พลํ ว ยตีนํ                          ขนฺติ หิตสุขาวหา.

ขันติเป็นเครื่องประดับของนักปราชญ์  ขันติเป็นตบะของผู้พากเพียร  ขันติเป็นกําลังของนักพรต  ขันตินํา

ประโยชน์สุขมาให้

ส. ม. ๒๒๒.

อดทน

2556

อุปนียติ ชีวิตมปฺปมายํุ ชรูปนีตสฺส สนฺติ ตาณา เอตํ ภยํ มรเณ เปกฺขมาโน โลกามิสํ ปชเห สนฺติเปกฺโข.

ชีวิตคืออายุอันน้อยนี้ ถูกชรานําเข้าไป เมื่อสัตว์ถูกชรานําเข้าไปแล้ว ย่อมไม่มีเครื่องต้านทาน

ผู้เล็งเห็นภัยในมรณะนั้น มุ่งความสงบ พึงละโลกามิสเสย.

(พุทฺธ)                                สํ. ส. ๑๕/๗๗.

เบ็ดเตล็ด

2555

นิทฺทาสีลี สภาสีลี                       อนุฏ ฐาตา โย นโร

อลโส โกธปญฺญาโณ                    ตํ ปราภวโต มุขํ.

คนใดมักหลับ มักคุย และไม่ขยัน เกียจคร้าน มีความมุทะลุ ข้อนั้นเป็นเหตุของผู้ฉิบหาย. (พุทฺธ)          ขุ. สุ. ๒๕/๓๔๖.

เบ็ดเตล็ด

2554

อนฺนโท พลโท โหติ                   วตฺถโท โหติ วณฺณโท ยานโท สุขโท โหติ                    ทีปโท โหติ จกฺขุโท.

ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กําลัง ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ ผู้ให้ยานพาหนะ

ทาน


 

 

ชื่อว่าให้ความสุข ผู้ให้ประทีปโคมไฟ ชื่อว่าให้จักษุ.

(พุทฺธ)                                สํ. ส. ๑๕/๔๔.

 

2553

วิวาทํ ภยโต ทิสฺวา                    อวิวาทญฺจ เขมโต สมคฺคา สขิลา โหถ                   เอสา พุทฺธานุสาสนี.

ท่านทั้งหลายจงเห็นความวิวาทโดยความเป็นภัย  และความไม่วิวาทโดย

ความปลอดภัยแล้ว เป็นผู้พร้อมเพรียง มีความประนีประนอมกันเถิด. นี้เป็นพระพุทธานุศาสนี.

(พุทฺธ)                                ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕.

สามัคคี

2552

ปเรสํ วิโลมานิ                        น ปเรสํ กตากตํ

อตฺตโน อเวกฺเขยฺย                      กตานิ อกตานิ จ.

ไม่ควรฟังคําก้าวร้าวของคนอื่น ไม่ควรมองดูการงานของคนอื่นที่เขาทําแล้วและยังไมไ่ ด้ทํา ควรพิจารณา ดูแต่การงานของตน ที่ตนทําแล้วและยังไม่ได้ทําเท่านั้น

(พุทฺธ)                                ขุ. ธ. ๒๕/๒๑.

เบ็ดเตล็ด

2551

วิวาทํ ภยโต ทิสฺวา                    อวิวาทญฺจ เขมโต สมคฺคา สขิลา โหถ                      เอส พุทฺธานุสาสนี.

ท่านทั้งหลายเห็นความวิวาทโดยความเป็นภัย  และความไม่วิวาทโดยความเป็นธรรมอันเกษม  (จากภัย)

แล้ว จงเป็นผู้พร้อมเพรียง มีความประนีประนอมกันเถิด. นี้เป็นพระพุทธานุสาสนี. (พุทฺธ) ขุ.จริยา. ๓๓/๕๙๕

สามัคคี

2550

โอวเทยฺยานุสาเสยฺย                    อสพฺภา นิวารเย

สตํ หิ โส ปิ โย โหติ                    อสตํ โหติ อปฺปิ โย.

ธรรม


 

 

บุคคลควรเตือนกัน ควรแนะนําสงั่ สอนกัน และป้องกันกันจากคนไม่ดี แต่เขาย่อมเป็นที่รักของคนดี

ไม่เป็นทรักของคนไม่ดี.

(พุทธ)                                ขุ. ธ. ๒๕/๒๕

 

2549

เย จ สีเลน สมฺปนฺนา                  ปญฺญายูปสเม รตา อารกา วิรตา ธีรา                     โหนฺติ ปรปตฺติยา.

ผู้มีปัญญาเหล่าใด ประกอบด้วยศีล ยินดีในความสงบ ด้วยปัญญา  ผู้มีปัญญาเหล่านั้น เว้นไกลจากความ

ชั่วแล้ว ไม่ต้องเชื่อผู้อื่น.

(โพธิสตฺต)                             ขุ. ชา. จตุกฺก. ๒๗/๑๔๓.

บุคคล

2548

ปมาท ภยโ า                     อปฺปมาญฺ มโต งฺ ํ                      ฺธนี.

เห็นความประมาทเป็นภัย และเห็นความไม่ประมาทเป็นความปลอดภัยแล้ว พึงเจรญมรรคมีองค์

นี้เป็นพุทธานุสาสนี.

(พุทฺธ)                                ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕.

เบ็ดเตล็ด

2547

วิวาทํ ภยโต ทิสฺวา                    อวิวาทญฺจ เขมโต สมคฺคา สขิลา โหถ                   เอสา พุทฺธานุสาสนี.

ท่านทั้งหลายจงเห็นความวิวาทโดยความเป็นภัย และความไม่วิวาทโดย

ความปลอดภัยแล้ว เป็นผู้พร้อมเพรียง มีความประนีประนอมกันเถิด. นี้เป็นพระพุทธานุศาสนี.

(พุทฺธ)                                ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕.

สามัคคี

2546

ชยํ เวรํ ปสวติ                          ทุกฺขํ เสติ ปราชิโต

บุคคล


 

 

อุปสนฺโต สุขํ เสติ                        หิตฺวา ชยปราชยํ.

ผู้ชนะย่อมก่อเวร ผู้แพ้ย่อมนอนเป็นทุกข์ คนละความชนะและความแพ้ได้แล้ว สงบใจได้ ย่อมนอนเป็น สุข.

(พุทฺธ)                                ขุ.ธ. ๒๕/๔๒.

 

2545

ยมฺหิ สจฺจญฺจ ธมฺโม จ                อหึสา สญฺญโม ทโม ส เว วนฺตมโล ธีโร                      โส เถโรติ ปวุจฺจติ.

ผู้ใดมีความสัตย์ มีธรรม มีความไม่เบียดเบียน มีความสํารวม และ

มีความข่มใจ ผู้นั้นแล ชื่อว่า ผู้มีปัญญา หมดมลทิน เขาเรยกท่านว่า เถระ.

(พุทฺธ)                                ขุ. ธ. ๒๕/๕๐.

บุคคล

2544

อปฺปมตฺตา สตีมนฺโต                 สุสีลา โหถ ภิกฺขโว สุสมาหิตสงฺกปฺปา                   สจิตฺตมนุรกขฺ ถ. ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงเป็นผู้ไม่ประมาท มีสติ มีศีลดีงาม ตั้งความดําริไว้ให้ดี คอยรักษาจิตของตน.

ที. มหา. ๑๐/๑๔๒.

ไม่ประมาท

2543

สงฺเกยฺย สงฺกิตพฺพานิ                   รกฺเขยฺยานาคตํ ภยํ อนาคตภยา ธีโร                        อุโภ โลเก อเวกฺขติ.

พึงระแวงภัยที่ควรระแวง พึงระวังภัยที่ยังไม่มาถึง ผู้ฉลาดย่อมมองดูโลกทั้ง เพราะกลัวต่ออนาคต.

ขุ. ชา. จตุกฺก ๒๗/๑๓๖

เบ็ดเตล็ด




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น