(ปี
63, 50) การบรรพชาและการอุปสมบท
สําเร็จด้วยวิธีอะไร? นอกจากอภัพบุคคลและผู้มีบรรพชาโทษแล้ว บุคคลประเภทใดบ้างที่ถูกห้ามไม่ให้อุปสมบท?
ตอบ การบรรพชาสําเร็จด้วยวิธีไตรสรณคมน์
และการอุปสมบทสําเร็จด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรมวาจา
ฯ
คือ ๑. คนไม่มีอุปัชฌาย์ ๒. คนไม่มีบาตร คนไม่มจีวร หรือไม่มีทั้งบาตรทั้งจีวร ๓. คนยืมบาตร จีวร หรือยืมทั้งบาตรทั้งจีวรเขามา ฯ
(ปี 62, 51) ในอุปสมบทกรรม อภัพพบุคคล หมายถึงใคร ? จําแนกโดยประเภทมีเท่าไร ? อะไรบ้าง ?
ตอบ หมายถึงบุคคลที่ทรงห้ามไม่ให้อุปสมบท
ฯ
มี
๓ ประเภท ฯ คือ ๑. เพศบกพร่อง ๒. คนทําผิดต่อพระศาสนา ๓. ประพฤติผิดต่อกําเนิดของเขาเอง
ฯ
(ปี 61) ผู้จะเข้ามาอุปสมบทเป็นภิกษุในพระพุทธศาสนา
ต้องประกอบด้วย คุณสมบัติอะไรบ้าง ?
ตอบ ประกอบด้วยคุณสมบัติ
๕ ประการ คือ ๑. เป็นชาย ๒. มีอายุครบ ๒๐ ปี ๓. ไม่เป็นมนุษย์วิบัติ
เช่น ถูกตอน หรือเป็นกะเทย เป็นต้น
๔. ไมเคยทําอนันตริยกรรม ๕. ไม่เคยต้องปาราชิก
หรือไมเคยเข้ารีตเดียรถีย์ทั้งที่เป็นภิกษุ
ฯ (ปี 60) อภัพพบุคคลในอุปสมบทกรรมได้แก่บุคคลเช่นไร
? โดยวัตถุมีกี่อย่าง
? อะไรบ้าง ? ตอบ
ได้แก่บุคคลที่ไม่สมควรแก่การอุปสมบท อุปสมบทไม่ขึ้น
ถูกห้าม อุปสมบทตลอดชีวิต
ฯ โดยวัตถุมี ๓ คือ ๑. พวกที่มีเพศบกพร่อง
ไมรู้ว่าเป็นชายหรือเป็นหญิง
๒. พวกประพฤติผิดพระธรรมวินัย เช่น ฆ่าพระอรหันต์ เป็นต้น
๓. พวกประพฤติผิดต่อผู้ให้กําเนิดของตน คือ ฆ่ามารดาบิดา ฯ
(ปี 58) อภัพพบุคคลผู้กระทําผิดต่อพระศาสนา ถูกห้ามอุปสมบท มีกี่ประเภท ? อะไรบ้าง ?
ตอบ มี ๗ ประเภท คือ ๑. คนฆ่าพระอรหันต์ ๒. คนทําร้ายภิกษุณี ได้แก่ผู้ข่มขืนภิกษุณีในอัชฌาจาร
๓. คนลักเพศ คือคนถือเพศเป็นภิกษุเอง ๔. ภิกษุไปเข้ารีตเดียรถีย์ ๕. ภิกษุต้องปาราชิกละเพศไปแล้ว
๖. ภิกษุทําสังฆเภท ๗. คนทํารายพระศาสดาจนถึงห้อพระโลหิต ฯ
(ปี 57) ท่านศึกษาพระวินัยในเรื่องการอุปสมบทดีแล้ว จงให้ความหมายของคําต่อไปนี้
ก. อภัพบุคคล ข. อุปสัมปทาเปกขะ ค. กรรมวาจา ง. อนุสาวนา จ. อนุศาสน์
ตอบ ก.
อภัพบุคคล คือบุคคลผไู้
ม่ควรแก่การให้อุปสมบท ทรงห้ามไว้เป็นเด็ดขาด
อุปสมบทไม่ขึ้น ข. อุปสัมปทาเปกขะ คือผู้ประสงค์จะอุปสมบทเป็นพระภิกษุ
ค. กรรมวาจา คือวาจาที่สวดประกาศในการให้อุปสมบท
ง. อนุสาวนา คือวาจาที่สวดประกาศความปรึกษาและตกลงสงฆ์
จ. อนุศาสน์ คือกิจที่พึงทําภายหลงั จากอุปสมบทเสร็จแล้ว มีการบอกนิสสัย ๔ บอกอกรณยกิจ ๔ เป็นต้น ฯ
(ปี 55) อะไรเป็น
บุพพกิจ และ ปัจฉิมกิจ แห่งอุปสมบทกรรม?
ตอบ
การให้บรรพชาจนถึงสมมตภิกษุรูปหนึ่งสอบถามอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรมในสงฆ์ เป็นบุพพกิจแห่งอุปสมบทกรรม
ฯ การวัดเงาแดด การบอกประมาณแห่งฤดู การบอกส่วนแห่งวัน การบอกสังคีติ การบอกนิสัย ๔ การบอกอกรณียกิจ ๔ ในลําดับเวลาสวดกรรมวาจา จบ เป็นปัจฉิมกิจแห่งอุปสมบทกรรม ฯ
(ปี 54) องคสมบัติของภิกษุผู้จะเป็นอุปัชฌาย์ให้อุปสมบท เป็นอาจารย์ให้นิสัยที่กําหนดไว้ในบาลีมีหลายอย่าง แม้บกพร่องบางอย่างก็ได้ แต่ที่ขาด ไม่ได้คือองคสมบัติอะไร? ตอบ ที่ขาดไม่ได้ คือ มีพรรษา ๑๐ หรือยิ่งกว่า ฯ
(ปี 54) ในการอุปสมบท คนที่ได้ชอว่าลักเพศ ได้แก่คนเช่นไร?
ตอบ ได้แก่คนถือเพศภิกษุเอาเอง
ด้วยตั้งใจจะปลอมเข้าอยู่ในหมู่ภิกษุ
ดังคํากล่าวว่า เดียรถีย์ปลอมเข้าอยู่ในหมู่ภิกษุครั้งอโศกรัชกาล
ถ้าคนนั้น เป็นแต่สักว่า ทรงเพศเพราะเหตุอย่างอื่น
เป็นต้นว่าเพื่อหนีภัย ไม่จัดเป็นคนลักเพศ
ฯ
(ปี 53) บุรพกิจทพึงทําเป็นเบื้องต้นก่อนแต่อุปสมบท คืออะไรบ้าง? ในกิจเหล่านั้น กิจที่ต้องทําเป็นการสงฆ์ มีอะไรบ้าง?
ตอบ คือ ให้บรรพชา ขอนิสสัย ถออุปัชฌายะ ขนานชื่อมคธแห่งอุปสัมปทาเปกขะและบอกนามอุปัชฌายะ
บอกบาตรจีวร สั่งให้อุปสัมปทาเปกขะ ออกไปยืนข้างนอก
สมมติภิกษุรูปหนึ่งเป็นผู้ซักซ้อมอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรม
เรียกอุปสัมปทาเปกขะเข้าในสงฆ์
ให้ขออุปสมบท สมมติ
ภิกษุรูปหนึ่งสอบถามอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรมในสงฆ์ ฯ
มี สมมติภิกษุรูปหนึ่งเป็นผู้ซักซ้อมอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรม
เรียกอุปสัมปทาเปกขะเข้าในสงฆ์
สมมติภิกษุรูปหนึ่งสอบถามอุปสัมปทา เปกขะถึงอันตรายิกธรรมในสงฆ์ ฯ
(ปี 53) อุปสัมปทาเปกขะจะสําเร็จเป็นพระภิกษุได้ เมื่อพระกรรมวาจาจารย์สวดถึงบาลีบทใด? ตอบ
ถึงบทว่า
โส
ภาเสยฺย
ท้ายอนุสาวนาที่
๓
ฯ
(ปี 52) อันตรายิกธรรมที่ยกขึ้นถามอุปสมปทาเปกขะในการอุปสมบทนั้น ข้อที่เป็นอันตรายร้ายแรงถึงกับทําให้เป็นภิกษุไม่ได้ คือข้อใดบ้าง?
ตอบ คือ ข้อว่า ไม่ใช่มนุษย์ ไม่ใช่บุรุษ อายุไม่ครบ 20 ปี ฯ
(ปี 51) กรรมวาจาวิบัติเพราะสวดผิดฐานกรณ์นั้นอย่างไร
?
ตอบ คือ การสวดธนิตเป็นสิถิล ๑ สวดสิถิลเป็นธนิต ๑ สวดวิมุตเป็นนิคคหิต
๑ สวดนิคคหิตเป็นวมุต ๑ ฯ
(ปี 48) วัตถุสมบัติในการอุปสมบทคืออะไร? ต้องประกอบด้วยคุณสมบัติอะไรบ้าง?
ตอบ คือผู้จะเข้ารับการอุปสมบท
ฯ ประกอบด้วยคุณสมบัติ ๕ ประการ คือ ๑.เป็นชาย ๒.มีอายุครบ ๒๐ ปี
๓.ไม่เป็นมนุษย์วิบัติ เช่นถูกตอน หรือเป็นกะเทย ๔.ไม่เคยทําอนันตริยกรรม ๕.ไม่เคยต้องปาราชิก หรือไม่เคยเข้ารีตเดียรถีย์ทั้งที่เป็นภิกษุ ฯ
(ปี 48) อภัพพบุคคลที่ถูกห้ามอุปสมบทเพราะกระทําผิดต่อพระศาสนา มีกี่ประเภท? ใครบ้าง?
ตอบ มี ๗ ประเภท คือ ๑. คนฆ่าพระอรหันต์ ๒. คนทําร้ายภิกษุณี ได้แก่ผู้ข่มขืนภิกษุณีในอัธยาจาร
๓. คนลักเพศ คือคนถือเพศเป็นภิกษุเอง ๔. ภิกษุไปเข้ารีตเดียรถีย์ ๕. ภิกษุต้องปาราชิก ๖. ภิกษุทําสังฆเภท
๗. คนทําร้ายพระศาสดาจนถึงห้อพระโลหิต ฯ
(ปี 47) บุรพกิจก่อนแต่อุปสมบท มีอะไรบ้าง? กิจทั้งหมดนั้นที่จัดเป็นญัตติกรรม
ทําเป็นการสงฆ์ คือกิจอะไรบ้าง?
ตอบ มีการให้บรรพชา ขอนิสสัย ถืออุปัชฌายะ ขนานชื่อมคธแห่งอุปสัมปทาเปกขะ บอกนามอุปัชฌายะ บอกบาตรจีวร สั่งอุปสัมปทาเปกขะ ให้ออกไปยืนข้างนอก สมมติภิกษุรูปหนึ่งเป็นผู้ซักซ้อมอุปสมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรม เรียกอุปสมปทาเปกขะเข้าในสงฆ์
ให้ขออุปสมบท
สมมติภิกษุรูปหนึ่งสอบถามอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรมในสงฆ์
ฯ
กิจเหล่านี้คือ การสมมตภิกษุรูปหนึ่งเป็นผู้ซักซ้อมอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรม
การเรียกอุปสัมปทาเปกขะเข้าในสงฆ์
การสมมติ
ภิกษุรูปหนึ่งสอบถามอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรมในสงฆ์ จัดเป็นญัตติกรรม
ทําเป็นการสงฆ์ ฯ
(ปี 46) ศัพท์ว่า “ บรรพชา ” มีอธิบายว่าอย่างไร?
นอกจากคนมีอายุไม่ครบ
๒๐ ปีบริบูรณ์ และอภัพพบุคคลแล้ว ยังมีบุคคลจําพวกไหนอีกบ้างที่ห้ามไม่ให้อุปสมบท?
ตอบ มีอธิบายว่า ศัพท์นี้ หมายเอาการบวชทั่วไป
รวมทั้งอุปสมบทด้วยก็มี
หมายเอาเฉพาะการบวชเป็นบุรพประโยคแห่งอุปสมบทก็มี
หมายถึง การบวชลําพังเป็นสามเณรก็มี ฯ
มีบุคคลที่ถูกห้ามไม่ให้อุปสมบทอก ๓ จําพวก คือ
๑. คนไม่มีอุปัชฌาย์ หรือมีคนอื่นนอกจากภิกษุเป็นอุปัชฌาย์ หรือถือสงฆ์ ถือคณะเป็นอุปัชฌาย์
๒. คนไม่มีบาตร ไม่มีจีวร หรือไม่มีทั้งบาตรทั้งจีวร ๓. คนยืมบาตร ยืมจีวรเขามาหรือยืมทั้งบาตรทั้งจีวรเขามา
ฯ
(ปี 45) ผู้ที่ถูกห้ามอุปสมบท เพราะทําผิดต่อพระศาสนา ได้แก่คนเช่นไร?
ในเวลาสวดกรรมวาจานั้น
กําหนดด้วยสงฆ์นิ่งอยู่จนถึงบาลคําใด อุปสมบทกรรมจึงจะนับว่าเป็นการสําเร็จ ?
ตอบ ได้แก่ ๑. คนฆ่าพระอรหันต์ ๒. คนทําร้ายภิกษุณี ได้แก่ผู้ข่มขืนภิกษุณีในอัธยาจาร
๓. คนลักเพศ คือคนถือเพศเป็นภิกษุเอง ๔. ภิกษุไปเข้ารีตเดียรถีย์ ๕. ภิกษุต้องปาราชิก ๖. ภิกษุทําสังฆเภท
๗. คนทําร้ายพระศาสดาจนถึงห้อพระโลหิต ฯ
กําหนดด้วยสงฆ์นิ่งอยู่จนถึงคําว่า
โส ภาเสยฺย ที่แปลว่า ท่านผู้นั้นพึงพูดท้ายอนุสาวนาที่ ๓ จึงนับว่าเป็นการสําเร็จ
ฯ
(ปี 44) อภัพบุคคลในอุปสมบทกรรมได้แก่บุคคลเช่นไร? โดยวัตถุมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? ปัจฉิมกิจแห่งการอุปสมบทมีอะไรบ้าง? ตอบเพียง ๒ ข้อ
ตอบ ได้แก่บุคคลที่ไม่สมควรแก่การอุปสมบท อุปสมบทไม่ขึ้น ถูกห้ามอุปสมบทตลอดชีวิต โดยวัตถุมี ๓ คือ
๑. พวกที่มีเพศบกพร่อง
ไมรู้ว่าเป็นชายหรือเป็นหญิง ๒. พวกประพฤติผิดพระธรรมวินัย เช่น ฆ่าพระอรหันต์ เป็นต้น
๓. พวกประพฤติผิดต่อกําเนิดของตน คือฆ่ามารดาบิดา
มี ๖ ข้อ (ตอบเพียง ๒ ข้อ) คือ ๑. วัดเงาแดดในทันที ๒. บอกประมาณแห่งฤดู ๓. บอกส่วนแห่งวัน ๔. บอกสังคีติ
๕. บอกนิสสย ๔ ๖. บอกอกรณียกิจ ๔
วิวาทาธิกรณ์ คืออธิกรณ์ที่เกิดจากการทะเลาะกัน โต้เถียงกัน โดยปรารภพระธรรมวินัย
(ปี 64, 62, 56) ภิกษุผู้ก่อวิวาทาธิกรณ์ อย่างไรชื่อว่าปรารถนาดี อย่างไรชื่อว่าปรารถนาเลว ?
ตอบ ผู้ก่อวิวาทาธิกรณเพราะเห็นแก่พระธรรมวินัย ปราศจากโลภะ
โทสะ โมหะ ชื่อว่าทําด้วยปรารถนาดี ผู้ก่อวิวาทาธิกรณด้วยทิฏฐิมานะ
แม้รู้ว่าผิดก็ขืนทํา
ประกอบด้วยโลภะ โทสะ โมหะ ชื่อว่าทําด้วยปรารถนาเลว ฯ
(ปี 57) ภิกษุทะเลาะกันเรื่องสรรพคุณของยา จัดเป็นวิวาทาธิกรณไ์ ด้หรือไม่? เพราะเหตุไร?
ตอบ ไม่ได้ ฯ เพราะวิวาทาธิกรณ์ มุ่งเฉพาะวิวาทปรารถพระธรรมวินัย ฯ
(ปี 51) วิวาทาธิกรณ์ คืออะไร? ระงับได้ด้วยอธิกรณสมถะข้อใดบ้าง?
ตอบ คือ การเถียงกันปรารภพระธรรมวินัยฯ ด้วยสัมมุขาวินัยและเยภุยยสิกาฯ
(ปี 49) ภิกษุ ๒ ฝ่ายก่อวิวาทเพราะปรารถนาดีก็มี
เพราะปรารถนาเลวก็มี
อยากทราบว่าอย่างไรชื่อวาก่อวิวาทเพราะปรารถนาดี
อย่างไรชื่อว่าก่อ วิวาท เพราะปรารถนาเลว?
ตอบ ผู้ใดตั้งวิวาทเพราะเห็นแก่พระธรรมวินัย
ผู้นั้นชื่อว่าทําด้วยปรารถนาดี
ผู้ใดตั้งวิวาทด้วยทิฐิมานะ แม้รู้ว่าผิดก็ขืนทํา
ผู้นั้นชื่อว่าทําด้วยปรารถนาเลว
ฯ
(ปี 49) ทิฏฐิสามัญญตา
ความเป็นผู้มีความเห็นร่วมกันกับส่วนใหญ่ ไม่ถือแต่มติของตน เป็นธรรมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
ภิกษุปฏิบัติอย่างไร
จึงจะรักษาธรรมนั้นได้ ? ตอบ
ปฏิบัติอย่างนี้คือ เคารพในพระศาสดา
ในพระธรรมวินัย และเคารพในสงฆ์ผเป็นเจ้าหน้าที่รักษาพระธรรมวินัย สําคัญมติของสงฆ์นั้นว่า เป็นเนตติอันตนควรเชื่อถือและทําตาม ผู้ปฏิบัติเช่นนี้ ย่อมรักษาทิฏฐิสามัญญตานั้นไว้ได้ ฯ
(ปี
46) สัมมุขาวินัยสําหรับระงับวิวาทาธิกรณ์นั้น มีวิธีอย่างไร? อธิกรณ์ที่ภิกษุจะพึงยกขึ้นว่านั้น ต้องเป็นเรื่องที่มีมูล ก็เรื่องที่มูลนั้นมีลักษณะเช่นไร?
ตอบ มีวิธีอย่างนี้ คือ ๑. ด้วยการตกลงกันเอง ๒. ด้วยการตั้งผู้วินิจฉย ๓. ด้วยอํานาจแห่งสงฆ์ ฯ
มีลักษณะ
๓ ประการ คือ ๑. เรื่องที่ได้เห็นเอง ๒. เรื่องที่ได้ยินเอง หรือมีผู้บอกและเชื่อว่าเป็นจริง
๓. เรื่องที่เว้นจาก ๒ สถานนั้น แต่รังเกียจโดยอาการ ฯ
(ปี 44) วิวาทาธิกรณ์คืออะไร? วิวาทาธิกรณ์นั้น ระงับด้วยอธิกรณสมถะกี่อย่าง? อะไรบ้าง? ตอบ
คืออธิกรณ์ที่เกิดจากการทะเลาะกัน โต้เถียงกัน
โดยปรารภพระธรรมวินัย ด้วยอธิกรณสมถะ ๒ อย่างคือ ๑. สัมมุขาวินัย ๒. เยภุยยสิกา
อนุวาทาธิกรณ์ คือการโจทกันด้วยอาบัตินั้น ๆ
(ปี 60, 50) อนุวาทาธิกรณ์เช่นไร อันภิกษุจะพึงยกขึ้นพิจารณาตัดสนได้ ?
ตอบ ต้องเป็นเรื่องมีมูล
คือ เรื่องที่ได้เห็นเอง ๑
เรื่องที่ได้ยินเอง หรือมีผู้บอกและเชื่อว่าเป็นจริง ๑
เรื่องที่เว้นจาก
๒ สถานนั้น แต่รังเกียจโดยอาการ
๑ เช่นได้ยินว่า พัสดุชื่อนี้ของผู้มีชื่อนี้หายไป ได้พบพัสดุชนิดนั้นในที่อยู่ของภิกษุชื่อนั้น ฯ
(ปี 59) อนุวาทาธิกรณ์ คืออะไร ? เมื่อเกิดขึ้นใครต้องขวนขวายเพื่อระงับ ? หากปล่อยไว้จะเกิดผลเสยอย่างไร ?
ตอบ คือการโจทกันด้วยอาบัตินั้น
ๆ ฯ ภิกษุผู้เป็นประธานสงฆ์
พึงขวนขวายรีบระงับ
ฯ
หากไม่รีบระงับจะทําให้เสยสลสามัญญตาและเสียสามัคคี เป็นทางแตกเป็นนานาสังวาส ฯ
(ปี 58) การโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติ
ทําด้วยกายก็ได้ ด้วยวาจาก็ได้ อยากทราบว่า การโจทด้วยกายนั้นทําอย่างไร
?
ตอบ ทําโดยแสดงอาการไม่นับถือว่าเป็นภิกษุ
มีการไม่อภิวาทเป็นต้น การเขียนหนังสือโจท ก็จัดว่าเป็นการโจทด้วยกาย ฯ
(ปี 58, 48) อธิกรณ์อันสงฆ์วินิจฉัยแล้ว ฝ่ายไม่ชอบใจ จักอุทธรณตอสงฆ์อื่นให้วินิจฉัยใหม่ได้หรือไม่ ? จงอธิบายพอเข้าใจ
ตอบ ได้ก็มี ไม่ได้ก็มี
ฯ ตามสิกขาบทที่
๓ แห่งสัปปาณวรรค
ปาจิตติยกัณฑ์ โจทก์ก็ดี
จาเลยก็ดี สงฆ์ก็ดี
รู้อยู่ว่าอธิกรณ์นั้น สงฆ์หมู่นั้นวินิจฉัยเป็น ธรรมแล้ว ฟื้นขึ้นเพื่อวินิจฉัยใหม่ ต้องอาบัติปาจิตตยะ เป็นอันอุทธรณ์ไม่ได้ แต่ถ้าเห็นว่าไม่เป็นธรรม ฟื้นขึ้นไม่เป็นอาบัติ เป็นอันอุทธรณ์ได้ ฯ (ปี 55) อนุวาทาธิกรณ์ คืออะไร? ระงับด้วยอธิกรณสมถะเท่าไร? อะไรบ้าง?
ตอบ คือการโจทกันด้วยอาบัตินั้นๆฯ
ระงับด้วยอธิกรณสมถะ
๔ อย่างคือ ๑.สัมมุขาวินัย ๒.สติวินัย ๓,อมูฬหวินัย ๔,ตัสสปาปิยสิกาฯ
(ปี 52) ภิกษุเสียสลสามัญญตาเพราะประพฤติอย่างไร? พระบรมศาสดาทรงวางโทษไว้ให้สงฆ์ทํากรรมอะไรแก่เธอ?
ตอบ เพราะต้องอาบัติแล้วไมยอมรับว่าเป็นอาบัติ หรือไม่ยอมทําคืน ฯ ทรงวางโทษไว้ให้สงฆ์ทําอุกเขปนียกรรมแก่เธอ ฯ
(ปี 45) อนุวาทาธิกรณ์ที่เกิดขึ้นแล้วไมรีบระงับ มีผลเสยอย่างไร? ภิกษุผู้ต้องอนุวาทาธิกรณ์
พึงปฏิบัตอย่างไร?
ตอบ มีผลเสีย คือทําให้เสียสีลสามัญญตาและเสียสามัคคี เป็นทางแตก เป็นนานาสังวาส จนถึงเป็นนานานิกาย ฯ
พึงปฏิบัติอย่างนี้ คือ ๑. เคารพในผู้พิจารณา ๒. ให้การตามความเป็นจริง ๓. พึงเชื่อฟังและปฏิบัตตามคําวินิจฉัยของสงฆ์ ๔. ไม่ขุ่นเคืองฯ
อาปัตตาธิกรณ์ คือการต้องอาบัติ การปรับอาบัติ และการแก้ไขตัวให้พ้นจากอาบัติ
(ปี 64, 57) ภิกษุผู้ปรารถนาความตั้งอยู่ยั่งยืนของพระธรรมวินัย
ควรปฏิบัตตนอย่างไร?
ตอบ ควรตั้งอยู่ในสีลสามญญตา ทิฏฐิสามัญญตา และลัชชีธรรม สารวมในพระปาติโมกข์ ประกอบด้วยอาจาระและโคจระ เห็นภยในโทษแม้เพียง เล็กน้อย
สําเหนียกศึกษาในสิกขาบททั้งหลาย ฯ
(ปี 64, 62, 44) วุฏฐานวิธี แปลว่าอะไร ? ประกอบด้วยอะไรบ้าง ?
ตอบ แปลว่าระเบียบเป็นเครื่องออกจากอาบัติ ฯ ประกอบด้วยปรวาส มานัต ปฏิกัสสนา และอัพภาน ฯ
(ปี 63, 60, 43) สัมมุขาวินัยมีองค์เท่าไร? อะไรบ้าง?
ตอบ มีองค์ ๔ ฯ คือ ๑. ในที่พร้อมหน้าสงฆ์ ๒. ในที่พร้อมหน้าธรรม ๓. ในที่พร้อมหน้าวินัย ๔. ในที่พร้อมหน้าบุคคล ฯ
(ปี 61, 45) ลักษณะการปกปิดอาบัตินั้น
พระอรรถกถาจารย์แสดงไว้กี่ประการ? อะไรบ้าง?
ตอบ แสดงไว้ ๑๐ ประการ ฯ
จัดเป็น ๕ คู่ คือ |
๑. เป็นอาบัติ และรู้ว่าเป็นอาบัติ |
๔. อาจอยู่ และรู้ว่าอาจอยู่ |
|
๒. เป็นปกตัตตะ และรู้ว่าเป็นปกตัตตะ |
๕. ใคร่จะปิด และปิดไว้ ฯ |
|
๓. ไมมีอันตราย และรู้ว่าไม่มีอันตราย |
|
(ปี 60, 54) วุฏฐานวิธีหมายถึงอะไร? ในการทําวุฏฐานวิธีแต่ละอย่างนั้น ต้องการสงฆ์จํานวนเท่าไรเป็นอย่างน้อย?
ตอบ หมายถึง ระเบียบวิธีเป็นเครื่องออกจากอาบัติสังฆาทิเสส ฯ
อัพภาน ต้องการสงฆ์
๒๐
รูปเป็นอย่างน้อย
นอกนั้นต้องการตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป ฯ
(ปี 58) รัตติเฉท คืออะไร ? รัตติเฉทของภิกษุผู้ประพฤติมานัต มีเท่าไร ? อะไรบ้าง ?
ตอบ คือการขาดราตรี ฯ มี ๔ อย่าง ฯ คือ ๑. สหวาโส อยู่ร่วม ๒. วิปฺปวาโส อยู่ปราศ ๓. อนาโรจนา ไม่บอก
๔. อูเน คเณ จรณ ประพฤติในคณะอันพร่อง
ฯ
(ปี 56) จงให้ความหมายของคําต่อไปนี้ ก. ปริวาส ข. อัพภาน
ตอบ ก. ได้แก่ การประพฤติวัตรพิเศษอย่างหนึ่งเท่าจํานวนวันที่ภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วปกปิดไว้
ฯ ข.
ได้แก่ การที่สงฆ์สวดระงับอาบัติสังฆาทิเสส ฯ
(ปี 53) ติณวัตถารกวินัยมีอธิบายอย่างไร? ใช้ระงับอธิกรณ์อะไร?
ตอบ อธิบายว่า กิริยาที่ให้ประนีประนอมกันทั้ง ๒ ฝ่าย ไม่ต้องชําระสะสางหาความเดิม เป็นดังกลบไว้ด้วยหญ้า ฯ
ใช้ระงับอาปัตตาธิกรณ์ที่ยุ่งยากยืดเยื้อไม่รู้จบและเป็นเรื่องสาคัญอันจะเป็นเครื่องกระเทือนทั่วไป เว้นครุกาบัติและอาบัติที่เนื่องด้วยคฤหัสถ์ ฯ (ปี 52) อาปัตตาธิกรณระงับในสํานักบุคคลด้วยอธิกรณสมถะอะไร? และระงับในสํานักสงฆ์ด้วยอธิกรณสมถะอะไร?
ตอบ ระงับในสํานักบุคคลด้วยปฏิญญาตกรณะ ฯ
ระงับในสํานักสงฆ์ ถ้าเป็นครุกาบัติ ด้วยสมมุขาวินัย และปฏญญาตกรณะ ถ้าเป็นลหุกาบัติ ด้วยสัมมุขาวินัยและติณวัตถารกะ ฯ
(ปี 52) อันตราบัติ คืออาบัติอะไร? ภิกษุจะต้องอาบัตินี้ได้ในเวลาไหนบ้าง?
ตอบ คือ อาบัติสังฆาทิเสสที่ต้องในระหว่างประพฤติวุฏฐานวิธี
ฯ ภิกษุจะต้องอาบัตินี้ได้ในระหว่างที่กาลังอยู่ปริวาส
หรืออยู่ปริวาสแล้วเป็นมานัต ตารหะ กําลังประพฤติมานัตอยุ่
หรือประพฤติมานัตแล้ว เป็นอัพภานารหะ
ฯ
(ปี 51) พระอรรถกถาจารย์แสดงลักษณะปกปิดอาบัติสังฆาทิเสสไว้เป็น ๕ คู่อย่างไรบ้าง ?
ตอบ แสดงไว้ ๕ คู่ ดังนี้ ๑. เป็นอาบัติ และรู้ว่าเป็นอาบัติ ๔. อาจอยู่ และรู้ว่าอาจอยู่
๒. เป็นปกตัตตะ และรู้ว่าเป็นปกตัตตะ ๕. ใคร่จะปิด และปิดไว้ ฯ
๓. ไม่มีอันตราย และรู้ว่าไม่มีอันตราย
(ปี 51) รัตติเฉท หมายถึงอะไร? มีอะไรบ้าง?
ตอบ หมายถึง การขาดราตรีแห่ง (การประพฤติ) มานัต ฯ มี ๑. อยู่ร่วม ๒. อยู่ปราศ ๓. ไม่บอก ๔. ประพฤติในคณะอันพร่อง
ฯ
(ปี 48) ปริวาส คืออะไร? มานัต คืออะไร?
ตอบ ปริวาส คือ การประพฤติวัตรพิเศษอย่างหนึ่งเท่าจํานวนวันที่ปกปิดอาบัติไว้
ก่อนจะประพฤติมานัตตอไป ฯ มานัต
คือ การประพฤติวัตรพิเศษอย่างหนึ่ง
เป็นเวลา ๖ ราตรี เพื่อออกจากอาบัติสังฆาทิเสส ฯ
(ปี 47) เมื่อมุ่งถึงพระพุทธบัญญัติ
ภิกษุผู้ได้ชื่อว่าปฏิบัติเพื่อความตั้งอยู่ยั่งยืนแห่งพระธรรมวินัย ควรปฏิบัติเช่นไร?
ตอบ ควรปฏิบัติอย่างนี้ คือ ตั้งอยู่ในลัชชีธรรม ใคร่ความบริสุทธิ์ อาบัติที่ไม่ควรต้องอย่าต้อง อาบัติที่ต้องแล้ว พึงทําคืนเสีย เช่นนี้จักเป็นผู้มีศีล
เสมอด้วยสพรหมจารีทั้งหลาย ชื่อว่าปฏิบัติเพื่อความตั้งอยู่ยั่งยืนแห่งพระธรรมวินัย ฯ
(ปี 44) ในการทําวุฏฐานวิธีแต่ละอย่างนั้น ต้องการสงฆ์จํานวนเท่าไร?
ตอบ การให้ปริวาส ให้มานัต และทําปฏิกัสสนาต้องการสงฆ์จตุวรรค การให้อัพภาน ต้องการสงฆ์วีสติวรรค ฯ
(ปี 43) จงให้ความหมายของคําต่อไปนี้ ๑. ปฏิจฉันนาบัติ ๒. อันตราบัติ
ตอบ ๑. ปฏิจฉันนาบัติ หมายถึง อาบัติที่ภิกษุต้องแล้วปกปิดไว้
๒. อันตราบัติ หมายถึง อาบัติสังฆาทิเสสที่ภิกษุต้องเข้าอีกระหว่างประพฤติวุฏฐานวิธี
กิจจาธิกรณ์ว่าด้วยนิคหกรรม [กิจจาธิกรณ์ คือกิจธุระต่างๆ ที่สงฆ์จะต้องทํา เช่น ให้อุปสมบท ให้ผ้ากฐิน] (ปี 63)
ภิกษุประพฤติผดธรรมวินัยอย่างไร จึงทรงอนุญาตให้สงฆ์ลงอุกเขปนียกรรมได้ ?
ตอบ ประพฤติผดอย่างนี้ คือ ไม่เห็นอาบัติ ไม่ทําคืนอาบัติ หรือไม่สละทิฏฐิบาป ฯ
(ปี 61) กิจจาธิกรณ์และนิคคหะ คืออะไร ?
ตอบ กิจจาธิกรณ์ คือ กิจอันจะพึงทําด้วยประชุมสงฆ์
ต่างโดย เป็นอปโลกนกรรม ญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม ญัตติจตุตถกรรม นิคคหะ คือ การข่ม
เป็นกิจอย่างหนึ่งแห่งผู้ปกครองหมู่ ฯ
(ปี 59, 50) ในทางพระวินัย การควํ่าบาตรหมายถึงอะไร? และจะหงายบาตรได้ เมื่อไร ?
ตอบ หมายถึง การไม่ให้คบค้าสมาคมด้วยลักษณะ ๓ ประการ คือ
๑.
ไมรับบิณฑบาตของเขา ๒. ไม่รับนิมนต์ของเขา ๓. ไม่รับไทยธรรมของเขา ฯ เมื่อผู้ถูกควํ่าบาตรนั้นเลิกกล่าวติเตียนพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นต้นนั้นแล้ว กลับประพฤติดี พึงหงายบาตรแก่เขาได้ ฯ (ปี 57) อุกเขปนียกรรม และ นิยสกรรม สงฆ์พึงลงแก่ภิกษเช่นไร?
ตอบ อุกเขปนียกรรม พึงลงแก่ภิกษไุ ม่เห็นอาบัติ ผู้ไม่ทําคืนอาบัติ หรือผไู้ ม่สละทิฏฐิบาป นิยสกรรม พึงลงแก่ภิกษุผมีอาบัติมาก
หรือคลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีอันไม่ควร
ฯ
(ปี 54) ตัชชนียกรรมและตัสสปาปิยสิกากรรม
กรรมไหนสําหรับลงโทษแก่ภิกษุผู้เป็นโจทก์? กรรมไหนสําหรับลงโทษแก่ภิกษุผู้เป็นจําเลย? เพราะ ประพฤติบกพร่องอย่างไร?
ตอบ ตัชชนียกรรมสําหรับลงโทษแก่ภิกษุผู้เป็นโจทก์
เพราะจงใจหาความเท็จใส่ภิกษุอื่น
ก่ออธิกรณ์ขึ้นในสงฆ์ ตัสสปาปิยสิกากรรมสําหรับลงโทษแก่ภิกษุผู้เป็นจําเลย
เพราะเป็นผู้จงใจปกปิดความประพฤติเสียหายของตนด้วยการให้การเท็จ
ฯ (ปี
49) การทํากรรมมีตัชชนียกรรมเป็นต้นแก่ภิกษุหรือคฤหัสถ์ ควรปฏิบัติอย่างไรจึงจะไม่เป็นทางนํามาซึ่งความแตกสามัคคี ?
ตอบ พึงตั้งอยู่ในมัตตัญญุตา
ความเป็นผู้รู้จักประมาณ กาลญญุตา ความเป็นผรู้จักกาล ปุคคลญญุตา ความเป็นผู้รู้จักบุคคล ดําริโดยรอบคอบแล้ว จึงทํา ไม่พึงใช้อํานาจที่ประทานไว้
เป็นทางนํามาซึ่งความแตกสามัคคี
เช่น พวกภิกษุชาวโกสัมพีได้ทํามาแล้ว ฯ
(ปี 45) ภิกษุผู้เป็นโจทก์ จงใจหาความเท็จใส่ภิกษุอื่น และภิกษผู้เป็นจําเลย จงใจปกปิดความประพฤติเสียของตนด้วยให้การเท็จ
สงฆ์พึงนิคคหะ
ด้วยกรรมอะไร? ตอบ สงฆ์พึงทํา ตัชชนียกรรม แก่ภิกษผ
ู้เป็นโจทก์
และตัสสปาปิยสิกากรรม แก่ภิกษผ
ู้เป็นจําเลย
ฯ
(ปี 43) การควํ่าบาตรในทางพระวินัยมีความหมายว่าอย่างไร? การควํ่าบาตรนี้
สงฆ์ทําแก่ผู้ประพฤติเช่นไร? บอกมา ๓ ข้อ
ตอบ มีความหมายว่าไม่ให้คบค้าสมาคมด้วยลักษณะ
๓ ประการคือ ๑)ไม่รับบิณฑบาตของเขา
๒)ไม่รับนิมนต์ของเขา
๓)ไม่รับไทยธรรมของเขา ทําแก่คฤหัสถ์
(เลือกตอบเพียง ๓ ข้อ)
๑. ขวนขวายเพื่อไม่ใช่ลาภแห่งภิกษุทั้งหลาย ๕. ยุยงภิกษุทั้งหลายให้แตกกัน
๒. ขวนขวายเพื่อไม่ใช่ประโยชน์แห่งภิกษุทั้งหลาย ๖. กล่าวติเตียนพระพุทธ
๓. ขวนขวายเพื่ออยู่ไมไ่
ด้แห่งภิกษุทั้งหลาย ๗. กล่าวติเตียนพระธรรม
๔. ด่าว่าเปรียบเปรยภิกษุทั้งหลาย ๘. กล่าวติเตียนพระสงฆ์
สังฆเภทและสังฆสามัคคี (ปี 50)
สังฆราชี คืออะไร?
ตอบ คือ การที่ภิกษุแตกกันเป็น ๒ ฝ่าย เพราะมีความเห็นปรารภ พระธรรมวินัยผดแผกกันจนเกิดเป็นวิวาทาธิกรณ์ขึ้น
หรือมีความปฏิบัติไม่ สมํ่าเสมอกัน ยิ่งหย่อนกว่ากัน
เกิดรังเกียจกันขึ้น แต่ยังไม่แยกทําอุโบสถปวารณาหรือสังฆกรรมอื่น ฯ
(ปี 43) ใครเป็นผู้ทําลายสงฆ์ให้แตกกัน หรือเป็นผู้ขวนขวายเพื่อทําลายสงฆ์ได้? เหตุที่สงฆ์จะแตกกันมีอะไรบ้าง? จะป้องกันไดด้วยวิธีอย่างไร?
ตอบ ภิกษุผู้ปกตัตตะเป็นสมานสังวาส
อยู่ในสีมาเดียวกันเท่านั้น
ย่อมอาจทําลายสงฆ์ให้แตกกันเป็นก๊กเป็นพวกได้ นางภิกษุณี สิกขมานา สามเณร สามเณรี อุบาสก อุบาสิกา หาอาจทําลายสงฆ์ให้แตกกันได้ไม่
เป็นได้เพียงขวนขวายเพื่อทําลายสงฆ์เท่านั้น
ฯ
มี ๒ อย่างคือ ๑. มีความเห็นปรารภพระธรรมวินัยแตกต่างกันจนเกิดเป็นอธิกรณ์
๒.
ความประพฤติปฏบัติไม่เสมอกัน ยิ่งหย่อนกว่ากันแล้วเกิดความรงั เกียจกันขึ้น จะป้องกันได้ด้วย ๒ วิธีคือ ๑. ต้องส่งเสริมและกวดขันการศึกษาพระธรรมวินัย
ให้มีความเห็นชอบเหมือนกัน
๒. ต้องส่งเสริมและกวดขันความประพฤติของภิกษุทั้งหลายให้เสมอกัน ไม่ให้เป็นทางรังเกียจกัน
ลาสิกขา
(ปี 50) ภิกษุเมื่อลาสิกขา ต้องทําเป็นกิจลักษณะด้วยการกล่าวคําปฏิญญาตนเป็นผู้อื่นจากภิกษต่อหน้าใครได้บ้าง? และทําอย่างไรจึงเป็นกิจลักษณะ?
ตอบ ต่อหน้าภิกษุด้วยกันหรือคนอื่นจากภิกษุก็ได้
ฯ ปฏิญญาอย่างนี้ คือ
พร้อมด้วยจิต
คือทําด้วยตั้งใจเพื่อลาสิกขาจริง ๆ พร้อมด้วยกาล คือด้วยคําเด็ดขาด
ไม่ใช่รําพึง ไม่ใช่ปริกัป พร้อมด้วยประโยค คือปฏิญญาด้วยตนเอง
พร้อมด้วยบุคคล คือผู้ปฏิญญาและผู้รับปฏิญญาเป็นคนปกติ พร้อมด้วยความเข้าใจ คือผรับปฏญญาเข้าใจคํานั้นในทันที ฯ
นาสนา
(ปี 61, 55) นาสนา คืออะไร? บุคคลเช่นไรที่ทรงอนุญาตให้นาสนา?
ตอบ คือ การยังบุคคลผไู้ ม่สมควรถือเพศภิกษุและสามเณร ให้สละเพศเสีย ฯ บุคคลที่ทรงอนุญาตให้นาสนามี ๓ ประเภท คือ ๑. ภิกษุต้องอันเติมวัตถุแล้วยังปฏิญญาตนเป็นภิกษุ
๒.บุคคลผู้อุปสมบทไม่ขึ้น ได้รับอุปสมบทแต่สงฆ์
๓.สามเณรผู้ประกอบด้วยองค์ ๑๐ ข้อใดข้อหนึ่ง เช่นเป็นผู้มักผลาญชีวิตสตว์ เป็นต้น ฯ
(ปี 53) ลิงคนาสนา คืออะไร? บุคคลที่ทรงพระอนุญาตให้ทําลิงคนาสนามีกี่ประเภท? ใครบ้าง?
ตอบ คือ การให้ฉิบหายเสยจากเพศ ฯ มี ๓ ประเภท ฯ
คือ ภิกษุต้องอันติมวัตถุแล้ว ยังปฏิญญาตนเป็นภิกษุ ๑ บุคคลผู้อุปสมบทไม่ขึ้น
ได้รับอุปสมบทแต่สงฆ์ ๑ สามเณรผู้ประกอบด้วยองค์ ๑๐ มีเป็นผู้มักผลาญชีวิตเป็นต้น ๑ ฯ
(ปี 47) การทํานาสนา คือการทําเช่นไร? บุคคลที่ทรงอนุญาตให้นาสนามีกี่ประเภท? ใครบ้าง?
ตอบ คือการยังบุคคลผู้ไม่ควรถือเพศ
ให้ละเพศเสีย ฯ
บุคคลที่ทรงอนุญาตให้นาสนามี ๓ ประเภท คือ ๑. ภิกษุผู้ต้องอันติมวัตถุแล้ว
ยังปฏิญญาตนเป็นภิกษุ
๒. บุคคลผู้อุปสมบทไม่ขึ้น ได้รับอุปสมบทแต่สงฆ์ ๓. สามเณรผประกอบด้วยองค์ ๑๐ ข้อใดข้อหนึ่ง เช่นเป็นผู้มักผลาญชีวิตสัตว์เป็นต้นฯ
ให้ท่องบทสวดไปสอบ
Ø
คําทักนิมิต ( *** แนะนําใ👉้ท่อง และฝึกเขียนใ👉้ได้ทุกทิศ เพราะออกข้อสอบบ่อย )
ในทิศตะวันออก ว่าดังนี้ " ปุรตฺถิมาย ทิสาย กึ นิมิตฺตํ" แปลว่า " ในทิศตะวันออก อะไรเป็นนิมิต . "
ในทิศตะวันออกเฉียงใต้ ว่าดังนี้ " ปุรตฺถิมาย อนุทสาย กึ นิมิตฺตํ" แปลว่า " ในทิศน้อยแห่งทิศตะวันออก อะไรเป็นนิมิต . "
ในทิศใต้ ว่าดังนี้ " ทกฺขิณาย ทิสาย กึ นิมิตฺตํ" แปลว่า" ในทิศใต้ อะไรเป็นนมิต . "
ในทิศตะวันตกเฉียงใต้
ว่าดังนี้ " ทุกฺขิณาย อนุทิ สาย กึ นิมิตฺตํ" แปลว่า " ในทิศน้อยแห่งทิศใต้ อะไรเป็นนิมิต. "
ในทิศตะวันตก ว่าดังนี้ " ปจฺฉิมาย ทิสาย กึ นิมิตฺตํ" แปลว่า " ในทิศตะวันตก อะไรเป็นนมิต . "
ในทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ว่าดังนี้ " ปจฺฉิมาย
อนุทิสาย
กึ
นิมิตฺตํ" แปลว่า
" ในทิศน้อยแห่งทิศตะวันตก
อะไรเป็นนมิต
. " ในทิศเหนือ ว่าดังนี้ " อุตฺตราย ทิสาย กึ นิมิตฺตํ" แปลว่า " ในทิศเหนือ อะไรเป็นนมิต . "
ในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ว่าดังนี้ " อุตฺตราย อนุทิสาย กึ นิมิตฺตํ" แปลว่า " ในทิศน้อยแห่งทิศเหนือ อะไรเป็นนิมิต. "
(ปี 59, 46) การทักนิมิตในทิศทั้ง ๘ นั้น
ทักทิศละหนถูกต้องหรือไม่? เพราะเหตุไร?
จงเขียนคําทักนิมิตในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มาดู? ตอบ ไม่ถูกต้องฯ ที่ถูกต้องนั้นเมื่อเริ่มต้นทักนิมิตในทิศบูรพาแล้ว
ทักมาโดยลําดับจนถึงนิมิตสุด ต้องวนไปทักนิมิตในทิศบูรพาซํ้าอีก ฯ คําทักนิมิตในทิศตะวันออกเฉียงเหนือว่าดังนี้ “ อุตฺตราย
อนุทิสาย กึ นิมิตฺตํ
” ฯ
(ปี 56) นิมิตรอบโรงอุโบสถ มีความสําคัญอย่างไร? คําทักนิมิตในทศตะวันออกว่าอย่างไร?
ตอบ มีความสําคัญ คือใช้เป็นเครองหมายเพื่อกําหนดเขตสมาสําหรบทําสังฆกรรมฯ คําทักนิมิตในทิศตะวันออกว่า “ปุรตฺถิมาย ทส
(ปี 53) นิมิตที่อยู่รอบโรงอุโบสถ มีไว้เพื่อประโยชน์อะไร? จงเขียนคําทักนิมิตในทิศตะวันตกเฉียงใต้มาดู?
ตอบ มีไว้เพื่อเป็นเครื่องหมายกําหนดเขตการทําสังฆกรรม ฯ ทกฺขิณาย อนุทิสาย กึ นิมิตฺตํฯ
าย
กึ นิมิตฺตํ”ฯ
Ø
คําอนุโมทนากฐนิ
(ปี 59, 56) กรานกฐิน ได้แก่การทําอย่างไร
? จงเขียนคําอนุโมทนากฐินมาดู
ตอบ ได้แก่ เมื่อมีผ้าเกิดขึ้นแก่สงฆ์ในเดือนท้ายฤดูฝน พอจะทําเป็นไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งได้ สงฆ์พร้อมใจกันยกให้แก่ภิกษุรูปหนึ่งผู้เหมาะสม ภิกษุ ผู้ได้รับผ้านั้นนําไปทําเป็นจีวรผืนใดผืนหนึ่งให้แล้วเสร็จในวันนั้น
แล้วมา บอกแก่ภิกษุผู้ยกผ้านั้นให้ เพื่ออนุโมทนา ภิกษุเหลานั้นอนุโมทนา ทั้งหมด
นี้คือกรานกฐิน ฯ คําอนุโมทนากฐินว่า อตฺถตํ ภนฺเต สงฺฆสส กฐินํ ธมฺมิโก กฐินตฺถาโร อนุโมทามิ ฯ
Ø
คําขออุปสมบท
(ปี 55) จงเขียนคําขออุปสมบทมา
ตอบ สงฺฆมฺภนฺเต อุปสมฺปทํ ยาจามิ อุลล
ุมฺปตุ
มํ ภนฺเต, สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทาย
ทุติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจามิ อุลฺลมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทาย ตติยมฺปิ
ภนฺเต
สงฺฆํ
อุปสมฺปทํ
ยาจามิ
อุลฺลมฺปตุ
มํ
ภนฺเต, สงฺโฆ
อนุกมฺปํ
อุปาทาย
ฯ
พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (**ควรท่องจําทุกมาตราให้ได้ เพราะผู้สอบมักทําเรื่องนี้ไม่ได้กัน**) พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕
พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐
พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑ ใหม่สดๆ ร้อนๆ …. มาตราที่มีเครื่องหมายดอกจัน
(*) อยู่ข้างหน้า
มาตรา ๕ ทวิ ในพระราชบัญญตนี้
คณะสงฆ์ หมายความว่า บรรดาพระภิกษุที่ได้รับบรรพชาอุปสมบทจากพระอุปชฌายตามพระราชบัญญัตินี้
หรือตามกฎหมายที่ใช้บังคับก่อน
พระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่าจะปฏิบัติศาสนกิจในหรือนอกราชอาณาจักร
คณะสงฆ์อื่น หมายความว่า บรรดาบรรพชิตจีนนิกายหรืออนัมนิกาย
พระราชาคณะ
หมายความว่า พระภิกษุที่ไดรับแต่งตั้งและสถาปนาให้มีสมณศักดิ์ตั้งแต่ชั้นสามัญจนถึงขั้นสมเด็จพระราชาคณะ
สมเด็จพระราชาคณะผมีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ หมายความว่า สมเด็จพระราชาคณะที่ได้รับสถาปนาก่อนสมเด็จพระราชาคณะรูปอน
สถาปนาในวันเดียวกันให้ถือรูปที่ได้รับสถาปนาในลําดบก่อน
ถ้าได้รับ
*
มาตรา ๕ ตรี เพื่อให้การอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา ตลอดจนการดูแลการปกครองคณะสงฆ์เป็นไปเพื่อส่งเสริมการเผยแผหลักธรรม
ของพระพุทธศาสนาให้เกิดการพัฒนาจิตใจและปัญญา และมีการรักษาพระธรรมวินัยของคณะสงฆ์ให้เป็นไปอย่างถูกต้องดีงามโดยเครง่ ครัด เป็นที่ เลื่อมใสศรัทธาแก่พุทธศาสนิกชนทั่วไป พระมหากษัตริย์จึงทรงไว้ซึ่งพระราชอํานาจในการแต่งตั้ง สถาปนา และถอดถอนสมณศักดิ์ของพระภิกษุใน คณะสงฆ์
และแต่งตั้งกรรมการมหาเถรสมาคมตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญตินี้และให้มี
อํานาจออก กฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้
หมวด ๑ สมเด็จพระสังฆราช
มาตรา ๗ พระมหากษัตริย์ทรงสถาปนาสมเด็จพระสังฆราชองค์หนึ่ง และให้นายกรัฐมนตรล
งนามรับสนองพระบรมราชโองการ
มาตรา ๙ ในกรณีที่สมเด็จพระสังฆราชทรงลาออกจากตําแหน่ง หรอพระมหากษัตริย์ทรงพระกรณ ทรงแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาของสมเด็จพระสังฆราช
หรือตําแหน่งอื่นใดตามพระราชอัธยาศัยก็ได้
าโปรดให้ออกจากตําแหน่ง
พระมหากษัตริย์จะ
* มาตรา ๑๐ ในเมื่อไม่มีสมเด็จพระสังฆราช ให้สมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสดโดยสมณศักดิ์เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช
ถ้าสมเด็จพระราชาคณะผมีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการมหาเถรสมาคมที่เหลืออยู่เลือกสมเด็จพระราชา
คณะรูปหนึ่งผู้มีอาวโสโดยสมณศักดิ์รองลงมาตามลาดับและสามารถปฏิบัติหน้าทไี่ ด้ เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช
ในเมื่อสมเด็จพระสังฆราชไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักร หรือไม่อาจทรงปฏิบัติหน้าทไี่ ด้ สมเด็จพระสังฆราชจะได้ทรงแต่งตั้งให้สมเด็จ
พระราชาคณะรูปใดรูปหนึ่งปฏิบัตหน้าที่แทน
ในกรณีที่สมเด็จพระสังฆราชมิได้ทรงแต่งตั้งผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนตามวรรคสาม หรือสมเด็จพระราชาคณะซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัตหน้าที่แทนสมเด็จ
พระสังฆราชไม่อาจปฏิบัตหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชได้ ให้นําความในวรรคหนึ่งและวรรคสองมาใช้บังคับโดยอนุโลม
ในการแต่งตั้งผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชตามมาตรานี้ ถ้าสมเด็จพระสังฆราชทรงเห็นเป็นการสมควรสาหรับกรณีที่มีเหตตามวรรค
สาม หรือกรรมการมหาเถรสมาคมที่เหลืออยู่เห็นเป็นการสมควรสาํ หรับกรณีที่มีเหตุตามวรรคหนึ่ง วรรคสอง หรือวรรคสี่ อาจพิจารณาเลือก
สมเด็จพระราชาคณะหลายรูปทสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ เพื่อให้เป็นคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชแทนผู้ปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง หรือ
แทนการดําเนินการตามวรรคสอง วรรคสาม
หรือวรรคสี่แล้วแต่กรณี ได้
และจะให้มีผู้ช่วยหรือที่ปรึกษาในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวด้วยก็ได้
วิธีดําเนินการของคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชให้เป็นไปตามที่คณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชกําหนด
เมื่อมีการแต่งตั้งหรือเลือกผู้ปฏิบัตหน้าที่หรือคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชตามมาตรานี้แล้ว
ให้นายกรัฐมนตรีนําความกราบ บังคมทูลทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท
ความในมาตรานี้ไม่กระทบกระเทือนพระราชอํานาจที่จะทรงพระกรุณาโปรด หรือมีพระราชวินิจฉัยให้ปฏิบัติเป็นประการอื่น
มาตรา ๑๑ สมเด็จพระสังฆราชพ้นจากตําแหน่ง เมื่อ
(๑) มรณภาพ
(๒) พ้นจากความเป็นพระภิกษุ
(๓) ลาออก
(๔) ทรงพระกรณาโปรดให้ออก
หมวด ๒ มหาเถรสมาคม
*มาตรา ๑๒ มหาเถรสมาคมประกอบด้วย
สมเด็จพระสังฆราชซึ่งทรงดํารงตําแหน่งประธานกรรมการโดยตําแหน่ง และกรรมการอื่นอีกไม่เกินยี่สิบ
รูปซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากสมเด็จพระราชาคณะพระราชาคณะ หรือพระภิกษซึ่งมีพรรษาอันสมควร และมจริยวัตรในพระธรรมวินัยที่ เหมาะสมแก่การปกครองคณะสงฆ์
การแต่งตั้งตามวรรคหนึ่งและการดําเนินการตามมาตรา ๑๕
(๔)
และวรรคสอง ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย โดยจะทรงปรึกษาหารือ กับสมเด็จพระสังฆราชก่อนก็ได้
มาตรา ๑๓
ให้อธิบดีกรมการศาสนาเป็นเลขาธิการมหาเถรสมาคม โดยตําแหน่ง และให้กรมการศาสนาทําหน้าที่สํานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม
* มาตรา ๑๔ กรรมการมหาเถรสมาคมซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งอยู่ในตําแหน่งคราวละสองปีและอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได
*
มาตรา ๑๕ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๔
กรรมการมหาเถรสมาคมซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งพ้นจากตําแหน่งเมื่อ
(๑)
มรณภาพ
(๒) พ้นจากความเป็นพระภิกษุ (๓) ลาออก
(๔) พระมหากษัตริย์มีพระบรมราชโองการให้ออก
ในกรณีที่กรรมการมหาเถรสมาคมพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระ พระมหากษัตริย์อาจทรงแต่งตั้งพระภิกษุตามมาตรา ๑๒ รูปใดรูปหนึ่งเป็น กรรมการแทน กรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งตามความในวรรคสองให้อยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน
* มาตรา ๑๕ ทวิ พระบรมราชโองการตามมาตรา ๑๐
วรรคเจ็ด การแต่งตั้งกรรมการมหาเถรสมาคมตามมาตรา ๑๒
และการให้กรรมการมหา
เถรสมาคมพ้นจากตําแหน่งตามมาตรา
๑๕ ให้นายกรัฐมนตรีเป็นผลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
มาตรา ๑๕ ตรี มหาเถรสมาคมมีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) ปกครองคณะสงฆ์ให้เป็นไปโดยเรียบร้อยดีงาม
(๒) ปกครองและกําหนดการบรรพชาสามเณร
(๓) ควบคุมและส่งเสริมการศาสนศึกษา
การศึกษา สงเคราะห์ การเผยแผ่ การสาธารณปการ และการสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์
(๔) รักษาหลักพระธรรมวินัยของพระพุทธศาสนา
(๕) ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ
ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญตินี้
หรือกฎหมายอื่น
เพื่อการนี้ให้มหาเถรสมาคมมีอํานาจตรากฎมหาเถรสมาคม
ออกข้อบังคับ วางระเบียบ ออกคําสั่ง มีมติหรือออกประกาศ โดยไม่ขัดหรือแย้งกับ กฎหมายและพระธรรมวินัยใช้บังคับได้ และจะมอบให้พระภิกษุรูปใดหรือคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการตามมาตรา ๑๙ เป็นผู้ใช้อํานาจ หน้าที่ตามวรรคหนึ่งก็ได้
มาตรา ๑๕ จัตวา เพื่อรักษาหลักพระธรรมวินัย
และเพื่อความเรียบร้อยดีงามของคณะสงฆ์
มหาเถรสมาคมจะตรากฎมหาเถรสมาคม
เพื่อกําหนด โทษหรือวิธีลงโทษทางการปกครองสําหรับพระภิกษุและสามเณรที่ประพฤติให้เกิดความเสียหายแก่พระศาสนา และการปกครองของคณะสงฆ์ก็ได้
พระภิกษุและสามเณรที่ได้รับโทษตามวรรคหนึ่ง ถึงขั้นให้สละสมณเพศต้องสึกภายในสามวันนับแต่วันทราบคําสั่งลงโทษ
หมวด ๓ การปกครองคณะสงฆ์
มาตรา ๒๐ คณะสงฆ์ต้องอยู่ภายใต้การปกครองของมหาเถรสมาคม
* มาตรา ๒๐/๑ เพื่อประโยชน์แก่การปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลางและส่วนภูมภาค ให้มีเจ้าคณะใหญ่ปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์
ภายใต้บังคับมาตรา ๒๐/๒ การแต่งตั้งและการกําหนดอํานาจหน้าที่เจ้าคณะใหญ่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดในกฎ
มหาเถรสมาคม
* มาตรา ๒๐/๒ การแต่งตั้งและถอดถอนเจ้าคณะใหญ่และเจ้าคณะภาค หากมีพระราชดาริเป็นประการใด ให้ดําเนินการไปตามพระราชดํารินั้น สําหรับการแต่งตั้งและถอดถอนพระภิกษุผู้ดํารงตําแหน่งปกครองคณะสงฆ์ตําแหน่งอื่น ให้ดําเนินการไปตามพระราชบัญญตินี้ เว้นแต่จะ
มีพระราชดําริเป็นประการอื่น
มาตรา ๒๑ การปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค ให้จัดแบ่งเขตปกครองดังนี้
(๑) ภาค (๒) จังหวัด (๓) อําเภอ (๔) ตําบล
จํานวนและเขตปกครองดังกล่าวให้เป็นไปตามที่กําหนดในกฎมหาเถรสมาคม
มาตรา ๒๒ การปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค ให้มีพระภิกษุเป็นผปกครองตามชั้นตามลําดับ
ดังต่อไปนี้
(๑) เจ้าคณะภาค
(๒) เจ้าคณะจังหวัด