วันอาทิตย์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2561

หมวด ๙ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท

พุทธคุณ ๙
อิติปิ โส ภควา แม้เพรำะเหตุนี้ๆ พระผู้มีพระภำคเจ้ำนั้น
๑. อรหํ เป็นพระอรหันต์
๒. สมฺมาสมฺพุทฺโธ เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
๓. วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชำและจรณะ
๔. สุคโต เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว
๕. โลกวิทู เป็นผู้รู้แจ้งโลก
๖. อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ เป็นสำรถีแห่งบุรุษพึงฝึกได้ ไม่มีบุรุษอื่น
ยิ่งไปกว่ำ
๗. สตฺถา เทวมนุสฺสานํ เป็นศำสดำ คือครู ของเทวดำและมนุษย์
ทั้งหลำย
๘. พุทฺโธ เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบำนแล้ว
๙. ภควา เป็นผู้มีโชค
พุทธคุณ แปลว่ำ คุณของพระพุทธเจ้ำ หมำยถึง พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำได้รับกำรยก
ย่องสรรเสริญจำก มนุษย์ เทวดำ มำร พรหม ด้วยพระคุณ ๙ ประกำร เรียกว่ำ นวำรหำทิคุณ
หรือนวหรคุณ แปลว่ำ คุณของพระพุทธเจ้ำ ๙ ประกำร มี อรห เป็นต้น แปลว่ำ คุณของ

พระพุทธเจ้ำผู้เป็นพระอรหันต์ ๙ ประกำร
สังฆคุณ ๙
ภควโต สาวกสงฺโฆ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
๑. สุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว
๒. อุชุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว
๓. ายปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติเป็นธรรม
๔. สามีจิปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติสมควร
ยทิทํ นี้คือใคร
จตฺตาริ ปุริสยุคานิ คู่แห่งบุรุษ ๔
อฏฐปุริสปุคฺคลา บุรุษบุคคล ๘
เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ นี่พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
๕. อาหุเนยฺโย เป็นผู้ควรของคำนับ
๖. ปาหุเนยฺโย เป็นผู้ควรของต้อนรับ
๗. ทกฺขิเณยฺโย เป็นผู้ควรของทำบุญ
๘. อญฺชลิกรณีโย เป็นผู้ควรทำอัญชลี
(ประนมมือไหว้)
๙. อนุตฺตรํ ปุญฺ กฺเขตฺตํ โลกสฺส เป็นนาบุญของโลก

ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า
สังฆคุณ แปลว่ำ คุณของพระสงฆ์ หมำยควำมว่ำ ควำมดีที่มีอยู่ในพระสงฆ์สำวก
ของพระผู้มีพระภำคเจ้ำ ผู้ประพฤติดีปฏิบัติชอบ เป็นอริยบุคคล คือ บุคคลผู้ปรำศจำกกิเลส
ดุจข้ำศึก ๔ คู่ ๘ ประเภท (คู่ที่ ๑ ผู้ดำรงอยู่ในโสดำปัตติมรรค และในโสดำปัตติผล,
คู่ที่ ๒ ผู้ดำรงอยู่ในสกทำคำมิมรรค และในสกทำมิผล, คู่ที่ ๓ ผู้ดำรงอยู่ในอนำคำมิมรรค

และในอนำคำมิผล, คู่ที่ ๔ ผู้ดำรงอยู่ในอรหัตตมรรคและในอรหัตตผล) มี ๙ ประกำร

หมวด ๘ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท

มรรคมีองค์ ๘
๑. สัมมาทิฏฐิ ปัญญาความเห็นชอบ ได้แก่ เห็นอริยสัจ ๔
๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ได้แก่ ดำริในการออกจากกาม ดำริในการ-
ไม่พยาบาท ดำริในการไม่เบียดเบียน จัดเป็นกุศลวิตก ๓
๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ ได้แก่ วจีสุจริต ๔
๔. สัมมากัมมันตะ การงานชอบ ได้แก่ กายสุจริต ๓
๕. สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ ได้แก่ เว้นมิจฉาชีพ ประกอบสัมมาชีพ
๖. สัมมาวายามะ เพียรชอบ หรือ พยายามชอบ ได้แก่ ปธาน หรือ สัมมัปปธาน
คือ ความเพียร ๔ อย่าง
๗. สัมมาสติ ระลึกชอบ ได้แก่ ระลึกในสติปัฏฐานทั้ง ๔
๘. สัมมาสมาธิ ตั้งใจมั่นชอบ ได้แก่ เจริญฌานทั้ง ๔
มรรค แปลว่ำ ทำง หมำยถึง ข้อปฏิบัติ มรรคมีองค์ ๘ เรียกเต็มว่ำ “อริย-
อัฏฐังคิกมรรค” แปลว่ำ ทำงมีองค์ ๘ ประกำรอันประเสริฐ เป็นอริยสัจข้อที่ ๔ และได้ชื่อ
ว่ำ มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่ำ ทำงสำยกลำง เพรำะเป็นข้อปฏิบัติอันพอดีที่จะนำไปสู่จุดหมำย
แห่งควำมหลุดพ้น เป็นอิสระ ดับทุกข์ ไม่ติดข้องในที่สุดโต่ง ๒ อย่ำง คือ กามสุขัลลิกานุโยค
ประพฤติตนหมกมุ่นอยู่ในกำมคุณ และ อัตตกิลมถานุโยค ประพฤติทรมำนตนให้ลำบำก

แล้วปฏิบัติในทำงสำยกลำง ๘ ประกำร

หมวด ๗ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท

อปริหานิยธรรม ๗
(สำหรับคฤหัสถ์)
๑. หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์ หมั่นประชุมกันมาก
๒. เมื่อประชุมก็พร้อมเพรียงกันประชุม เมื่อเลิกประชุมก็พร้อมเพรียงกันเลิก
๓. ไม่บัญญัติสิ่งที่มิได้บัญญัติไว้ ไม่เพิกถอนหรือยกเลิกสิ่งที่บัญญัติไว้แล้ว
ประพฤติมั่นอยู่ในธรรมเนียมเก่าตามที่บรรพบุรุษบัญญัติไว้แล้ว
๔. สักการะ เคารพ นับถือ บูชา ผู้ใหญ่ทั้งหลาย สำคัญถ้อยคำของท่านเหล่านั้น
ว่าเป็นถ้อยคำที่ต้องเชื่อฟัง
๕. ไม่ข่มขืนบังคับสตรีในตระกูล และกุมารีในตระกูลให้อยู่ร่วมด้วย
๖. สักการะ เคารพ นับถือ บูชาเจติยสถานของชาวเมืองทั้งหลายทั้งภายในภายนอก
ไม่ลบล้างพลีกรรมอันชอบธรรมซึ่งเคยให้เคยทำแก่เจติยสถานเหล่านั้น
๗. ถวายอารักขา คุ้มครองป้องกันโดยชอบธรรมในพระอรหันต์ทั้งหลายเป็นอย่างดี
ธรรม ๗ อย่างนี้ มีอยู่ในผู้ใด ผู้นั้นไม่มีความเสื่อมเลย มีแต่ความเจริญอย่างเดียว
อปริหานิยธรรม แปลว่ำ ธรรมไม่เป็นที่ตั้งแห่งควำมเสื่อม หมำยถึง คนที่อยู่รวมกัน
เป็นจำนวนมำก จำต้องมีกฎระเบียบปฏิบัติเป็นแนวทำงเดียวกัน ไม่ประพฤตินอกกฎระเบียบ

ที่มีอยู่ ไม่ทำอะไรตำมอำเภอใจ เพื่อให้เกิดควำมสำมัคคี และมีแต่ควำมเจริญ มี ๗ อย่ำง