วันอาทิตย์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2561

หมวด ๖ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท

จริต ๖
ราคจริต มีราคะเป็นปกติ
โทสจริต มีโทสะเป็นปกติ
โมหจริต มีโมหะเป็นปกติ
วิตักกจริต มีวิตกเป็นปกติ
สัทธาจริต มีศรัทธาเป็นปกติ
พุทธิจริต มีความรู้เป็นปกติ

จริต แปลว่ำ ควำมประพฤติ หมำยถึง ควำมประพฤติคุ้นเคยซึ่งหนักไปทำงใดทำงหนึ่ง
อันเป็นปกติประจำอยู่ในสันดำน หรือพฤติกรรมที่แสดงออกมำเป็นควำมชอบควำมเคยชิน
เป็นลักษณะเด่นชัดในด้ำนนั้น ๆ ควำมประพฤติหรือลักษณะนิสัย เรียกอีกอย่ำงว่ำ จริยำ
มี ๖ อย่ำง คือ
๑. ราคจริต มีราคะเป็นปกติ หรือ มีรำคะเป็นเจ้ำเรือน หมำยถึงคนที่มีลักษณะ
นิสัยหนักไปทำงรำคะ รักสวยรักงำม ละมุนละไม ชอบควำมเอำอกเอำใจ ควำมอ่อนโยน
หรือชอบเรื่องบันเทิงเจริญใจ แสดงออกให้เห็นในลักษณะต่ำงๆ เช่น มีอิริยำบถเรียบร้อย
สวยงำมทำกำรงำนละเอียดประณีต นิยมรสอำหำรที่กลมกล่อม มักติดใจพอใจอย่ำงลึกซึ้ง
ในสิ่งที่ตนเกิดควำมรักควำมยินดี เป็นคนเจ้ำเล่ห์ โอ้อวด ถือตัว มีควำมต้องกำรทำงกำมและ
เกียรติมำก เช่น ต้องกำรเป็นใหญ่ให้คนยกย่องสรรเสริญ ไม่ค่อยสันโดษ มักโลเล พิถีพิถัน
ในเรื่องอำหำร กำรแต่งตัว และกำรทำงำน เป็นต้น คนราคจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญ
อสุภกัมมัฏฐำน ๑๐ และกำยคตำสติ
๒. โทสจริต มีโทสะเป็นปกติ หรือ มีโทสะเป็นเจ้ำเรือน หมำยถึงคนที่มีลักษณะ
นิสัยหนักไปทำงโทสะ ประพฤติหนักไปทำงใจร้อนหงุดหงิดรุนแรง ฉุนเฉียวโกรธง่ำย
ชอบควำมรุนแรง ชอบกำรต่อสู้เอำชนะระรำนผู้อื่นด้วยกำลัง อำจสังเกตได้จำกอิริยำบถที่
พรวดพรำดรีบร้อน กระด้ำง ทำกำรงำนรวดเร็วแต่ไม่ค่อยเรียบร้อย ไม่สำรวม ชอบบริโภค
อำหำรรสจัด กินเร็ว มักโกรธง่ำย ลบหลู่คุณท่ำน ตีเสมอ และมักริษยำ คนโทสจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญกัมมัฏฐำน ประเภทวัณณกสิณ ๔ คือ นีลกสิณ ปีตกสิณ โลหิตกสิณ
โอทำตกสิณ และเจริญพรหมวิหำร ๔ คือ เมตตำ กรุณำ มุทิตำ อุเบกขำ
๓. โมหจริต มีโมหะเป็นปกติ หรือ มีโมหะเป็นเจ้ำเรือน หมำยถึงคนที่มีลักษณะ
นิสัยหนักไปทำงโมหะ ประพฤติหนักไปทำงเขลำ เหงำซึม ขี้หลงขี้ลืม เลื่อนลอยไปตำมกระแส
สังคม ขำดเหตุผล ชอบเรื่องไร้สำระ อำจสังเกตได้จำกอิริยำบถที่เซื่องซึมเหม่อลอย ทำกิจกำร
งำนหยำบ ไม่ถี่ถ้วน คั่งค้ำง ขำดควำมเรียบร้อย เอำดีไม่ค่อยได้ ไม่เลือกอำหำรกำรกิน อย่ำงไร
ก็ได้ มักมีควำมเห็นคล้อยตำมคนอื่นง่ำยๆ ใครว่ำอย่ำงไร ก็ว่ำตำมเขำ มักชอบง่วงนอน ขี้สงสัย
เข้ำใจอะไรยำก เป็นต้น คนโมหจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญอำนำปำนสติกัมมัฏฐำน หรือ
เพ่งกสิณ และพึงเสริมปัญญำด้วยกำรจัดให้มีกำรเรียน กำรไต่ถำม กำรฟังธรรม กำรสนทนำ
ธรรมตำมกำล หรือกำรให้อยู่กับครูอำจำรย์
๔. วิตักกจริต มีวิตกเป็นปกติ หรือ มีควำมวิตกเป็นเจ้ำเรือน หมำยถึงคนที่มี
ลักษณะนิสัยควำมประพฤติหนักไปทำงชอบครุ่นคิดวกวน นึกคิดฟุ้งซ่ำน ย้ำคิดย้ำทำ ขำดควำม
มั่นใจในตนเอง ชอบวิตกกังวลเรื่องไม่เป็นเรื่อง คิดตรึกตรองไปเรื่อยๆ ไม่ค่อยแน่นอนอะไร
นัก เข้ำใจอะไรไม่ตลอดสำย อำจสังเกตได้จำกอิริยำบถที่เชื่องช้ำ คล้ำยพวกโมหจริต ทำกำร
งำนจับจดไม่เป็นหลัก แต่เป็นคนช่ำงพูด อำหำรที่บริโภคไม่ค่อยพิถีพิถันมำกนัก อย่ำงไรก็ได้
มักเห็นตำมคล้อยตำมผู้คนหมู่มำก ประเภทพวกมำกลำกไป เป็นคนโลเลเดี๋ยวดีเดี๋ยวร้ำย
คนวิตักกจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญอำนำปำนสติกัมมัฏฐำน
๕. สัทธาจริต มีศรัทธาเป็นปกติ หรือ มีควำมเชื่อง่ำยเป็นเจ้ำเรือน หมำยถึงคนที่มี
ลักษณะนิสัยมำกด้วยศรัทธำ ประพฤติหนักไปทำงถือมงคลตื่นข่ำว เชื่อง่ำยโดยปรำศจำก
เหตุผล ไว้ใจทุ่มเทใจให้ผู้อื่นได้ง่ำย ชอบเรื่องไสยศำสตร์หรืออำนำจลึกลับ สังเกตได้จำก
อิริยำบถที่แช่มช้อยละมุนละม่อม ทำกำรงำนอะไรจะมีควำมเรียบร้อย ชอบสวยงำมแบบ
เรียบร้อย ชอบสวยงำมแบบเรียบๆ ไม่ฉูดฉำด ไม่โลดโผน ชอบอำหำรรสมัน มีจิตใจเบิกบำน
ในเรื่องที่เป็นกุศล แต่ไม่ชอบโอ้อวด คนสัทธาจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญกัมมัฏฐำน
ประเภทอนุสสติ ๖ ประกำร คือ พุทธำนุสสติ ธัมมำนุสสติ สังฆำนุสสติ สีลำนุสสติ
จำคำนุสสติ และเทวตำนุสสติ นอกจำกนี้ พึงชักนำไปในสิ่งที่ควรแก่ควำมเลื่อมใสและควำม
เชื่อที่มีเหตุผล
๖. พุทธิจริต มีความรู้เป็นปกติ มีพุทธิปัญญำเป็นเจ้ำเรือนหมำยถึงคนที่มีลักษณะ
นิสัยควำมประพฤติหนักไปทำงใช้ควำมคิดพิจำรณำและมองไปตำมควำมจริง มีปัญญำเฉียบแหลม ว่องไว ได้ยินได้ฟังอะไรมักจำได้เร็ว อำจสังเกตได้จำกอิริยำบถที่ว่องไวและเรียบร้อย
ทำกิจกำรงำนอะไรมักเป็นประโยชน์ ทำได้เรียบร้อยสวยงำมมีระเบียบ ชอบบริโภคอำหำร
รสไม่จัด มองอะไรด้วยควำมพินิจพิเครำะห์ คนพุทธิจริต ควรแก้ด้วยกำรให้เจริญกัมมัฏฐำน
๔ ประกำร คือ มรณัสสติ อุปสมำนุสสติ อำหำเรปฏิกูลสัญญำ และจตุธำตุววัตถำน นอกจำกนี้
พึงส่งเสริมแนะนำให้ใช้ควำมคิดพิจำรณำสภำวธรรมและสิ่งดีงำมที่ให้เจริญปัญญำ
จริตหรือจริยำ ๖ อย่ำงนี้ ในบุคคลคนเดียว แม้จะเป็นผู้มีลักษณะเด่นไปในจริตใด
จริตหนึ่งดังกล่ำวมำ แต่บำงครั้งอำจมีจริตระคนกันเกิดขึ้นพร้อมกันหลำยจริตก็มี เช่น
ในกรณีเมื่อผู้น้อยไม่ได้สิ่งที่ตนปรำรถนำจึงโกรธนินทำผู้ใหญ่ เช่นนี้ท่ำนว่ำมีทั้งรำคจริต
โทสจริต และโมหจริตระคนกัน
ธรรมคุณ ๖
สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว
สนฺทิฏฐิ โก อันผู้ได้บรรลุจะพึงเห็นเอง
อกาลิโก ไม่ประกอบด้วยกาล
เอหิปสฺสิโก ควรเรียกให้มาดู
โอปนยิโก ควรน้อมเข้ามา
ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญฺญูหิ อันวิญญูชนพึงรู้เฉพาะตน
ธรรมคุณ แปลว่ำ คุณของพระธรรม หมำยถึง คำสอนทำงพระพุทธศำสนำที่บุคคล
ประพฤติปฏิบัติดีแล้ว จะได้ผลคือควำมดี เพรำะพระธรรมมีควำมดีรอบด้ำน โดยสมควรแก่
กำรปฏิบัติที่เรียกว่ำ ธัมมำนุธัมมปฏิบัติ คุณของพระธรรมท่ำนจำแนกไว้ ๖ ประกำร

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น