วันอาทิตย์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2561

หมวด ๕ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 322) ชั้นโท

อนุปุพพีกถา ๕
ทานกถา กล่าวถึงทาน
สีลกถา กล่าวถึงศีล
สัคคกถา กล่าวถึงสวรรค์
กามาทีนวกถา กล่าวถึงโทษแห่งกาม
เนกขัมมานิสังสกถา กล่าวถึงอานิสงส์แห่งความออกจากกาม
อนุปุพพีกถา แปลว่ำ ถ้อยคำที่พรรณนำควำมโดยลำดับ หมำยถึง พระธรรมเทศนำ
ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงไปโดยลำดับเพื่อฟอกจิตของเวไนยสัตว์ผู้มีอุปนิสัยสำมำรถจะบรรลุ
ธรรมพิเศษ ให้หมดจดเป็นชั้นๆ จำกง่ำยไปหำยำก ซึ่งเป็นกำรเตรียมจิตของผู้ฟังให้พร้อมที่
จะรับฟังอริยสัจต่อไป มี ๕ อย่ำง
มัจฉริยะ ๕
อาวาสมัจฉริยะ ตระหนี่ที่อยู่
กุลมัจฉริยะ ตระหนี่สกุล
ลาภมัจฉริยะ ตระหนี่ลาภ
วัณณมัจฉริยะ ตระหนี่วรรณะ
ธัมมมัจฉริยะ ตระหนี่ธรรม
มัจฉริยะ แปลว่ำ ควำมตระหนี่ หมำยถึง ควำมหวงแหนกีดกันไม่ให้ผู้อื่นได้ดีหรือมี
ส่วนร่วม คือ ควำมไม่พอใจที่จะให้สิ่งของของตนแก่ผู้อื่นด้วยอำกำรที่หวงแหนเหนียวแน่น

โดยมีควำมโลภเป็นสมุฏฐำน
มาร ๕
ขันธมาร มารคือปัญจขันธ์
กิเลสมาร มารคือกิเลส
อภิสังขารมาร มารคืออภิสังขาร
มัจจุมาร มารคือมรณะ
เทวปุตตมาร มารคือเทวบุตร
มาร แปลว่ำ สภำพที่ทำให้ตำย หมำยถึง สิ่งที่ฆ่ำบุคคลให้ตำยจำกคุณควำมดีและ

ผลที่คำดหวัง หรือสิ่งที่ล้ำงผลำญคุณควำมดี ตัวกำรที่กำจัดขัดขวำงบุคคลมิให้บรรลุผลสำเร็จ
นิวรณ์ ๕
ธรรมอันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี เรียก นิวรณ์ มี ๕ อย่าง
๑. ความพอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจ มีรูป เป็นต้น เรียกกามฉันท์
๒. ปองร้ายผู้อื่น เรียกพยาบาท
๓. ความที่จิตหดหู่และเคลิบเคลิ้ม เรียกถีนมิทธะ
๔. ฟุ้งซ่านและรำคาญ เรียกอุทธัจจกุกกุจจะ
๕. ลังเลไม่ตกลงใจได้ เรียกวิจิกิจฉา
นิวรณ์ แปลว่ำ กิเลสหรืออกุศลธรรมที่ครอบงำจิต หรือปิดกั้นจิตไม่ให้บรรลุควำมดี
ไม่ให้ก้ำวขึ้นสู่ธรรมเบื้องสูงขึ้นไป ควำมดีในที่นี้ หมำยถึง สมำธิ ฌำน สมำบัติ เช่น ในกำร
เจริญสมถกัมมัฏฐำน หรือเจริญวิปัสสนำกัมมัฏฐำนก็ตำม หำกกิเลสเหล่ำนี้อย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง

เกิดขึ้นแล้วจะไม่สำมำรถเจริญกัมมัฏฐำนให้ก้ำวหน้ำได้
ขันธ์ ๕
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
กำยกับใจนี้ แบ่งออกเป็น ๕ กอง เรียกว่ำ ขันธ์ ๕ คือ
๑. รูป ๒. เวทนำ ๓. สัญญำ
๔. สังขำร ๕. วิญญำณ
ธำตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม ประชุมกันเป็นกำย นี้ เรียกว่ำ รูป
ควำมรู้สึกอำรมณ์ว่ำ เป็นสุข คือสบำยกำยสบำยใจ หรือเป็นทุกข์ คือไม่สบำยกำย
ไม่สบำยใจ หรือเฉยๆ คือไม่ทุกข์ไม่สุข เรียกว่ำ เวทนา
ควำมจำได้หมำยรู้ คือ จำรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อำรมณ์ที่เกิดกับใจได้
เรียกว่ำ สัญญา
เจตสิกธรรม คืออำรมณ์ที่เกิดกับใจ เป็นส่วนดีเรียกกุศล เป็นส่วนชั่วเรียกอกุศล
เป็นส่วนกลำงๆ ไม่ดีไม่ชั่วเรียกอัพยำกฤต เรียกว่ำ สังขาร
ควำมรู้อำรมณ์ ในเวลำที่รูปมำกระทบตำ เป็นต้น เรียกว่ำ วิญญาณ
ขันธ์ ๕ นี้ย่อลง เรียกว่ำ นามรูป เวทนำ สัญญำ สังขำร วิญญำณ รวมเข้ำเป็นนำม,

รูปคงเป็นรูป.
ขันธ์ แปลว่ำ กอง หมำยควำมว่ำ แบ่งกำยกับใจออกเป็น ๕ กอง ได้แก่ รูปขันธ์
เวทนำขันธ์ สัญญำขันธ์ สังขำรขันธ์ และวิญญำณขันธ์ ดังนี้
๑. รูปร่ำงกำยอันประกอบด้วยธำตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม รวมตัวกันเข้ำ เกิดใน
ครรภ์มำรดำ มีอวิชชำ ตัณหำ อุปำทำน กรรม และอำหำรเป็นเหตุ เป็น ๑ กอง เรียกว่ำ
รูปขันธ์ แปลว่ำ กองรูป,
๒. ส่วนใจ แบ่งออกเป็น ๔ กอง คือ
๑) เมื่ออำยตนะภำยในอำยตนะภำยนอก และวิญญำณ ๓ อย่ำง ประชุมกัน
ก็เกิดผัสสะ ผัสสะเป็นปัจจัยให้เกิดควำมสุขบ้ำง ควำมทุกข์บ้ำง กลำงๆ ไม่สุขไม่ทุกข์บ้ำง
เป็นเวทนำขันธ์ แปลว่ำ กองเวทนา
๒) ควำมจำได้หมำยรู้สิ่งที่มำกระทบทำงทวำรทั้ง ๖ ที่ล่วงมำแล้วแม้นำนได้
กล่ำวคือ เมื่อรูป เสียง เป็นต้น แม้ผ่ำนพ้นไปแล้ว และเวทนำดับไปแล้วก็ยังจำได้ ควำมจำ
ได้นี้ เป็นสัญญำขันธ์ แปลว่ำ กองสัญญา
๓) อำรมณ์ที่เกิดกับใจ ทั้งอิฏฐำรมณ์และอนิฏฐำรมณ์ ทั้งที่เป็นกุศลหรืออกุศล
หรือที่เป็นกลำงๆ กล่ำวคือ เมื่อจำได้ ก็คิดปรุงแต่งหรือปรุงแต่งควำมคิด ดีบ้ำง ชั่วบ้ำง ไม่ดี
ไม่ชั่วบ้ำง ควำมคิดปรุงแต่งจิตให้มีอำกำรต่ำงๆ นี้ เป็นสังขำรขันธ์ แปลว่ำ กองสังขาร
๔) ควำมรู้อำรมณ์ในรูปขันธ์ที่กรรมตกแต่งให้มีอำยตนะภำยใน ๖ คือ ตำ หู
จมูก ลิ้น กำย ใจ, เมื่ออำยตนะภำยนอกมีรูปกระทบตำ เสียงกระทบหู กลิ่นกระทบจมูก
รสกระทบลิ้น โผฏฐัพพะกระทบกำย อำรมณ์ต่ำงๆ กระทบใจ ก็เกิดควำมรู้ขึ้น เป็นวิญญำณขันธ์
แปลว่ำ กองวิญญาณ
ขันธ์ ๕ นี้ เป็นสภำวธรรม มีกำรเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ไม่ควรเข้ำไปยึดถือว่ำ เป็นเรำ
เป็นของเรำ เป็นตัวตน เพรำะตกอยู่ในไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ไม่เที่ยง ทุกขัง ทนได้ยำก หรือ

ไม่อยู่ในสภำพเดิม อนัตตา ไม่มีตัวตน ไม่อยู่ในบังคับบัญชำของใคร สรุปเรียกว่ำ กาย ใจ,หรือ รูป นาม ก็ได้
เวทนา ๕
สุข ทุกข์ โสมนัส โทมนัส อุเบกขา

เวทนา แปลว่ำ ควำมเสวยอำรมณ์ หมำยถึง ภำวะจิตที่เกิดควำมรู้สึก เมื่อรับอำรมณ์
ต่ำงๆ จำแนกโดยรวมทั้งกำยและจิตไว้ ๕ ประกำร คือ
๑. สุข หรือ สุขเวทนา ควำมรู้สึกสุข หมำยถึง ควำมรู้สึกสบำย ในที่นี้ มำคู่กับ
โสมนัส จึงหมำยเอำเฉพำะควำมรู้สึกสุขทำงกำย หรือควำมรู้สึกสบำยกำยอย่ำงเดียว
๒. ทุกข์ หรือ ทุกขเวทนา ควำมรู้สึกทุกข์ หมำยถึง ควำมรู้สึกไม่สบำย ในที่นี้มำคู่
กับโทมนัสจึงหมำยเอำเฉพำะควำมรู้สึกทุกข์กำยหรือควำมรู้สึกไม่สบำยกำยอย่ำงเดียว
๓. โสมนัส หรือ โสมนัสสเวทนา ควำมรู้สึกสุขใจ หมำยถึงควำมรู้สึกสบำยใจ
๔. โทมนัส หรือ โทมนัสสเวทนา ควำมรู้สึกทุกข์ใจ หมำยถึงควำมรู้สึกเสียใจ
๕. อุเบกขา หรือ อุเปกขาเวทนา ควำมรู้สึกเฉยๆ หมำยถึงควำมที่จิตมีควำมรู้สึก
เป็นกลำงระหว่ำงสุขกับทุกข์ ไม่ดีใจไม่เสียใจ เป็นได้เฉพำะทำงใจ เพรำะอุเบกขำทำงกำย
ไม่มี แต่ควำมเฉยๆ แห่งกำย คือกำยเป็นปกติอยู่นั้น ท่ำนจัดว่ำเป็นสุขเวทนำ
เวทนำ ๕ อย่ำงนี้ ย่อมบังเกิดมีแก่บุคคล สัตว์ ทุกประเภท ในส่วนปุถุชน เมื่อเกิดขึ้น
แล้วย่อมทำให้จิตหวั่นไหวมำก หำกเป็นสุขกำยหรือสุขเวทนำก็จะตื่นเต้นยินดีมำก หำกเป็น
ทุกข์กำยหรือทุกขเวทนำก็จะดิ้นรนกระสับกระส่ำยมำก อุเบกขำเวทนำไม่สำมำรถดำรงมั่น
อยู่ในจิตได้ หรือได้ก็เป็นเพียงชั่วครู่เท่ำนั้น ซึ่งต่ำงจำกพระอริยบุคคล เมื่อกระทบกับเวทนำ
ส่วนใดก็มักไม่หวั่นไหวไปตำม จิตจะตั้งมั่นอยู่ในอุเบกขำเวทนำเป็นส่วนใหญ่ ในเวทนำ ๕ นี้
หำกสรุปลงเป็น ๓ คือ สุขเวทนำ ทุกขเวทนำ อุเบกขำเวทนำ คือ สุขกับโสมนัส จัดเป็นสุขเวทนำ

ทุกข์กับโทมนัส จัดเป็นทุกขเวทนำ ส่วนอุเบกขำเวทนำคงเดิม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น