วันศุกร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

วิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอก 2554

 









ปัญหาและเฉลยวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอก สอบในสนามหลวง


วันพฤหัสบดี            ที่ ๑๕ ธันวาคม         พ.ศ. ๒๕๕๔ 

                        สงฆ์ผู้ท ำสังฆกรรม ท่านจัดเป็นวรรคไว้อย่างไรบ้าง ? แต่ละวรรค อะไรได้บ้าง ?


                        จัดอย่างนี้ คือ สงฆ์มีจ ำนวน ๔ รูปเรียกว่า จตุรวรรค จ ำนวน ๕ รูปเรียกว่า ปัญจวรรค จ ำนวน ๑๐ รูปเรียกว่า ทสวรรค จ ำนวน ๒๐ รูปเรียกว่า วีสติวรรค ฯ


สังฆกรรมทุกอย่าง เว้นปวารณา ให้ผ้ากฐิน อุปสมบท และอัพภ สงฆ์จตุรวรรคท ำได้,

ปวารณา ให้ผ้ากฐิน อุปสมบทในปัจจันตชนบท สงฆ์ปัญจวรรคท ำ อุปสมบทในมัธยมชนบท สงฆ์ทสวรรคท ำได้, อัพภาน สงฆ์วีสติวรรคท ำได้ ฯ สงฆ์มีจ ำนวนมากกว่าที่ก ำหนดไว้ สามารถท ำกรรมประเภทนั้น ๆ ได

                        สีมา  คืออะไร ?  มีความส ำคัญอย่างไร ?

                        คือ  เขตประชุมของสงฆ์ผู้ท ำสังฆกรรม ฯ

มีความส ำคัญอย่างนี้ พระศาสดาทรงพระอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพร ท ำสังฆกรรมภายในสีมา เพื่อจะรักษาสามัคคีในสงฆ์ อันความส ย่อมเป็นกลังใหญ่ของหมู่ ำ ขาดความสามัคคีแล้ว หมู่ย่อมไม่ ถ้าไม่มีสีมาก็ไม่มีเขตประชุม สีมาจึงมีความส ำคัญอย่างนี้ ฯ

                        สงฆ์ผู้มีสิทธิรับผ้ากฐิน ต้องมีคุณสมบัติอย่างไร ? ภิกษุผ พึงมีคุณสมบัติอะไรบ้าง ? จงบอกมาสัก ๕ ข้อ

                        ต้องเป็นผู้จ ำพรรษามาแล้วถ้วนไตรมาสไม่ขาดในอาวาสเดียวกัน มี ตั้งแต่ ๕ รูปขึ้นไป ฯ พึงมีคุณสมบัติอย่างนี้ คือ (ให้ตอบเพียง ๕ ข้อ ใน ๘ ข้อต่ ๑. รู้จักบุพพกรณ์

๒. รู้จักถอนไตรจีวร

                       รู้จักอธิษฐานไตรจีวร ๔. รู้จักการกราน

๕. รู้จักมาติกา คือหัวข้อแห่งการเดาะกฐิน ๖. รู้จักปลิโพธกังวลเป็นเหตุยังไม่เดาะกฐิน ๗. รู้จักการเดาะกฐิน ๘. รู้จักอานิสงส์กฐิน ฯ


                        ภิกษุถือว่าได้รับอานิสงส์กฐินแล้ว เข้าบ้านในเวลาวิกาลโดยไ ต้องอาบัติอะไรหรือไม่ ? เพราะเหตุไร ?

                        ในกรณีที่รับนิมนต์แล้ว ไปในที่นิมนต์ ภายหลังภัตรเข้าบ้านโ ไม่ต้องอาบัติ ซึ่งได้รับยกเว้นด้วยอานิสงส์ที่ว่าเที่ยวไป ตามสิกขาบทที่ ๖ แห่งอเจลกวรรค ในปาจิตติยกัณฑ์ ฯ แต่ในกรณีที่ไม่ได้รับนิมนต์ เข้าบ้านในเวลาวิกาล ต้องอาบั ตามสิกขาบทที่ ๓ แห่งรัตนวรรค ในปาจิตติยกัณฑ์ ยกเว้นใน รีบด่วน เช่นภิกษุถูกงูกัดรีบเข้าไปเพื่อหายาหรือตามหมอ ฯ



                        องคสมบัติของภิกษุผู้จะเป็นอุปัชฌาย์ให้อุปสมบท เป็นอาจาร ที่ก ำหนดไว้ในบาลีมีหลายอย่าง แม้บกพร่องบางอย่างก็ได้ แต่ท คือองคสมบัติอะไร ?


                        ที่ขาดไม่ได้  คือ  มีพรรษา ๑๐ หรือยิ่งกว่า ฯ

                        ในการอุปสมบท  คนที่ได้ชื่อว่าลักเพศ  ได้แก่คนเช่นไร ?

                        ได้แก่คนถือเพศภิกษุเอาเอง ด้วยตั้งใจจะปลอมเข้าอยู่ในหมู่ภิกษุ ว่า เดียรถีย์ปลอมเข้าอยู่ในหมู่ภิกษุครั้งอโศกรัชกาล ถ้าคนนั ทรงเพศเพราะเหตุอย่างอื่น เป็นต้นว่าเพื่อหนีภัย ไม่จัดเป็นคนล


                        ตัชชนียกรรมและตัสสปาปิยสิกากรรม กรรมไหนส ำหรับลงโทษแก่ภ ผู้เป็นโจทก์ ? กรรมไหนส ำหรับลงโทษแก่ภิกษุผู้เป็นจเลย?เพราะประพฤติ ำ บกพร่องอย่างไร ?

                        ตัชชนียกรรมส ำหรับลงโทษแก่ภิกษุผู้เป็นโจทก์ เพราะจงใจหาควา ภิกษุอื่น ก่ออธิกรณ์ขึ้นในสงฆ์ ตัสสปาปิยสิกากรรมส ำหรับล ผู้เป็นจเลย  ำ เพราะเป็นผู้จงใจปกปิดความประพฤติเสียหายของตนด้ว การให้การเท็จ ฯ



                        วุฏฐานวิธีหมายถึงอะไร ? ในการท ำวุฏฐานวิธีแต่ละอย่างนั้น ต้ จ ำนวนเท่าไรเป็นอย่างน้อย ?

                        หมายถึง ระเบียบวิธีเป็นเครื่องออกจากอาบัติสังฆาทิเสส ฯ อัพภาน ต้องการสงฆ์ ๒๐ รูปเป็นอย่างน้อย นอกนั้นต้องการตั้งแ ขึ้นไป ฯ


พระราชบัญญัติคณะสงฆ์

                        ค ำว่า คณะสงฆ์ และคณะสงฆ์อื่น แห่งมาตรา ๕ ทวิ ในพระราชบัญ คณะสงฆ์หมายถึงใคร ?

                        คณะสงฆ์ หมายถึงบรรดาพระภิกษุที่ได้รับบรรพชาอุปสมบทจากพระอุป ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามกฎหมายที่ใช้บังคับก่อนพระราช ไม่ว่าจะปฏิบัติศาสนกิจในหรือนอกราชอาณาจักร ฯ คณะสงฆ์อื่น หมายถึงบรรดาบรรพชิตจีนนิกายหรืออนัมนิกาย ฯ

  
๑๐.   องค์กรปกครองคณะสงฆ์สูงสุด คืออะไร ? มีการก ำหนดองค์ประกอบไ อย่างไร ?


๑๐. คือ         มหาเถรสมาคม ฯ
มีการก ำหนดองค์ประกอบไว้อย่างนี้            คือ
สมเด็จพระสังฆราช      ทรงด ำรงต ำแหน่งประธานกรรมการโดยต ำแหน่ง
สมเด็จพระราชาคณะทุกรูปเป็นกรรมการโดยตแหน่ง ำ            และพระราชาคณะ
ซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตั้ง  มีจ ำนวนไม่เกิน ๑๒ รูปเป็นกร

*********


วันพฤหัสบดีที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

วิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอก 2555

ปัญหาและเฉลยวิชาวินัยบัญญัติ  นักธรรมชั้นเอก

สอบในสนามหลวง

วันอาทิตย์ ที่ ๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

๑.      สังฆกรรมมีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? สังฆกรรมแต่ละประเภท ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทำในที่เช่นไร?

ตอบ สังฆกรรมมี ๔ ประเภท ฯ คือ อปโลกนกรรม ๑ ญัตติกรรม ๑ ญัตติทุติยกรรม ๑ ญัตติจตุตถกรรม ๑ ฯ

อปโลกนกรรม ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทำในเขตสีมา หรือนอกเขตสีมาก็ได้

ส่วนญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม และญัตติจตุตถกรรม ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทำในเขตสีมา จะเป็นพัทธสีมา หรืออพัทธสีมาก็ได้ ฯ

๒.     ความพรั่งพร้อมของสงฆ์ครบองค์ที่กำหนดเป็นส่วนสำคัญในการประกอบสังฆกรรมนั้นๆ เมื่อครบองค์สงฆ์ตามที่กำหนด สังฆกรรมนั้นๆ เป็นอันใช้ได้แล้ว หรือยังมีช่องทางเสียหายอื่นอีก? จงชี้แจง

ตอบ นับว่าเป็นใช้ได้เฉพาะแต่อปโลกนกรรมเท่านั้น ส่วนสังฆกรรมอื่นๆ อีก ๓ อย่าง คือ ญัตติกรรม๑ ญัตติทุติยกรรม ๑ ญัตติจตุตถกรรม ๑ ยังมีช่องทางเสียหายอื่นอีก คือ วัตถุวิบัติบ้าง สีมาวิบัติบ้าง กรรมวาจาวิบัติบ้าง ฯ

๓.     พัทธสีมา มีกี่ชนิด? อะไรบ้าง? สีมาผูกเฉพาะบริเวณอุโบสถเรียกว่าอะไร?

ตอบ มี ๓ ชนิดคือ สีมาผูกเฉพาะบริเวณโรงอุโบสถ เรียกขัณฑสีมา ๑   สีมาผูกทั่ววัด เรียกมหาสีมา ๑   สีมาผูก ๒ ชั้น ๑ ฯ

เรียกว่าขัณฑสีมา ฯ

๔.     พระทัพพมัลลบุตร มีความดำริอย่างไร พระศาสดาทรงทราบแล้วทรงสาธุการ ตรัสให้สงส์สมมติให้ท่านรับหน้าที่อะไรบ้าง?

ตอบ ท่านดำริว่า ท่านอยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ควรจะรับธุระของสงฆ์จึงกราบทูลพระศาสดาทรงสาธุการแล้ว ตรัสให้สงส์สมมติท่านให้เป็นภัตตุทเทสกะและเสนาสนคาหาปกะ ฯ

๕.     อะไรเป็น บุพพกิจ และ ปัจฉิมกิจ แห่งอุปสมบทกรรม?

ตอบ การให้บรรพชาจนถึงสมมติภิกษุรูปหนึ่งสอบถามอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรมในสงฆ์ เป็นบุพพกิจแห่งอุปสมบทกรรม ฯ

การวัดเงาแดด การบอกประมาณแห่งฤดู การบอกส่วนแห่งวัน การบอกสังคีติ การบอกนิสัย ๔ การบอกอกรณียกิจ ๔ ในลำดับเวลาสวดกรรมวาจาจบ เป็นปัจฉิมกิจแห่งอุปสมบทกรรม ฯ

๖.      อนุวาทาธิกรณ์ คืออะไร? ระงับด้วยอธิกรณสมถะเท่าไร? อะไรบ้าง?

ตอบ คือ การโจทกันด้วยอาบัตินั้น ๆ ฯ   ระงับด้วยอธิกรณสมถะ ๔ อย่าง คือ ๑.สัมมุขาวินัย ๒.สติวินัย ๓,อมูฬหวินัย ๔,ตัสสปาปิยสิกา ฯ

๗.     นาสนา คืออะไร? บุคคลเช่นไรที่ทรงอนุญาตให้นาสนา?

ตอบ    คือ การยังบุคคลผู้ไม่สมควรถือเพศภิกษุและสามเณร ให้สละเพศเสีย ฯ

บุคคลที่ทรงอนุญาตให้นาสนามี ๓ ประเภท คือ

๑. ภิกษุต้องอันเติมวัตถุแล้วยังปฏิญญาตนเป็นภิกษุ

๒. บุคคลผู้อุปสมบทไม่ขึ้น ได้รับอุปสมบทแต่สงฆ์

๓. สามเณรผู้ประกอบด้วยองค์ ๑๐ ข้อใดข้อหนึ่ง เช่นเป็นผู้มักผลาญชีวิตสัตว์ เป็นต้น ฯ

๘.     จงเขียนคำขออุปสมบทมา

ตอบ    สงฺฆมฺภนฺเต อุปสมฺปทํ ยาจามิ อุลฺลุมฺปตุ มํ ภนฺเต, สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทาย

ทุติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจามิ อุลฺลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทาย

ตติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจามิ อุลฺลุมฺปตุ มํ ภนฺเต, สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทาย ฯ

๙.     ตามความในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ วัดมีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? และใครเป็นผู้แทนของวัดในกิจการทั่วไป?

ตอบ มี ๒ ประเภท ฯ คือ

๑. วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา

๒. สำนักสงฆ์ ฯ เจ้าอาวาสเป็นผู้แทนของวัดในกิจการทั่วไป ฯ

๑๐. ภิกษุผู้ล่วงละเมิดพระธรรมวินัย และได้มีคำวินิจฉัยถึงที่สุดให้ได้รับนิคหกรรมให้สึก ต้องปฏิบัติอย่างไร? ถ้าไม่ปฏิบัติตามต้องได้รับโทษอะไร?

ตอบ ต้องสึกภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่เวลาที่ได้ทราบคำวินิจฉัย ฯ ถ้าไม่ปฏิบัติตาม ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี ฯ

วิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอก 2556






 ปัญหาและเฉลยวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอก สอบในสนามหลวง

วันศุกร์ ที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ 



๑. ญัตติ กับ อนุสาวนา ต่างกันอย่างไร ? มีใช้ในสังฆกรรมอะไรบ้าง


เฉลย    ญัตติคือการเผดียงสงฆ์ส่วนอนุสาวนาคือการประกาศความปรึกษาและ ตกลงของสงฆ์ ฯ


ญัตติมีใช้ในญัตติกรรมญัตติทุติยกรรมและญัตติจตุตถกรรมส่วน อนุสาวนา มีใช้เฉพาะในญัตติทุติยกรรมและญัตติจตุตถกรรมฯ


                        สงฆ์ผู้จะให้การอุปสมบทแก่กุลบุตร ในพระวินัยมีก ำหนดจ ำ ไว้อย่างไร ? ถ้าไม่ครบตามจ ำนวนนั้นจัดเป็นวิบัติอะไร ?


เฉลย    มีก ำหนดอย่างนี้คือในมัธยมชนบท๑๐ รูปเป็นอย่างตในปัจจันตชนบท ่ำ

                      รูปเป็นอย่างตฯ ่ำ


จัดเป็นปริสวิบัติฯ


 สีมาเป็นหลักส ำคัญแห่งสังฆกรรมอย่างไร ? พัทธสีมามีก ำหนดขนาด อย่างไร ?



เฉลย    สีมาเป็นเขตประชุมของสงฆ์ผู้ทำกรรมพระศาสดาทรงพระอนุญาตให้สงฆ์  พร้อมเพรียงกันท ำภายในสีมาเพื่อจะรักษาสามัคคีในสงฆ์ฯ อย่างนี้คือ ก ำหนดไม่ให้สมมติสีมาเล็กเกินไปจนจุภิกษุ๒๑รูปนั่งไม่ได้ และไม่ให้สมมติสีมาใหญ่เกินไปกว่า๓โยชน์ ฯ


 นิมิตรอบโรงอุโบสถ มีความส ำคัญอย่างไร ? ค ำทักนิมิตในทิศตะวั อย่างไร ?



เฉลย    มีความส ำคัญคือใช้เป็นเครื่องหมายเพื่อก ำหนดเขตสีมาส ำ ท ำสังฆกรรมฯ



ค ำทักนิมิตในทิศตะวันออกว่า“ปุรตฺถิมาย ทิสาย กึ นิมิตฺตํฯ”


 เจ้าอธิการตามพระวินัยหมายถึงใคร ? สงฆ์พึงสวดสมมติเจ้าอธิการด้วยกรรม วาจาประเภทใด ?


เฉลย หมายถึง ภิกษุผู้ได้รับสมมติจากสงฆ์ให้เป็นเจ้าหน้าที่ทๆฯ ำการสง พึงสวดสมมติด้วยญัตติทุติยกรรมฯ




๖. กรานกฐิน ได้แก่การท ำอย่างไร ? จงเขียนค ำอนุโมทนากฐินมาดู


เฉลย    ได้แก่เมื่อมีผ้าเกิดขึ้นแก่สงฆ์ในเดือนท้ายฤดูฝนพอจะท ำเป็นไตรจีวร ผืนใดผืนหนึ่งได้สงฆ์พร้อมใจกันยกให้แก่ภิกษุรูปหนึ่งผู้เหมาะส ผู้ได้รับผ้านั้นน ำไปท ำเป็นจีวรผืนใดผืนหนึ่งให้แล้วเสร็จใแล้วมา บอกแก่ภิกษุผู้ยกผ้านั้นให้เพื่ออนุโมทนาภิกษุเหล่านั้นอนุโมทนา ทั้งหมดนี้คือกรานกฐินฯ


ค ำอนุโมทนากฐินว่าอตฺถตํ ภนฺเต สงฺฆสฺส กฐินํ ธมฺมิโก กฐินต อนุโมทามิ ฯ




๗. ภิกษุผู้ก่อวิวาทาธิกงไรชื่อวณ์ย่าปรารถนาดี อย่างไรชื่อว่าปรารถนาเลว ?


เฉลย    ผู้ก่อวิวาทเพราะเห็นแก่พระธรรมวินัย(ปราศจากโลภะ    โทสะ    โมหะ)

ชื่อว่าท ำด้วยปรารถนาดี


ผู้ก่อวิวาทด้วยทิฐิแม้รู้ว่าผิดก็ขืนทานะ(ประกอบด้วยโลภะ ำ โทสะ

โมหะ) ชื่อว่าท ำด้วยปรารถนาเลวฯ


๘. จงให้ความหมายของค ำต่อไปนี้


ก. ปริวาส                   ข. อัพภาน ฯ


เฉลย         ก. ได้แก่การประพฤติวัตรพิเศษอย่างหนึ่งเท่าจ ำนวนวันที่ภิกษุผ สังฆาทิเสสแล้วปกปิดไว้ฯ


ข. ได้แก่การที่สงฆ์สวดระงับอาบัติสังฆาทิเสสฯ


พระราชบัญญัติคณะสงฆ์


 ผู้ใดใส่ความคณะสงฆ์หรือคณะสงฆ์อื่นอันอาจก่อให้เกิดความเสื่อ ความแตกแยก มีโทษอย่างไร ?


เฉลย    ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท ทั้งจ ำทั้งปรับฯ


๑๐. พระภิกษุจะไม่สังกัดอยู่ในวัดใดวัดหนึ่งเลยได้หรือไม่ จง ประกอบด้วย ?



เฉลย    ไม่ได้


ตามมาตรา  ๒๗  (๓)  แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์๒๕๐๕,  (แก้ไข

เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ฉบับที่๒).ศ.๒๕๓๕ ฯ


*********