วันพฤหัสบดีที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

วิชาพุทธานุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นเอก 2554


 






ปัญหาและเฉลยวิชาพุทธานุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นเอก สอบในสนามหลวง


วันพุธ ที่ ๑๔ ธันวาคม          พ.ศ. ๒๕๕๔ 

                        บารมี ๑๐ ของพระมหาบุรุษมีอะไรบ้าง ? ท่านเปรียบเทียบบารมีข้ กับอาวุธยุทโธปกรณ์ชนิดใด ในการต่อสู้กับหมู่มาร ?

                        คือ ทานบารมี ศีลบารมี เนกขัมมบารมี ปัญญาบารมี วิริยบารม ขันติบารมี สัจจบารมี อธิษฐานบารมี เมตตาบารมี อุเบกขาบารมี

ศีลบารมี  เปรียบเทียบกับแผ่นดิน
ปัญญาบารมี  เปรียบเทียบกับพระขรรค์
วิริยบารมี  เปรียบเทียบกับพระบาท
บารมีที่เหลือจากนี้  เปรียบเทียบกับโล่ป้องกัน ฯ



                        นวหรคุณ คือพระพุทธคุณ ๙ บท บทไหนปรากฏแก่พระพุทธองค์เต็ม ที่ไหน ? เมื่อไร ?

                        พระพุทธคุณบทว่า ํอรหสมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน ส โลกวิทู พุทฺโธ ภควา ปรากฏแก่พระพุทธองค์เต็มที่ ณ ควงไม้ พระมหาโพธิ ต ำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ตั้งแต่ครั้งแรก พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ ฯ


พระพุทธคุณบทว่า อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ แก่พระพุทธองค์เต็มที่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันในพระนครพาราณส ครั้งแสดงอนุตรธรรมจักรให้เป็นไปแก่ภิกษุปัญจวัคคีย์ ฯ

                        พระพุทธเจ้าหลังจากได้ตรัสรงเปล่งอุทานในยามสุดท้ายว่าอย่างไรู้แล้ว ?

                        ทรงเปล่งอุทานว่า เมื่อใดธรรมทั้งหลายปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีเพี เมื่อนั้นพราหมณ์นั้น ย่อมก ำจัดมารและเสนามารเสียได้ ดุจพระอา ก ำจัดมืดให้สว่างฉะนั้น ฯ

                        อนิมิสเจดีย์และรัตนจงกรมเจดีย์ เป็นสถานที่ที่พระพุทธเจ้า กิจอะไร ?


                        อนิมิสเจดีย์  เป็นสถานที่ที่พระพุทธเจ้าประทับยืนจ้องดูต้น

โดยมิได้กระพริบพระเนตรตลอด ๗ วัน รัตนจงกรมเจดีย์เป็นสถาน ที่พระพุทธเจ้าทรงนิรมิตที่จงกรมขึ้นแล้วเสด็จจงกรมณ ที่นั้นถ้วน๗วัน ฯ

                        ภัพพบุคคลและอภัพพบุคคล ที่ท่านเปรียบกับดอกบัว ๔ เหล่า ค ประเภทใดบ้าง ?


                        ภัพพบุคคลคือบุคคลผู้สามารถจะตรัสรู้ธรรมได้ ได้แก่ อุคฆติตัญญูที่เปรียบด้วยดอกบัวพ้นน ้ำ วิปจิตัญญูที่เปรียบด้วยดอกบัวเสมอน ้ำ และเนยยะที่เปรียบด้วยดอกบัวที่ยังอยู่ในน ้ำ ส่วนอภัพพบุคคลคือบุคคลผู้ไม่สามารถจะตรัสรู้ธรรมได้ ได้แก่ ปทปรมะที่เปรียบด้วยดอกบัวที่เป็นภักษาหารแห่งปลาและเต่า ฯ



                        พระพุทธเจ้าทรงยกย่องพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่าเป็นผู้มีปัญญาอ สพรหมจารีทั้งหลาย มีอุปมาต่างกันอย่างไร ฯ

                        มีอุปมาต่างกันอย่างนี้ พระสารีบุตรเถระเปรียบเหมือนมารดาผู้ ย่อมแนะน ำให้กุลบุตรตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล พระมหาโมคคัลลานเถระเปรียบเหมือนนางนมผู้เลี้ยงทารกผู้เกิดแ ย่อมแนะน ำให้กุลบุตรตั้งอยู่ในคุณเบื้องสูงกว่านั้น ฯ



                        อนุรุทธศากยะออกบวชเพราะมูลเหตุอะไร ? ผู้ที่ออกบวชพร้อมกับ มีใครบ้าง ?


                        เพราะมูลเหตุจากการที่อนุรุทธศากยะเป็นพระญาติของพระพุทธเจ้า
ซึ่งควรออกบวชตามพระพุทธเจ้าอย่างที่เจ้าศากยะองค์อื่นผู้มีชื่อ
ได้กระท ำกัน      และครั้นเมื่อได้ฟังค ำพูดของมหานามศากยะผู้พี่
ของผู้อยู่ครองเรือนไม่มีสิ้นสุด  ที่สุดของการงานไม่มีปรากฏ  จ
พี่อยู่ครองเรือนส่วนตนออกบวช ฯ
มี     พระเจ้าภัททิยะ          อานันทะ     ภัคคุ        กิมพิละ        เทวทัต      และ   อุบา

                        พระสาวกผู้กล่าวว่า โลกคือหมู่สัตว์อันชราเป็นผู้น ำ ๆ เข้าไปใก ดังนี้ คือใคร ? กล่าวแก่ใคร ? ได้รับเอตทัคคะในทางใด ?

                        คือ พระรัฐบาล ฯ แก่พระเจ้าโกรัพยะ ฯ ในทางเป็นยอดของภิกษุผู้บวชด้วยศรัทธา ฯ


                        นิมิตโอภาสที่พระศาสดาทรงแสดงแก่พระอานนท์ก่อนทรงปลงอายุสัง มีใจความว่าอย่างไร ? ทรงแสดงเพื่ออะไร ?

                        มีใจความว่า อิทธิบาททั้ง ๔ ประการ ท่านผู้ใดผู้หนึ่ง ได้เจริ สามารถจะด ำรงอยู่ได้กัป ๑ หรือเกินกว่านั้น อิทธิบาททั้ พระตถาคตได้เจริญแล้ว ถ้าทรงปรารถนา ก็จะดรงอยู่ได้กัป ำ ๑ หรือ เกินกว่านั้น ฯ เพื่อให้พระอานนท์กราบทูลอาราธนาให้ทรงด ำรงอยู่ชั่วอายุกัป เกินกว่านั้น ฯ


๑๐.   อายุสังขาราธิษฐานกับการปลงอายุสังขาร หมายถึงอะไร ? พระพุทธ ทรงกระท ำที่ไหน ?

๑๐. อายุสังขาราธิษฐาน หมายถึงการที่พระพุทธเจ้าทรงตั้งพระหฤทัยว่า
พระชนม์อยู่แสดงธรรมสั่งสอนมหาชน             จนกว่าพุทธบริษัทจะตั้งมั
ได้ประกาศพระศาสนาให้แพร่หลายมั่นคงสำเร็จประโยชน์แก่มหาชน  ฯ
ที่อชปาลนิโครธ        ใกล้สถานที่ตรัสรู้ ฯ
การปลงอายุสังขาร        หมายถึงการที่พระพุทธเจ้าทรงก ำหนดวันปริน
นับแต่วันเพ็ญเดือน ๓ ไปอีก ๓ เดือน ฯ
ที่ปาวาลเจดีย์            เมืองไพศาลี ฯ

*********

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น