วันพุธที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2561

นิพพาน ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

คำว่ำ นิพพาน สมเด็จพระมหำสมณเจ้ำฯ ทรงแสดงพระมติไว้ ๒ นัย ดังนี้
๑) นิพฺพาน แปลว่ำ ดับ มำจำก วา ธำตุ, มี นี เป็นบทหน้ำ, ยุ ปัจจัย, แปลง ยุ เป็น
อน, แปลง ว เป็น พ สำเร็จรูปเป็น นิพฺพาน
๒) นิพฺพาน แปลว่ำ หาของเสียบแทงมิได้ ออกจำก วาน ศัพท์ อันเป็นชื่อของ
ลูกศร มี นี เป็นบทหน้ำ ในควำมหมำยปฏิเสธ เข้ำรูปเป็นปัญจมีหรือฉัฏฐีพหุพพิหิสมำส
เทียบได้กับบทว่ำ “อพฺพุฬฺหสลฺโล : ผู้มีลูกศรอันถอนแล้ว” เป็นคุณบทของพระอรหันต์
นิพพาน มีความหมาย ๒ นัย
นัยที่ ๑ นิพพาน แปลว่ำ ธรรมหาเครื่องเสียบแทงมิได้ หมำยถึงภำวะที่จิต
ปรำศจำกตัณหำเครื่องเสียบแทง นิพพำนตำมควำมหมำยนี้ ตรงกับคำว่ำ สอุปาทิเสส-
นิพพาน คือภำวะที่จิตดับกิเลสตัณหำได้ แต่ยังมีเบญจขันธ์อยู่ หรือภำวะจิตของบุคคลที่สิ้น
กิเลสแล้วแต่ยังมีชีวิตอยู่
นัยที่ ๒ นิพพาน แปลว่ำ ความดับ หมำยถึงภำวะที่ดับกิเลส คือรำคะ โทสะ และ
โมหะได้อย่ำงเด็ดขำด หรือสภำพที่ดับกองทุกข์ในวัฏฏะทั้งมวลอันมี ชาติ ควำมเกิด ชรา
ควำมแก่ มรณะ ควำมตำยเป็นต้น ได้อย่ำงสิ้นเชิง นิพพำนตำมควำมหมำยนี้ ตรงกับคำว่ำ
อนุปาทิเสสนิพพาน คือภำวะที่ดับกิเลสไม่มีเบญจขันธ์เหลือ หรือภำวะที่สิ้นทั้งกิเลสทั้งชีวิต

ดุจประทีปสิ้นเชื้อดับไปฉะนั้น
พระพุทธพจน์ที่แสดงปฏิปทำแห่งนิพพำน มีนัยดังนี้
ภิกษุยินดีในความไม่ประมาทแล้ว หรือเห็นภัยในความประมาทโดยปกติ
ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อเสื่อมรอบ ย่อมปฏิบัติใกล้นิพพานเทียว.
อัปปมำทวรรค : ขุททกนิกำย ธรรมบท
ความไม่ประมาท ในที่นี้ คือกำรอยู่ไม่ปรำศจำกสติ เจริญสติปัฏฐำน ๔ อยู่เสมอ
ซึ่งเป็นหลักธรรมสำคัญที่ทำผู้ปฏิบัติให้บรรลุนิพพำนได้
ภิกษุหนักในพระศาสดา หนักในพระธรรม มีความเคารพกล้าใน
พระสงฆ์ มีความเพียร หนักในสมาธิ มีความเคารพกล้าในสิกขา หนัก
ในความไม่ประมาท และเคารพในปฏิสันถาร ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อ
เสื่อมรอบ ย่อมปฏิบัติใกล้นิพพานเทียว.
คำรวสูตร : อังคุตตรนิกำย สัตตกนิบำต
ความเคารพ ในที่นี้ คือควำมเอื้อเฟื้อตระหนักในพระรัตนตรัย ในกำรบำเพ็ญสมำธิ

ในกำรปฏิบัติตำมหลักไตรสิกขำ ในควำมไม่ประมำทต่อกำรเจริญสติปัฏฐำน ๔ และในธรรม
ปฏิสันถำร เมื่อผู้ใดมีควำมเคำรพดังกล่ำวมำนี้ ชื่อว่ำปฏิบัติตนเพื่อควำมเจริญ มุ่งตรงต่อกำร
บรรลุนิพพำนอย่ำงแน่แท้
ฌานและปัญญามีในผู้ใด ผู้นั้นปฏิบัติใกล้นิพพาน.
ภิกขุวรรค : ขุททกนิกำย ธรรมบท
ฌานและปัญญา ในที่นี้ คือ ฌาน ได้แก่จิตที่เป็นสมำธิแน่วแน่ สงบจำกนิวรณธรรม
ในภำคปฏิบัติ ได้แก่ การเจริญสมถกัมมัฏฐาน ส่วนปัญญา ได้แก่จิตที่รู้เท่ำทันควำมเป็นไป
ของสรรพสิ่งตำมเป็นจริง ในภำคปฏิบัติ ได้แก่ การเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน
ภิกษุ เธอจงวิดเรือนี้ เรืออันเธอวิดแล้ว จักพลันถึง
เธอตัดราคะและโทสะแล้ว แต่นั้นจักถึงนิพพาน.
ภิกขุวรรค : ขุททกนิกำย ธรรมบท
คำว่ำ เรือ หมำยถึง อัตภาพร่างกายของคนเรำ อันลอยอยู่ในแม่น้ำคือสังสำรวัฏ
เรืออันเธอวิดแล้ว หมำยถึงกำรบรรเทำกิเลสและบำปธรรมให้เบำบำงลงจนตัดได้เด็ดขำด
เมื่อตัดกิเลสและบำปธรรมได้แล้ว เรือคืออัตภำพนี้ก็จักแล่นไปถึงท่ำคือพระนิพพำนได้

ในที่สุด

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น