วันพฤหัสบดีที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

สรุปนักธรรมชั้นเอก หน้าที่ 8/10

 










(ปี 63, 59) มูลเหตุที่ทําให้เกิดสังฆกรรมมีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?

ตอบ มี อย่าง คือ . มีภิกษุบริษัทเพิ่มจํานวนมากขึ้น . มีพระพุทธประสงค์เพื่อให้สงฆ์เป็นใหญ่ในการบริหารหมู่คณะ

(ปี 63, 56) สงฆ์ผู้จะให้การอุปสมบทแก่กุลบุตร ในพระวินัยมีกําหนดจํานวนภิกษุไว้อย่างไร? ถ้าไม่ครบตามจํานวนนั้นจัดเป็นวิบัติอะไร?

ตอบ มีกําหนดอย่างนี้ คือในมัธยมชนบท ๑๐ รูปเป็นอย่างตํ่า ในปัจจันตชนบท รูปเป็นอย่างตํ่า จัดเป็น ปริสวิบัติ

(ปี 62, 50) สังฆกรรมมีอะไรบ้าง ? สังฆกรรมอะไรที่สงฆ์จตุวรรคทําไม่ได้ ?

ตอบ มี . อปโลกนกรรม . ญัตติกรรม . ญัตติทุติยกรรม . ญัตติจตุตถกรรม ฯ ปวารณา ให้ผ้ากฐิน อุปสมบท และอัพภาน สงฆ์จตุวรรคทําไม่ได้

(ปี 62, 49) สังฆกรรมย่อมวิบัติเพราะเหตุไรบ้าง ? ภิกษุ รูป ประชุมกันในสีมาสวดปาฏโมกข์ชื่อว่าวิบัติเพราะเหตไุ หน ?

ตอบ สังฆกรรมย่อมวิบัติ (คือใช้ไม่ได้ แม้ทําแล้วก็ไม่เป็นอันทํา) เพราะเหตุ อย่าง คือ เพราะวัตถุบ้าง เพราะสีมาบ้าง เพราะปริสะบ้าง เพราะ กรรมวาจาบ้าง ฯ ชื่อว่าวิบัติเพราะปริสะ ฯ

(ปี 62) การอปโลกน์ และ การสวดกรรมวาจาให้ผ้ากฐิน จัดเป็นสังฆกรรมประเภทใด? อย่างไหนต้องทําในสีมา อย่างไหนทํานอกสีมาก็ได้?

ตอบ       การอปโลกน์เพื่อให้ผ้ากฐิน จัดเป็นอปโลกนกรรม                                การสวดเพื่อให้ผ้ากฐิน จัดเป็นญัตติทุติยกรรม การอปโลกน์เพื่อให้ผ้ากฐิน ทําในสีมาหรือนอกสีมาก็ได้                                                               การสวดกรรมวาจาให้ผากฐินต้องทําในสีมาเท่านั้น

(ปี 60) สังฆกรรม นั้น อย่างไหนต้องทําในสีมา อย่างไหนทํานอกสีมาก็ได้ ?

ตอบ ญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม และญัตติจตุตถกรรม ต้องทําในสีมาเท่านั้น ส่วนอปโลกนกรรม ทํานอกสีมาได้

(ปี 59) ญัตติและอนุสาวนา หมายถึงอะไร? อนุสาวนามีใช้ในสังฆกรรมอะไรบ้าง?

ตอบ ญัตติ หมายถึง คําเผดียงสงฆ์                               อนุสาวนา หมายถึง คําประกาศคําปรึกษาและข้อตกลงของสงฆ์ ฯ มีใช้ใน สังฆกรรม คือ . ญัตติทุติยกรรม . ญัตติจตุตถกรรม

(ปี 58) สังฆกรรมย่อมวิบัติ โดยอะไรบ้าง ? สงฆ์ให้อุปสมบทแก่อภัพพบุคคล เป็นสังฆกรรมวิบัติโดยอะไร ?

ตอบ โดยวัตถุ สีมา ปริสะ และกรรมวาจา วิบัติโดยวัตถุ

(ปี 57 แนะนําให้ท่องจําไปเลย) อุโบสถกรรม อุปสมบทกรรม อปโลกนกรรม อัพภานกรรม อุกเขปนียกรรม ใช้สงฆ์จํานวนเท่าไรเป็นอย่างน้อยจึง จะถูกต้องตามพระวินัยบัญญัติ?

ตอบ       อุโบสถกรรม ใช้สงฆ์ รูป

อุปสมบทกรรม ในปัจจันตชนบท ใช้สงฆ์ รูป ในมัชฌิมชนบทใช้สงฆ์ ๑๐ รูป อปโลกนกรรม ใช้สงฆ์ รูป

อัพภานกรรม ใช้สงฆ์ ๒๐ รูป อุกเขปนียกรรม ใช้สงฆ์ รูป

(ปี 56) ญัตติ กับ อนุสาวนา ต่างกันอย่างไร? มีใช้ในสังฆกรรมอะไรบ้าง?

ตอบ       ญัตติ คือการเผดียงสงฆ์ ส่วนอนุสาวนา คือการประกาศความปรึกษาและตกลงของสงฆ์

ญัตติ มีใช้ในญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม และญตติจตุตถกรรม ส่วนอนุสาวนา มีใช้เฉพาะในญัตติทุติยกรรม และญตติจตุตถกรรม

(ปี 55) สังฆกรรมมีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? สังฆกรรมแต่ละประเภท ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกนทําในที่เช่นไร? ตอบ สังฆกรรมมี ประเภท คือ อปโลกนกรรม ญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม ญัตติจตุตถกรรม ฯ อปโลกนกรรม ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทําในเขตสีมา หรือนอกเขตสีมาก็ได้

ส่วนญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม และญตติจตุตถกรรม ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทําในเขตสีมา จะเป็นพัทธสีมา หรืออพัทธสีมาก็ได้ฯ


(ปี 55) ความพรั่งพร้อมของสงฆ์ครบองค์ที่กําหนดเป็นส่วนสําคัญในการประกอบสังฆกรรมนั้นๆ เมื่อครบองค์สงฆ์ตามที่กําหนด สังฆกรรมนั้นๆ เป็นอันใช้ได้แล้ว หรือยังมีช่องทางเสียหายอื่นอีก? จงชี้แจง

ตอบ นับว่าเป็นใช้ได้เฉพาะแต่อปโลกนกรรมเท่านั้น ส่วนสังฆกรรมอื่นๆ อีก อย่าง คือ ญัตติกรรม๑ ญัตติทุติยกรรม ญัตติจตตถกรรม ยังมี ช่องทางเสียหายอื่นอีก คือ วัตถุวิบัติบ้าง สีมาวิบัติบ้าง กรรมวาจาวิบัติบ้าง

(ปี 54) สงฆ์ผู้ทําสังฆกรรม ท่านจัดเป็นวรรคไว้อย่างไรบ้าง? แต่ละวรรคทํากรรมอะไรได้บ้าง?

ตอบ จัดอย่างนี้ คือ สงฆ์มี                 จํานวน ๔ รูปเรียกว่า จตุรวรรค                      จํานวน ๕ รูปเรียกว่า ปัญจวรรค จํานวน ๑๐ รูปเรยกว่า ทสวรรค                                         จํานวน ๒๐ รูปเรยกว่า วีสติวรรค

สังฆกรรมทุกอย่าง เว้นปวารณา ให้ผ้ากฐิน อุปสมบท และอัพภาน สงฆ์จตรวรรคทําได,ปวารณา ให้ผ้ากฐิน อุปสมบทในปัจจันตชนบท สงฆ์ปัญจวรรคทําได้, อุปสมบทในมัธยมชนบท สงฆ์ทสวรรคทําได้,

อัพภาน สงฆ์วีสติวรรคทําได้

สงฆ์มีจํานวนมากกว่าที่กําหนดไว้ สามารถทํากรรมประเภทนั้น ได้

(ปี 53) สังฆกรรม กับวินัยกรรม มีกําหนดบุคคลและสถานที่ต่างกันหรือเหมือนกันอย่างไร?

ตอบ ต่างกันดังนี้ สังฆกรรม ต้องประชุมสงฆ์ครบองค์ตามกําหนดแห่งกรรมนั้น ต้องทําในสีมา เว้นไว้แต่อปโลกนกรรม ทํานอกสีมาก็ได้ ส่วนวินัย กรรมไม่ต้องประชุมสงฆ์ และทํานอกสีมาก็ได้

(ปี 52) สังฆกรรม เมื่อกล่าวโดยประเภท มีเท่าไร? อะไรบ้าง? จงยกตัวอย่างของสังฆกรรมนั้น มาอย่างละ ตัวอย่าง

ตอบ กล่าวโดยประเภท มี คือ

. อปโลกนกรรม ตัวอย่างเช่น การรับสามเณรผู้ถูกลงโทษเพราะกล่าวตู่พระผู้มีพระภาคเจ้าและได้รับการยกเลิกโทษเพราะกลับประพฤติดี

. ญัตติกรรม ตัวอย่างเช่น การเรยกอุปสัมปทาเปกขะผู้ได้รับการไล่เลยงอันตรายิกธรรมแล้วกลับเข้ามาในหมู่สงฆ์

. ญัตติทุติยกรรม ตัวอย่างเช่น สวดหงายบาตรแก่ผู้ถูกควํ่าบาตรเพราะกลับประพฤติดีในภายหลัง

. ญัตติจตุตถกรรม ตัวอย่างเช่น การสวดกรรมที่สงฆ์ผู้ทํากรรม 7 สถาน มีตัชชนียกรรมเป็นต้นลงโทษภิกษุผู้ประพฤติมิชอบ

(ปี 52) โดยทั่วไป มีความเข้าใจเรองสังฆกรรมว่า ในสมาเดียวกัน ภิกษุจะประชุมทําสังฆกรรมวันหนึ่ง ครั้งไมไ่ ด้ข้อนี้มีความจริงเป็นอย่างไร? จง อธิบาย ตอบ มีความเป็นจริงเป็นอย่างนี้ คือ สังฆกรรมบางอย่าง เช่น อุโบสถ ปวารณา ภิกษุอยู่ในสีมาเดียวกันจะต้องพร้อมเพรียงกันทําจะ แยกกันทํา พวก ครั้งไม่ได้ แต่สังฆกรรมบางอย่าง เช่น อุปสมบทกรรมอัพภานกรรม จะทําวันเดยวหลายครั้งก็ได้

(ปี 50) สังฆกรรมจําแนกออกเป็นประเภท เรียกโดยชื่อมีอะไรบ้าง? กรรมอะไรบ้างที่สงฆ์จตุวรรคทําได้?

ตอบ มี อปโลกนกรรม ญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม ญัตติจตุตถกรรม ฯ เว้นปวารณา ให้ผ้ากฐิน อุปสมบท และอัพภาน นอกนั้นทําได้ ทุกอย่าง

(ปี 49) อย่างไรเรียกว่า สงฆ์ผู้พร้อมเพรียง และสงฆ์ผู้พร้อมเพรียงนั้นสามารถทําสังฆกรรมใดได้บ้าง ?

ตอบ ภิกษุผู้อยู่ในสมานสังวาสสีมา แปลว่าแดนมสังวาสเสมอกัน เป็นแดนที่กําหนดความพร้อมเพรียง มีสิทธิในอันจะเข้าอุโบสถ ปวารณา และสังฆ

กรรมร่วมกัน ทั้งหมดเข้าประชุมกันเป็นสงฆ์ หรือนําฉันทะของภิกษุผู้ไม่มาเข้าประชุม เรียกว่า สงฆ์ผพร้อมเพรียง สามารถทําสังฆกรรมทั้ง ประเภท มีอปโลกนกรรมเป็นต้นได้ ฯ

(ปี 49) ภิกษุที่เรียกในบาลีว่า ผเข้ากรรม คือใคร? และต้องประกอบด้วยคุณสมบัติอย่างไร?

ตอบ คือภิกษุผู้เข้าในจํานวนสงฆ์ผทํากรรมนั้นๆ ต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังนี้ คือเป็นภิกษุปกติ ไม่ถูกสงฆ์ยกเสียจากหมู่ด้วย อุกเขปนียกรรม มีสังวาสเสมอด้วยสงฆ์ และเป็นสมานสังวาสของกันและกัน

(ปี 48) ในสังฆกรรมทั้ง นั้น การสวดอนุสาวนามีอยู่ในกรรมไหนบ้าง? ในแต่ละกรรมนั้นให้สวดกี่ครั้ง?


ตอบ มีอยู่ใน ญัตติทุติยกรรม และ ญัตติจตุตถกรรม ในญัตติทุติยกรรมให้สวด ครั้ง ในญัตติจตุตถกรรมให้สวด ครั้ง

(ปี 47) สังฆกรรมแต่ละประเภท ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทําในที่เช่นไร?

ตอบ อปโลกนกรรม ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทําในเขตสีมาหรือนอกเขตสีมาก็ได้

ญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรมและญตติจตุตถกรรม ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทําในเขตสมาเท่านั้นจะเป็นพัทธสมาหรืออพัทธสีมาก็ได้ฯ

(ปี 47 แนะนําให้ท่องจําไปเลย) ภัณฑุกรรม และ อุกเขปนียกรรม คืออะไร? จัดเป็นสังฆกรรมประเภทไหน?

ตอบ       ภัณฑุกรรม คือ กรรมที่ภิกษุแจ้งให้สงฆ์ทราบเพื่อปลงผมคนผู้มาขอบวชซึ่งยังไม่ได้ปลงผมมาก่อน และภิกษุจะปลงให้เอง ฯ อุกเขปนียกรรม คือ กรรมที่สงฆ์ทําแก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติแล้ว ไม่ยอมรบว่าต้องอาบัติ เรียกว่าไม่เห็นอาบัติ หรือไม่ทําคืนอาบัติ หรือ

มีทิฏฐิบาปไม่ยอมสละ อันเป็นการเสยสลสามัญญตา และทิฏฐิสามัญญตา

ภัณฑุกรรมจัดเป็นอปโลกนกรรม                                    อุกเขปนียกรรม จัดเป็นญัตติจตุตถกรรม

(ปี 46) สังฆกรรมมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?

ในสีมาเดียวกัน ภิกษุจะประชุมกันทําสังฆกรรมวันหนึ่ง ครั้งไม่ได้ ข้อนี้มีความจริงเป็นอย่างไร ? จงอธิบาย

ตอบ มี อย่าง คือ . อปโลกนกรรม . ญัตติกรรม . ญัตติทุติยกรรม . ญัตติจตุตถกรรม

มีความจริงเป็นอย่างนี้ คือ สังฆกรรมบางอย่าง เช่น อุโบสถ ปวารณา ภิกษุอยู่ในสีมาเดียวกัน จะต้องพร้อมเพรียงกันทํา จะแยกกันทํา พวก ๒ ครั้งไม่ได้ แต่สังฆกรรมบางอย่าง เช่น อุปสมบทกรรม อัพภานกรรม จะทําวันเดียวหลายครั้งก็ได้

(ปี 45) คําว่า ญัตติ อนุสาวนา อปโลกนะ อุปสัมปทาเปกขะ ได้แก่อะไร? จงชี้แจง ภิกษุผู้สามารถสวดกรรมวาจาได้แม่นยําและสละสลวย ต้องพร้อมด้วยคุณสมบัติอย่างไรบ้าง? ตอบ         ญัตติ ได้แก่คําเผดียงสงฆ์

อนุสาวนา ได้แก่คําประกาศปรึกษาและตกลงของสงฆ์

อปโลกนะ ได้แก่การบอกกันในที่ประชุมสงฆ์ ไม่ต้องตั้งญัตติ ไม่ต้องสวดอนุสาวนา อุปสัมปทาเปกขะ ได้แก่กุลบุตรผมุ่งอุปสมบท

อย่างนี้ คือ . รู้จักประเภทของอักขระ                                . รู้จักฐานกรณ์ของอักขระ                         . ว่าเป็น

(ปี 45) ภิกษุผู้นับเข้าในจํานวนสงฆ์ผู้ทํากรรมนั้นๆ ต้องเป็นภิกษุเช่นไร?

เวลาทําสังฆกรรม ภิกษุที่อยู่ในสีมาเดียวกัน นับเข้าในจํานวนสงฆ์ผทํากรรมทั้งหมดใช่หรือไม่? จงอธิบาย

ตอบ ต้องเป็นภิกษุปกติ ไม่ถูกสงฆ์ยกเสียจากหมู่ด้วยอุกเขปนียกรรม มีสังวาสเสมอด้วยสงฆ์ และเป็นสมานสังวาสของกันและกัน

ไม่ใช่ เพราะภิกษุที่เหลือจากจํานวนผู้ไม่มาเข้ากรรม เป็นผู้ควรให้ฉันทะ สงฆ์ทํากรรมเพื่อภิกษุใด ภิกษนั้นก็ไม่นับเข้าในจํานวนสงฆ์ และไม่ใช่ผู้ควร ให้ฉันทะ แต่เป็นผู้ควรเข้ากรรมนั้น ฯ

(ปี 44) อปโลกนกรรมมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? สงฆ์ผู้ทําสังฆกรรม มีกําหนดจํานวนไว้อย่างไร?

ตอบ มี อย่างคือ                       . นิสสารณา นาสนะสามเณรผู้กล่าวตู่พระผู้มีพระภาคเจ้า

. โอสารณา รับสามเณรผู้ถูกนาสนะแล้วกลับประพฤติเรียบร้อย ให้เข้าหมู่

. ภัณฑูกรรม บอกขออนุญาตปลงผมคนผู้จะบวชอันภิกษุจะทําเอง

. พรหมทัณฑ์ ประกาศไม่ว่ากล่าวภิกษุหัวดื้อว่ายาก

. กัมมลักขณะ อปโลกน์แจกอาหารในโรงฉันเป็นต้น

มีกําหนดจํานวนไว้ดังนี้

จตุวรรค สงฆ์มีจํานวน ๔ รูป                         ปัญจวรรค สงฆ์มีจํานวน รูป ทสวรรค สงฆ์มีจํานวน ๑๐ รูป                                           วีสติวรรค สงฆ์มีจํานวน ๒๐ รูป


(ปี 43) การตั้งญัตติและสวดอนุสาวนามีอยู่ในกรรมอะไรบ้าง ในสังฆกรรมทั้ง ? สังฆกรรม นั้น อย่างไหนต้องทําในสีมา อย่างไหนทํานอกสีมาก็ได้?

ตอบ การตั้งญัตติ มีในญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม และญัตติจตตถกรรม ส่วนการสวดอนุสาวนา มีในญัตติทุติยกรรม และญัตติจตตถกรรม ญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม และญตติจตุตถกรรม ต้องทําในสีมาเท่านั้น ทํานอกสีมาไม่ได้ เพราะต้องตั้งญัตติ ส่วนอปโลกนกรรม ทํานอกสีมาก็ได้ เพราะไม่ต้องตั้งญัตติ ฯ

 

สีมา

Ø  คําทักนิมิต ( *** แนะนําใ👉้ท่อง และฝึกเขียนใ👉้ได้ทุกทิศ เพราะออกข้อสอบบ่อย )

ในทิศตะวันออก ว่าดังนี้ " ปุรตฺถิมาย ทิสาย กึ นิมิตฺตํ" แปลว่า " ในทิศตะวันออก อะไรเป็นนิมิต . " ในทิศตะวันออกเฉียงใต้ ว่าดังนี้ " ปุรตฺถิมาย อนุทิสาย กึ นิมิตฺตํ" แปลว่า " ในทิศน้อยแห่งทิศตะวันออก อะไรเป็นนิมิต . " ในทิศใต้ ว่าดังนี้ " ทกฺขิณาย ทิสาย กึ นิมิตฺตํ" แปลว่า" ในทิศใต้ อะไรเป็นนมิต . "

ในทิศตะวันตกเฉียงใต้ ว่าดังนี้ " ทกฺขิณาย อนุทิ สาย กึ นิมิตฺตํ" แปลว่า " ในทิศน้อยแห่งทิศใต้ อะไรเป็นนิมิต . " ในทิศตะวันตก ว่าดังนี้ " ปจฺฉิมาย ทิสาย กึ นิมิตฺตํ" แปลว่า " ในทิศตะวันตก อะไรเป็นนมิต . "

ในทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ว่าดังนี้ " ปจฺฉิมาย อนุทิสาย กึ นิมิตฺตํ" แปลว่า " ในทิศน้อยแห่งทิศตะวันตก อะไรเป็นนมิต . " ในทิศเหนือ ว่าดังนี้ " อุตฺตราย ทิสาย กึ นิมิตฺตํ" แปลว่า " ในทิศเหนือ อะไรเป็นนมิต . "

ในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ว่าดังนี้ " อุตฺตราย อนุทิสาย กึ นิมิตฺตํ" แปลว่า " ในทิศน้อยแห่งทิศเหนือ อะไรเป็นนิมิต . "

 

(ปี 64, 62, 54) สีมาคืออะไร ? มีความสําคัญอย่างไร ?

ตอบ คือ เขตประชุมของสงฆ์ผู้ทําสังฆกรรม มีความสําคัญ เพื่อจะกําหนดรู้เขตประชุมแห่งสงฆ์ที่ประชุมกัน ทําสังฆกรรมมีการให้อุปสมบทแก่ กุลบุตร เป็นต้น ที่พระศาสดาทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทํา

(ปี 63) สีมามีกี่ประเภท ? วิสุงคามสีมา จัดเข้าในประเภทไหน ?


ตอบ มี ประเภท คือ พัทธสีมา อพัทธสีมา วิสุงคามสมา เมื่อสงฆ์ยังไม่ผูก จัดเป็นอพัทธสีมา  ครั้นสงฆ์ผูกแลว

(ปี 61, 50) สีมาสังกระ คืออะไร? สงฆ์จะทําสังฆกรรมในสีมาเช่นนั้นได้หรือไม่อย่างไร? ตอบ คือ สีมาที่สมมติคาบเกี่ยวกันระหว่างสมาที่สมมตไิ ว้เดิมและสมาที่สมมติขึ้นใหม่ สงฆ์ทําสังฆกรรมในสีมาที่สมมติไว้เดิมได้ แต่ทําในสีมาที่สมมติขึ้นใหม่ไม่ได้

(ปี 60) สีมา มีกี่ประเภท ? อะไรบ้าง ? ตอบ มี ประเภท คือ พัทธสีมา และ อพัทธสีมา


จัดเป็นพัทธสีมา


(ปี 59, 46) การทักนิมิตในทิศทง นั้น ทักทิศละหนถูกต้องหรือไม่? เพราะเหตุไร? จงเขียนคําทักนิมิตในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มาดู?

ตอบ ไม่ถูกต้องฯ ที่ถูกต้องนั้นเมื่อเริ่มต้นทักนิมิตในทิศบูรพาแล้ว ทักมาโดยลําดับจนถึงนิมิตสุด ต้องวนไปทักนิมิตในทิศบูรพาซํ้าอีก คําทักนิมิตในทิศตะวันออกเฉียงเหนือว่าดังนี้ อุตฺตราย อนุทิสาย กึ นิมิตฺตํ

(ปี 58) สีมา มีกี่ประเภท ? อะไรบ้าง ? ประเภทไหนสมมติเป็นติจีวราวิปปวาสไม่ได้ ?

ตอบ มี ประเภท พัทธสีมา คือแดนที่ผูก หมายถึงเขตอันสงฆ์กําหนดเอาเอง และอพัทธสีมา คือแดนที่ไมไ่ ด้ผูก หมายถึงเขตอันเขากําหนดไว้ โดยปกติของบ้านเมือง หรือเขตที่มีสัญญัติอย่างอื่นเป็นเครื่องกําหนด ประเภทอพัทธสีมา

(ปี 57) จงอธิบายความหมายคําต่อไปนี้ . สัตตัพภันตรสีมา . อุทกุกเขปสีมา

ตอบ . สัตตัพภันตรสมา ได้แก่สมาในป่าหาคนตั้งบ้านเรือนมิได้ กําหนดเขตแห่งสามัคคีในชั่ว อัพภันดรโดยรอบ นับแต่ที่สดแนวแห่งสงฆ์ ออกไป ( อัพภันดร คือ ๔๙ วา)


. อุทกุกเขปสีมา ได้แก่สีมามีกําหนดเขตสามัคคีด้วยชั่ววักนํ้าสาดแห่งคนมีอายุและกําลังเป็นปานกลาง

(ปี 56) นิมิตรอบโรงอุโบสถ มีความสําคัญอย่างไร? คําทักนิมิตในทศตะวันออกว่าอย่างไร?

ตอบ มีความสําคัญ คือใช้เป็นเครองหมายเพื่อกําหนดเขตสมาสําหรบทําสังฆกรรมฯ คําทักนิมิตในทิศตะวันออกว่า ปุรตฺถิมาย ทส

(ปี 56) สีมาเป็นหลักสําคัญแห่งสังฆกรรมอย่างไร? พัทธสีมามีกําหนดขนาดพื้นที่ไว้อย่างไร?


 

าย กึ นิมิตฺตํ


ตอบ สีมาเป็น เขตประชุม ของสงฆ์ผู้ทํากรรม พระศาสดาทรงพระอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทําภายในสีมาเพื่อจะรักษาสามัคคีในสงฆ์ อย่างนี้ คือ กําหนดไม่ให้สมมติสีมาเล็กเกินไปจนจุภิกษุ ๒๑ รูปนั่งไม่ได้และไม่ให้สมมติสีมาใหญ่เกินไปกว่า โยชน์

(ปี 55) พัทธสีมา มีกี่ชนิด? อะไรบ้าง? สีมาผูกเฉพาะบริเวณอุโบสถเรียกว่าอะไร?


ตอบมี ชนิดคือ สีมาผูกเฉพาะบริเวณโรงอุโบสถ เรียกขัณฑสีมา สีมาผูกทั่ววัด เรียกมหาสีมา สีมาผูก ชั้น ๑ฯ เรียกว่าขณ

(ปี 53) นิมิตที่อยู่รอบโรงอุโบสถ มีไว้เพื่อประโยชน์อะไร? จงเขียนคําทักนิมิตในทิศตะวันตกเฉียงใต้มาดู?

ตอบ มีไว้เพื่อเป็นเครื่องหมายกําหนดเขตการทําสังฆกรรม   ทกฺขิณาย อนุทิสาย กึ นิมิตฺตํฯ


ฑสีมาฯ


(ปี 53) จงอธิบายความหมายของวิสุงคามสมา และสัตตัพภันตรสมา

ตอบ วิสุงคามสีมา หมายถึงเขตแห่งสามัคคีที่สงฆ์ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตยกให้เป็นแผนกหนึ่งจากบ้าน สัตตัพภันตรสีมา หมายถึงเขตแห่งสามัคคีในป่าหาคนตั้งบ้านเรือนไม่ได้ชั่ว อัพภันดร(๔๙ วา) โดยรอบ นับแต่ที่สุดแห่งสงฆ์ออกไปฯ (ปี 52) การผูกพัทธสีมาในบัดนี้ มีขั้นตอนในการปฏิบัติอย่างไร?

ตอบ มีขั้นตอนดังนี้

. พื้นที่อันจะสมมติเป็นสีมาต้องได้รบพระราชทานวิสุงคามสมาก่อน

. ประชุมภิกษผู้อยู่ในเขตวิสุงคามสมี าหรือนําฉันทะของเธอมาแล้วสวดถอนเป็นแห่ง ไปกว่าจะเห็นว่าพอดี พึงสวดถอนติจีวราวิปปวาส

ก่อนแล้วจึงสวดถอนสมานสังวาสสีมา

. เตรียมนิมิตไว้ตามทิศ

. เมื่อสมมตสีมา ต้องประชุมภิกษุผู้อยู่ภายในนิมิตหรือนําฉันทะของเธอมา แล้วออกไปทักนิมิต

. กลับมาสวดสมมติสมานสังวาสสีมาก่อนแล้ว สวดสมมติติจีวราวราวิปปวาสสมา

(ปี 51) ติจีวราวิปปวาสสีมา และ อุทกุกเขปสีมา ได้แก่สีมาเช่นไร?

ตอบ       ติจีวราวิปปวาสสมา ได้แก่ สีมาที่สงฆ์สมมติให้เป็นแดนไม่อยู่ปราศจากไตรจีวรได้ในเขตสีมานั้น อุทกุกเขปสีมา ได้แก่ สีมาที่กําหนดเขตแห่งสามัคคีด้วยชั่ววักนํ้าสาดแห่งคนมีอายุและกําลังปานกลาง

(ปี 48) สีมาเป็นหลักสําคัญแห่งสังฆกรรมอย่างไร ? พัทธสีมามีกําหนดขนาดพื้นที่ไว้อย่างไร ?

ตอบ สีมาเป็นเขตประชุมของสงฆ์ผู้ทํากรรม พระศาสดาทรงพระอนญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทําภายในสีมา เพื่อจะรักษาสามัคคีในสงฆ์ อย่างนี้ คือ กําหนดไม่ให้สมมติสีมาเล็กเกินไปจนจุภิกษุ ๒๑ รูป นั่งไม่ได้และไม่ให้สมมติสีมาใหญ่เกินไปกว่า โยชน์

(ปี 47) วัดที่ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมาและสร้างโรงอุโบสถแล้ว ภายหลังรื้อสร้างใหม่ จะต้องขอพระราชทานวิสุงคามสมาใหม่หรือไม่? จง ชี้แจง ตอบ ถ้าสร้างอยู่ในเขตวิสุงคามสีมาเดมที่ได้รับพระราชทานไว้ ไม่ต้องขอพระราชทานใหม่ แต่ถ้าสร้างพ้นเขตวิสุงคามสีมาที่กําหนดเดิมนั้น ต้องขอพระราชทานวิสุงคามสีมาใหม่

(ปี 46) สีมามีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? แดนที่มีสังวาสเสมอกันเรียกว่าอะไร? มีประโยชน์อย่างไร?

ตอบ มี ประเภท คือ . พัทธสีมา . อพัทธสีมา เรียกว่า สมานสังวาสสมา

มีประโยชน์อย่างนี้ คือ ภิกษุผู้อยู่ในเขตนี้ มีสิทธิในอันจะเข้าอโบสถ ปวารณา และสังฆกรรมร่วมกัน เป็นแดนที่กําหนดความพร้อมเพรียง ภิกษุผู้อยู่ ในสีมานี้ทั้งหมดเข้าประชุมกันเป็นสงฆ์ หรือนําฉันทะของภิกษุผไู้ ม่มาเข้าประชุม เรียกว่าสงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกัน

(ปี 45) วิสุงคามสีมา พัทธสีมา ได้แก่สีมาเช่นไร?


กฐิน เป็นสังฆกรรมอะไร? การรับกฐิน ตลอดจนถึงกราน ต้องทําในสีมาอย่างเดียว หรือทํานอกสีมาก็ได้?

ตอบ       วิสุงคามสมา  ได้แก่เขตที่สงฆ์ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตยกให้เป็นแผนกหนึ่งจากบ้าน 

พัทธสีมา ได้แก่วสุงคามสีมานั้นเองอันสงฆ์ผูกแล้ว คือสมมติเป็นสมานสังวาสสมาแล้ว

เป็นญัตติทุติยกรรม การรับกฐิน การอปโลกน์เพื่อให้ผ้ากฐิน และการกรานกฐิน ทําในสีมาหรือนอกสีมาก็ได้ การสวดญัตติทุติยกรรมวาจาให้ผ้ากฐิน ต้องทําในสีมาอย่างเดียว

(ปี 44) วัตถุที่ใช้เป็นนิมิตกําหนดเขตสีมามีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? ปัจจุบันนิยมใช้วัตถุอะไรเป็นนิมิต ? และวัตถุที่จะใช้เป็นนิมิตนั้นได้มกําหนดไว้อย่างไร?

ตอบ มี อย่างคือ . ภูเขา . ศิลา . ป่าไม้ . ต้นไม้ . จอมปลวก . หนทาง . แม่นํ้า . นํ้า ใช้ศิลาเป็นนิมิต มีกําหนดไว้ดังนี้

. เป็นศิลาหินแท้ หินปนแร่ ใช้ได้ทั้งหมด                              . เป็นศิลามีก้อนโตไม่ถึงตัวช้าง ขนาดเท่าศีรษะโคหรือกระบือเขื่อง

. เป็นศิลาแท่งเดียว                                           . อย่างเล็กขนาดเท่าก้อนนํ้าอ้อยหนัก ๓๒ ปะละ ราว ชั่งก็ใช้ได้

(ปี 44) สมานสังวาสสีมา และติจีวราวิปปวาสสีมา ได้แก่สีมาเช่นไร? ในการถอน และสมมติ สีมาทั้ง นี้ มีวิธีปฏิบัติก่อนหลังอย่างไร?

ตอบ สีมาที่ทรงพระอนุญาตให้สงฆ์สมมติเป็นแดนมีสังวาสเสมอกัน ภิกษุผู้อยู่ในเขตนี้มีสิทธิในอันจะเข้าอุโบสถ ปวารณา และสังฆกรรมร่วมกัน เรียกว่าสมานสังวาสสมา สมานสังวาสสีมานี้ ทรงพระอนุญาตให้สมมติติจีวราวิปปวาส ซํ้าลงได้อีก เว้นบ้าน และอุปจารบ้านอันตั้งอยู่ในสีมานั้น

เมื่อไดสมมติอย่างนี้แล้ว แม้ภิกษุอยู่ห่างจากไตรจีวรในสีมานั้น ก็ไม่เป็นอันอยู่ปราศ เรียกว่าติจีวราวิปปวาสสมา ในการถอน ให้ถอนติจีวรา

วิปปวาสสมาก่อน  ถอนสมานสังวาสสีมาภายหลังในการสมมติ  ให้สมมติสมานสังวาสสีมาก่อน  สมมติติจีวราวิปปวาสสีมาภายหลัง

(ปี 43) พัทธสีมามีกําหนดขนาดพื้นที่ไว้หรือไม่? ถ้ามี กําหนดไว้อย่างไร? สถานที่ที่เป็นสีมาตามพระวินัยไม่ได้ มีหรือไม่? เพราะเหตุใด?

ตอบ มีกําหนดไว้ คือกําหนดไม่ให้สมมติสีมาเล็กเกินไปจนจุภิกษุ ๒๑ รูป นั่งไม่ได้และไม่ให้สมมติสีมาใหญ่เกินไปกว่า โยชน์ สีมาเล็กเกินไปใหญ่ เกินไป เป็นสีมาวิบัติ ใช้ไม่ได้ ไม่มี เพราะในป่าที่ไม่มีบ้าน ก็จัดเป็นสัตตัพภันตรสีมา ในน่านนํ้าทไี่ ด้ขนาด ก็จัดเป็นอุทกุกเขปสีมา ผืนแผ่นดินที่มี หมู่บ้านก็จัดเป็นคามสีมา แม้สีมันตริกซึ่งคั่นระหว่างมหาสีมากับขัณฑสีมาก็จัดเป็นคามสมา

 

กฐิน

(ปี 64, 57, 51) ผ้าที่ไม่ทรงอนุญาตให้ใช้เป็นผ้ากฐิน ได้แก่ผ้าเช่นไรบ้าง?

ตอบ เช่นนี้ คือ             . ผ้าที่ไม่ได้เป็นสิทธิ เช่น ผ้าที่ขอยืมเขามา

. ผ้าที่ได้มาโดยอาการอันมิชอบ คือทํานิมิตได้มา พูดเลียบเคียงได้มาและผ้าเป็นนิสสัคคีย์

. ผ้าที่ได้มาโดยบริสุทธิ์ แต่เก็บค้างคืนไว้

(ปี 63, 59, 56) กรานกฐิน ได้แก่การทําอย่างไร ? จงเขียนคําอนุโมทนากฐินมาดู

ตอบ ได้แก่ เมื่อมีผ้าเกิดขึ้นแก่สงฆ์ในเดือนท้ายฤดูฝน พอจะทําเป็นไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งได้ สงฆ์พร้อมใจกันยกให้แก่ภิกษุรูปหนึ่งผู้เหมาะสม ภิกษุ ผู้ได้รับผ้านั้นนําไปทําเป็นจีวรผืนใดผืนหนึ่งให้แล้วเสร็จในวันนั้น แล้วมา บอกแก่ภิกษุผู้ยกผ้านั้นให้ เพื่ออนุโมทนา ภิกษุเหลานั้นอนุโมทนา ทั้งหมด นี้คือกรานกฐิน ฯ

(ปี 61, 49) การกรานกฐิน คืออะไร ? อธิบายพอเข้าใจ

ตอบ คือ เมื่อมีผ้าเกิดขึ้นแก่สงฆ์ในเดือนท้ายฤดูฝน พอจะทําเป็นไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งได้ สงฆ์พร้อมใจกันยกให้แก่ภิกษุรูปหนึ่ง ภิกษุผู้ได้รับผ้านั้น นําไปทําเป็นไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งให้แล้วเสร็จ ในวันนั้น แล้วมาบอกแก่ภิกษุผู้ยกผ้านั้นให้เพื่ออนุโมทนา ภิกษุเหล่านั้นอนุโมทนา ทั้งหมดนี้คือการ กรานกฐิน ฯ

(ปี 60) กฐิน มีชื่อมาจากอะไร ? ผ้าที่เป็นกฐินได้มีอะไรบ้าง ?


ตอบ มาจากชื่อไม้สะดึงที่ลาดหรือกางออกสําหรับขึงจีวรเพื่อเย็บ

มี . ผ้าใหม่          . ผ้าเทียมใหม่คือผ้าฟอกสะอาดแล้ว                       . ผ้าเก่า        . ผ้าบังสุกุล         . ผ้าที่ตกตามร้านตลาดซึ่งเขานามาถวายสงฆ์

คําอนุโมทนากฐินว่า อตฺถตํ ภนฺเต สงฺฆสส กฐินํ ธมฺมิโก กฐินตฺถาโร อนุโมทามิ

(ปี 58) อานิสงส์กฐินจะสิ้นสุดลง เพราะเหตุอะไรบ้าง ?

ตอบ เพราะปลิโพธ ประการ คืออาวาสปลิโพธ ความกังวลในอาวาส และจีวรปลิโพธ ความกังวลในจีวร ขาดลง และสิ้นสุดเขตจีวรกาล

(ปี 57) ภิกษุผู้กรานกฐินแล้ว ย่อมได้อานสงส์อะไรบ้าง?

ตอบ       . เที่ยวไปไม่ต้องบอกลาตามสิกขาบทที่ แห่งอเจลวรรค ในปาจิตติยกัณฑ์                                       . เที่ยวจาริกไปไม่ต้องถือเอาไตรจีวรไปครบสํารับ

. ฉันคณะโภชน์ได้                                                                                  . เก็บอติเรกจีวรไว้ได้ตามปรารถนา

. จีวรอันเกิดขึ้นในที่นั้นเป็นของได้แก่พวกเธอ ทั้งได้โอกาสขยายเขตจีวรกาลให้ยาวออกไปตลอด เดือนฤดูเหมันต์ด้วย

(ปี 54) สงฆ์ผู้มีสิทธรับผ้ากฐิน ต้องมีคุณสมบัติอย่างไร? ภิกษุผู้ควรครองผ้ากฐิน พึงมีคุณสมบัติอะไรบ้าง? จงบอกมาสัก ข้อ


ตอบ ต้องเป็นผู้จําพรรษามาแล้วถ้วนไตรมาสไม่ขาดในอาวาสเดียวกน พึงมีคุณสมบัติอย่างนี้ คือ (ให้ตอบเพียง ข้อ ใน ข้อต่อไปนี้)


มีจํานวนตั้งแต่ รปขึ้นไป


. รู้จักบุพพกรณ์                        . รู้จักมาติกา คือหัวข้อแห่งการเดาะกฐิน

. รู้จักถอนไตรจีวร                    . รู้จักปลิโพธกังวลเป็นเหตุยังไม่เดาะกฐิน

. รู้จักอธิษฐานไตรจีวร                 . รู้จักการเดาะกฐิน

. รู้จักการกราน                       . รู้จักอานสงส์กฐิน


(ปี 54) ภิกษุถือว่าได้รับอานิสงส์กฐินแล้ว เข้าบ้านในเวลาวิกาลโดยไม่บอกลา ต้องอาบัติอะไรหรือไม่? เพราะเหตุไร?

ตอบ ในกรณีที่รับนิมนต์แล้ว ไปในที่นิมนต์ ภายหลังภัตรเข้าบ้านโดยไม่บอกลา ไม่ต้องอาบัติ ซึ่งได้รับยกเว้นด้วยอานส


งส์ที่ว่าเที่ยวไปไม่ต้องบอก


ลา ตามสิกขาบทที่ แห่งอเจลกวรรค ในปาจิตติยกัณฑ์   แต่ในกรณีที่ไม่ได้รับนิมนต์ เข้าบ้านในเวลาวิกาล ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ตามสิกขาบทที่

แห่งรัตนวรรค ในปาจิตติยกัณฑ์ ยกเว้นในกรณรีบด่วน เช่นภิกษถูกงูกัดรีบเข้าไปเพื่อหายาหรือตามหมอ

(ปี 53) กฐิน เป็นสังฆกรรมอะไร? การรับกฐิน ตลอดจนถึงการกราน ต้องทําในสีมาเท่านั้น หรือทํานอกสีมาก็ได้?

ตอบ เป็นญัตติทุติยกรรม การรับกฐิน การอปโลกน์เพื่อให้ผ้ากฐิน และการกรานกฐินทําในสีมาหรอนอกสีมาก็ได้ การสวดญตติทุติยกรรมวาจา ให้ผ้ากฐิน ต้องทําในสีมาเท่านั้น

(ปี 50) การอปโลกน์ และ การสวดเพื่อให้ผ้ากฐิน จัดเป็นสังฆกรรมประเภทใด? การกรานกฐินด้วยผาสังฆาฏิ พึงกล่าวว่าอย่างไร?

ตอบ การอปโลกน์เพื่อให้ผากฐิน จัดเป็นอปโลกนกรรม การสวดเพื่อให้ผ้ากฐิน จัดเป็นญัตติทุติยกรรมฯ ว่า อิมาย สงฺฆาฏิยา กฐินํ อตฺถรามิฯ

(ปี 48) ภิกษุไดรับอานิสงส์กฐิน เข้าบ้านในเวลาวิกาลโดยไม่บอกลา ต้องอาบัติอะไรหรือไม่? เพราะเหตุไร?

ตอบ ในกรณีที่รับนิมนต์แล้ว ไปในที่นิมนต์ ภายหลังภัตรเข้าบ้านโดยไม่บอกลา ไมต้องอาบัติ ซึ่งได้รับยกเว้นด้วยอานิสงส์ที่ว่าเที่ยวไปไม่ต้องบอก ลา ตามสิกขาบทที่ แห่งอเจลกวรรค ในปาจิตติยกัณฑ์ แต่ในกรณีที่ไม่ได้รับนิมนต์เข้าบ้านในเวลาวิกาล ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ตามสกขาบทที่ แห่งรัตนวรรคในปาจิตติยกัณฑ์ ยกเว้นในกรณีรีบด่วน เช่นภิกษุถูกงูกัดรีบเข้าไปเพื่อหายาหรือตามหมอ

(ปี 47) สงฆ์ผู้ทํากรรมในการให้ผ้ากฐิน มีกําหนดจํานวนอย่างน้อยไว้เท่าไร? ที่กําหนดไว้อย่างนั้น มีพระพุทธประสงค์อย่างไร?

ตอบ มี รูปเป็นอย่างน้อย มีพระพุทธประสงค์ว่า ภิกษุรูปหนึ่งเป็นบุคคลผู้รับผ้ากฐิน เหลืออีก ๔ รูปเป็นสงฆ์ กรานและอนุโมทนา จึงกําหนด อย่างนั้น ฯ

(ปี 46) คําว่า กฐิน เป็นชื่อของอะไร? มีชื่อเรียกอย่างนั้นเพราะเหตุไร? การกรานกฐินนั้น มีวิธีปฏิบัติอย่างไร?

ตอบ เป็นชื่อของสังฆกรรมอย่างหนึ่ง เพราะมีชื่อออกจากไม้สะดึงที่ลาดหรือกางออก เพื่อขึงจีวรเย็บ


มีวิธีปฏิบัติอย่างนี้ คือ เมื่อมีผ้าเกิดขึ้นแก่สงฆ์ในกาลเช่นนั้นพอจะทําเป็นไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งได้ สงฆ์พร้อมใจกันยกให้แก่ภิกษุรูปหนึ่ง เพื่อ ประโยชน์นี้ ภิกษุผู้ได้รับผ้านั้นเอาไปทําจีวรให้เสร็จในวันนั้นแล้วมาบอกภิกษุผู้ยกผานั้นให้เพื่ออนุโมทนา ภิกษุเหล่านั้นอนุโมทนาฯ

(ปี 46) ไตรจีวร กําหนดให้เรยกผานุ่งว่า อันตรวาสก เรยกผ้าห่มว่า อุตตราสงค์ เรียกผ้าทาบว่า สังฆาฏิ ในเวลาไหนบ้าง? ผ้า ผืนนั้น กําหนดให้ เรียกว่า จีวร ในเวลาไหนบ้าง?

ตอบ ในเวลาดังต่อไปนี้ คือ ในเวลาบอกบาตรจีวรแก่อุปสัมปทาเปกขะ ในเวลาอธิษฐานเป็นผ้าครอง ในเวลาปัจจุทธรณ์ และในเวลากรานกฐิน ในเวลาผ้า ผืนนั้น เป็นนิสสคคีย์เพราะอยู่ปราศ คําเสียสละเรียกว่าจีวรทุกผืน และในเวลาผ้าเหล่านั้นเป็นอติเรกจีวร คําวิกัป คําถอนวิกัป รวม เรียกว่าจีวรทั้งสิ้น

(ปี 45) กฐินจะเดาะหรือไม่เดาะ กําหนดรู้ได้อย่างไร? ผ้าที่ทรงห้ามใช้เป็นผ้ากฐินได้แก่ผ้าเช่นไรบ้าง?

ตอบ กฐินเดาะ กําหนดรู้ได้ด้วยอาวาสปลโพธและจีวรปลโพธขาด หรือสิ้นเขตจีวรกาลที่ขยายออกไปอีก เดือน กฐินไม่เดาะ กําหนดรู้ได้ด้วย อาวาสปลิโพธหรือ จีวรปลิโพธอย่างใดอย่างหนึ่งยังไม่ขาด และยังอยู่ในเขตจีวรกาลที่ขยายออกไปอีก เดือน

เช่นนี้ คือ . ผ้าที่ไม่ได้เป็นสิทธิ เช่น ผ้าที่ขอยืมเขามา   . ผ้าที่ได้มาโดยอาการอันมิชอบ คือทํานิมิตได้มา

. ผ้าที่ได้มาโดยการพูดเลียบเคียง   . ผ้าเป็นนิสสัคคีย์ . ผ้าที่ได้มาโดยทางบริสุทธิ์ แต่เก็บไว้ค้างคืน

(ปี 43) วัดมีพระจําพรรษาวัดละ รูปบ้าง รูปบ้าง ทายกประสงค์จะถวายกฐิน นิมนต์พระมารวมในวัดเดียวกันเพื่อรับกฐิน เป็นกฐินหรือไม่? เพราะเหตุใด? ในคัมภีร์บริวาร ภิกษุผู้ควรกรานกฐินประกอบด้วยองค์เท่าไร? บอกมา ข้อ

ตอบ ไม่เป็นกฐิน เพราะองค์กําหนดสิทธิของภิกษุผู้จะกรานกฐินมี คือ . เป็นผู้จําพรรษาถ้วนไตรมาสไม่ขาด  . อยู่ในอาวาสเดียวกัน

. ภิกษุมีจํานวนตั้งแต่ รปขึ้นไป ประกอบด้วยองค์ (เลือกตอบเพียง ข้อ)

. รู้จักบุพพกรณ์                        . รู้จักมาติกา คือหัวข้อแห่งการเดาะกฐิน

. รู้จักถอนไตรจีวร                    . รู้จักปลิโพธกังวลเป็นเหตุยังไม่เดาะกฐิน

. รู้จักอธิษฐานไตรจีวร                 . รู้จักการเดาะกฐิน

. รู้จักการกราน                       . รู้จักอานิสงส์กฐิน

 

 

สมมติเจ้าหน้าที่ทําการสงฆ

·        เจ้าอธิการ หมายถึงภิกษุที่สงฆ์สมมติให้เป็นเจ้าหน้าที่ทํากิจการของสงฆ์ มี แผนก คือ

. เจ้าอธิการแห่งจีวร . เจ้าอธิการแห่งอาหาร . เจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ . เจ้าอธิการแห่งอาราม                                                        . เจ้าอธิการแห่งคลัง

·        เจ้าหน้าที่ทําการสงฆ์(เจ้าอธิการ) พึงประกอบด้วยคุณสมบัติดังนี้

.ไม่ถึงความลําเอียงเพราะความชอบพอ                          .ไม่ถึงความลําเอียงเพราะเกลียดชัง

.ไม่ถึงความลําเอียงเพราะงมงาย                                .ไม่ถึงความลําเอียงเพราะกลัว

.เข้าใจการทําหน้าที่อย่างนั้น

·        สงฆ์พึงสวดสมมติเจ้าอธิการเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่นั้น  จะต้องสวดด้วยกรรมวาจา  ญัตติทุติยกรรม

 

(ปี 64) เจ้าอธิการที่สงฆ์สมมติให้เป็นเจ้าหน้าที่ทํากิจการของสงฆ์ในพระวินัยมี แผนก อะไรบ้าง?

ตอบ มี . เจ้าอธิการแห่งจีวร . เจ้าอธิการแห่งอาหาร                               . เจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ . เจ้าอธิการแห่งอาราม                                . เจ้าอธิการแห่งคลัง

(ปี 63, 61, 44) ภิกษุผู้ควรได้รับสมมติให้เป็นภัตตุทเทสกะ ต้องประกอบด้วยคุณสมบัติเช่นไร? ภัตรที่ควรแจกเฉพาะมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?

ตอบ ต้องประกอบด้วยคุณสมบัตดังนี้ คือ . เว้นอคติ คือ ฉันทาคติ โทสาคติ โมหาคติ ภยาคติ                                                      . รู้จักภัตรที่ควรแจกหรือมิควรแจก


. รู้จักลาดับที่พึงแจก

มี อย่างคือ . อาคันตุกภัตร อาหารที่เขาถวายเฉพาะภิกษุอาคันตุกะ                                             . คมิยภัตร อาหารที่เขาถวายเฉพาะภิกษุผู้จะไปอยู่ที่อื่น


. คิลานภัตร อาหารที่เขาถวายเฉพาะภิกษุอาพาธ                                       . คิลานุปัฏฐากภัตร อาหารที่เขาถวายเฉพาะภิกษผ

. กุฏิภัตร อาหารที่เขาถวายแก่ภิกษุผู้อยู่ในกุฏิที่เขาสร้าง

(ปี 62, 56) เจ้าอธิการตามพระวินัยหมายถึงใคร ? สงฆ์พึงสวดสมมติเจ้าอธิการด้วยกรรมวาจาประเภทใด ?

ตอบ หมายถึง ภิกษุผู้ได้รับสมมติจากสงฆ์ให้เป็นเจ้าหน้าที่ทําการสงฆ์นั้น   พึงสวดสมมติด้วยญัตติทุติยกรรม

(ปี 59) คําว่า "เจ้าอธิการ" ในพระวินัยหมายถึงใคร? มีกี่แผนก? อะไรบ้าง?

ตอบ หมายถึงภิกษุที่สงฆ์สมมติให้เป็นเจ้าหน้าที่ทํากิจการของสงฆ์

มี แผนก คือ . เจ้าอธิการแห่งจีวร . เจ้าอธิการแห่งอาหาร . เจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ . เจ้าอธิการแห่งอาราม

. เจ้าอธิการแห่งคลัง


ู้พยาบาลไข้


(ปี 58) ภิกษุผู้ควรได้รับเลือกให้เป็นเจ้าหน้าที่ทําการสงฆ์ พึงประกอบด้วยคุณสมบัติอะไรบ้าง ? และจะปฏิบัติหน้าที่นั้นไดตั้งแต่เมื่อไร ?

ตอบ ด้วยคุณสมบัตเหล่านี้ คือ . ไม่ถึงความลาเอียงเพราะความชอบพอ . ไม่ถึงความลําเอียงเพราะเกลียดชัง


. ไม่ถึงความลําเอียงเพราะงมงาย . ไม่ถึงความลําเอียงเพราะกลว ตั้งแต่สงฆ์สวดสมมติด้วยญัตติทุติยกรรมวาจาให้เป็นเจ้าหน้าที่นั้น 


. เข้าใจการทําหน้าที่อย่างนั้น


(ปี 51) ภิกษุผู้ได้รับสมมติจากสงฆ์ให้เป็นเจ้าหน้าที่ทําการสงฆ์นั้นๆ เรียกว่าอะไร? พึงสวดสมมติด้วยกรรมวาจาประเภทใด?

ตอบ เรียกว่า เจ้าอธิการ พึงสวดสมมติด้วยญัตติทุติยกรรม

(ปี 43) คําว่า เจ้าอธิการ ในพระวินัยหมายถึงใคร? มีกี่แผนก? อะไรบ้าง? การให้ภิกษุถือเสนาสนะเป็นหน้าที่ของใคร? ผู้นั้นพึงปฏิบัตอย่างไร?

ตอบ หมายถึงภิกษุที่สงฆ์สมมติให้เป็นเจ้าหน้าที่ทํากิจการของสงฆ์

มี แผนก คือ . เจ้าอธิการแห่งจีวร . เจ้าอธิการแห่งอาหาร . เจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ . เจ้าอธิการแห่งอาราม

. เจ้าอธิการแห่งคลัง

เป็นหน้าที่ของเจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ พึงปฏิบัติอย่างนี้ คือ เจ้าอธิการแห่งเสนาสนะพึงกําหนดฐานะของภิกษุผู้ถือเสนาสนะว่า เป็นผู้ใหญ่หรือ ผู้น้อย เป็นผู้มีอุปการะแก่สงฆ์หรือหามิได้ เป็นผู้เล่าเรียนหรือประกอบกิจในทางใดบ้าง เป็นต้น แล้วพึงให้ถือเสนาสนะ

 

พระทัพพมัลลบุตร

·        เจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ  มีหน้าที่เป็นผู้แจกเสนาสนะให้ภิกษุถือ เรียกเสนาสนคาหาปกะ

·       การแจกมี อย่าง แจกอาหารอันเขานํามามอบถวาย รับนิมนต์ไว้แล้ว ส่งพระไปรับที่บ้านเรือนของเขา . ชื่อว่าภัตตุทะทสกะ หมาย เอาการแจกอย่างหลัง แปลว่า ผู้ชี้ภัตรหรือผู้ ระบุภตร.

(ปี 60, 55) พระทัพพมัลลบุตร มีความดําริอย่างไร? พระศาสดาทรงทราบแล้วทรงสาธุการ ตรสให้สงส์สมมติให้ท่านรับหน้าที่อะไรบ้าง?

ตอบ       ท่านดําริว่า ท่านอยู่จบพรหมจรรยแล้ว ควรจะรับธุระของสงฆ์จึงกราบทูลพระศาสดา

ทรงสาธุการแล้ว  ตรสให้สงส์สมมติท่านให้เป็นภัตตุทเทสกะและเสนาสนคาหาปกะ 

 

 

บรรพชาและอุปสมบท

(ปี 64, 59) การบอกนิสสัย และอกรณียะ บอกในเวลาใด ? และใครเป็นผู้บอก ? ตอบ         ท่านให้บอกในลําดับแห่งอุปสมบทแล้ว ห้ามไม่ให้บอกก่อนหน้าอุปสมบท ฯ อุปัชฌายะบอกก็ได้ กรรมวาจาจารย์หรืออนุสาวนาจารย์บอกก็ได้


(ปี 63, 50) การบรรพชาและการอุปสมบท สําเร็จด้วยวิธีอะไร? นอกจากอภัพบุคคลและผู้มีบรรพชาโทษแล้ว  บุคคลประเภทใดบ้างที่ถูกห้ามไม่ให้อุปสมบท?

ตอบ การบรรพชาสําเร็จด้วยวิธีไตรสรณคมน์ และการอุปสมบทสําเร็จด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรมวาจา

คือ     . คนไม่มีอุปัชฌาย์            . คนไม่มีบาตร คนไม่มจีวร หรือไม่มีทั้งบาตรทั้งจีวร                            . คนยืมบาตร จีวร หรือยืมทั้งบาตรทั้งจีวรเขามา

(ปี 62, 51) ในอุปสมบทกรรม อภัพพบุคคล หมายถึงใคร ? จําแนกโดยประเภทมีเท่าไร ? อะไรบ้าง ?

ตอบ หมายถึงบุคคลที่ทรงห้ามไม่ให้อุปสมบท

มี ประเภท คือ . เพศบกพร่อง . คนทําผิดต่อพระศาสนา . ประพฤติผิดต่อกําเนิดของเขาเอง

(ปี 61) ผู้จะเข้ามาอุปสมบทเป็นภิกษุในพระพุทธศาสนา ต้องประกอบด้วย คุณสมบัติอะไรบ้าง ?

ตอบ ประกอบด้วยคุณสมบัติ ประการ คือ . เป็นชาย                               . มีอายุครบ ๒๐ ปี . ไม่เป็นมนุษย์วิบัติ เช่น ถูกตอน หรือเป็นกะเทย เป็นต้น

. ไมเคยทําอนันตริยกรรม . ไม่เคยต้องปาราชิก หรือไมเคยเข้ารีตเดียรถีย์ทั้งที่เป็นภิกษุ (ปี 60) อภัพพบุคคลในอุปสมบทกรรมได้แก่บุคคลเช่นไร ? โดยวัตถุมีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ? ตอบ ได้แก่บุคคลที่ไม่สมควรแก่การอุปสมบท อุปสมบทไม่ขึ้น ถูกห้าม อุปสมบทตลอดชีวิต โดยวัตถุมี ๓ คือ     . พวกที่มีเพศบกพร่อง ไมรู้ว่าเป็นชายหรือเป็นหญิง

. พวกประพฤติผิดพระธรรมวินัย เช่น ฆ่าพระอรหันต์ เป็นต้น

. พวกประพฤติผิดต่อผู้ให้กําเนิดของตน คือ ฆ่ามารดาบิดา

(ปี 58) อภัพพบุคคลผู้กระทําผิดต่อพระศาสนา ถูกห้ามอุปสมบท มีกี่ประเภท ? อะไรบ้าง ?

ตอบ มี ประเภท คือ . คนฆ่าพระอรหันต์                          . คนทําร้ายภิกษุณี ได้แก่ผู้ข่มขืนภิกษุณีในอัชฌาจาร

. คนลักเพศ คือคนถือเพศเป็นภิกษุเอง                        . ภิกษุไปเข้ารีตเดียรถีย์                 . ภิกษุต้องปาราชิกละเพศไปแล้ว

. ภิกษุทําสังฆเภท           . คนทํารายพระศาสดาจนถึงห้อพระโลหิต

(ปี 57) ท่านศึกษาพระวินัยในเรื่องการอุปสมบทดีแล้ว จงให้ความหมายของคําต่อไปนี้

. อภัพบุคคล            . อุปสัมปทาเปกขะ                      . กรรมวาจา             . อนุสาวนา                           . อนุศาสน์

ตอบ       . อภัพบุคคล คือบุคคลผไู้ ม่ควรแก่การให้อุปสมบท ทรงห้ามไว้เป็นเด็ดขาด อุปสมบทไม่ขึ้น . อุปสัมปทาเปกขะ คือผู้ประสงค์จะอุปสมบทเป็นพระภิกษุ

. กรรมวาจา คือวาจาที่สวดประกาศในการให้อุปสมบท

. อนุสาวนา คือวาจาที่สวดประกาศความปรึกษาและตกลงสงฆ์

. อนุศาสน์ คือกิจที่พึงทําภายหลงั จากอุปสมบทเสร็จแล้ว มีการบอกนิสสัย บอกอกรณยกิจ เป็นต้น

(ปี 55) อะไรเป็น บุพพกิจ และ ปัจฉิมกิจ แห่งอุปสมบทกรรม?

ตอบ การให้บรรพชาจนถึงสมมตภิกษุรูปหนึ่งสอบถามอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรมในสงฆ์ เป็นบุพพกิจแห่งอุปสมบทกรรม ฯ การวัดเงาแดด การบอกประมาณแห่งฤดู การบอกส่วนแห่งวัน การบอกสังคีติ การบอกนิสัย การบอกอกรณียกิจ ในลําดับเวลาสวดกรรมวาจา จบ เป็นปัจฉิมกิจแห่งอุปสมบทกรรม

(ปี 54) องคสมบัติของภิกษุผู้จะเป็นอุปัชฌาย์ให้อุปสมบท เป็นอาจารย์ให้นิสัยที่กําหนดไว้ในบาลีมีหลายอย่าง แม้บกพร่องบางอย่างก็ได้ แต่ที่ขาด ไม่ได้คือองคสมบัติอะไร? ตอบ ที่ขาดไม่ได้ คือ มีพรรษา ๑๐ หรือยิ่งกว่า

(ปี 54) ในการอุปสมบท คนที่ได้ชอว่าลักเพศ ได้แก่คนเช่นไร?

ตอบ ได้แก่คนถือเพศภิกษุเอาเอง ด้วยตั้งใจจะปลอมเข้าอยู่ในหมู่ภิกษุ ดังคํากล่าวว่า เดียรถีย์ปลอมเข้าอยู่ในหมู่ภิกษุครั้งอโศกรัชกาล ถ้าคนนั้น เป็นแต่สักว่า ทรงเพศเพราะเหตุอย่างอื่น เป็นต้นว่าเพื่อหนีภัย ไม่จัดเป็นคนลักเพศ