วันพฤหัสบดีที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

หัวใจสมถกัมมัฎฐาน ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

หัวใจสมถกัมมัฏฐาน

สมาธึ ภิกฺขเว ภาเวถ, สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาติ.
ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงยังสมาธิให้เกิด ชนผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ตามความเป็นจริง.
สังยุตตนิกำย สฬำยตนวรรค
อำกำรของกำยและวำจำจะเป็นอย่ำงไร ย่อมสำเร็จมำจำกใจเป็นผู้บัญชำ ถ้ำใจ
ได้รับกำรอบรมดี ก็บังคับบัญชำกำยและวำจำให้ดีไปด้วย ถ้ำใจชั่ว ก็บังคับบัญชำให้กำยและ
วำจำชั่วไปด้วย ดังนั้น พระพุทธองค์จึงทรงสอนภิกษุทำใจให้เป็นสมำธิ เมื่อใจเป็นสมำธิ
แม้จะนำไปใช้นึกคิดอะไรก็ละเอียดสุขุม ย่อมรู้จักควำมเป็นจริงได้ดีกว่ำผู้มีใจไม่เป็นสมำธิ
ใจที่ไม่เป็นสมำธิ บำงครำวอำจทำให้เป็นคนเสียสติ เพรำะไม่มีอะไรเป็นเครื่องควบคุม
กัมมัฏฐาน
คำว่ำ กัมมัฏฐาน แปลว่ำ ที่ตั้งแห่งการงาน หมำยถึงอำรมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งกำร
งำน หรือเรียกว่ำ ภาวนา แปลว่ำ ทาให้มีให้เป็นขึ้น แบ่งเป็น ๒ อย่ำง คือ
๑. สมถกัมมัฏฐาน กัมมัฏฐานเป็นอุบายสงบใจ หมำยถึงกัมมัฏฐำนที่เนื่องด้วย
บริกรรมอย่ำงเดียว เป็นกำรบำเพ็ญเพียรทำงจิตโดยใช้สติเป็นหลัก เป็นอุบำยทำให้นิวรณ
ธรรมระงับไป ไม่เกี่ยวกับกำรใช้ปัญญำ
๒. วิปัสสนากัมมัฏฐาน กัมมัฏฐานเป็นอุบายเรืองปัญญา หมำยถึงกัมมัฏฐำน
ที่ใช้ปัญญำพิจำรณำอย่ำงเดียว โดยกำรพิจำรณำปรำรภสภำวธรรม คือ ขันธ์ ๕ อำยตนะ ๑๒
ธำตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒ แยกออกพิจำรณำให้รู้ตำมสภำพควำมเป็นจริง โดยยกขึ้นสู่ไตรลักษณ์
หรือสำมัญญลักษณะว่ำ เป็นอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตำ
หัวใจสมถกัมมัฏฐาน
หัวใจสมถกัมมัฏฐานนี้ หมำยถึง กัมมัฏฐำนหลักสำคัญ ที่เป็นอุบำยเครื่องอบรม
จิตให้เป็นสมำธิ มี ๕ อย่ำง คือ

๑. กำยคตำสติ
๒. เมตตำ
๓. พุทธำนุสสติ
๔. กสิณ

๕. จตุธำตุววัตถำน
๑. กายคตาสติ สติอันไปในกาย
กายคตาสติ หมำยถึงกำรใช้สติกำหนดพิจำรณำกำยว่ำ เป็นของไม่สวยงำม คือ
กำหนดพิจำรณำแต่ปลำยผมลงมำถึงปลำยเท้ำ อันประกอบด้วยผม ขน เล็บ ฟัน หนัง
เป็นต้น กำหนดพิจำรณำสี สัณฐำน กลิ่น ที่เกิด ที่อยู่ของส่วนต่ำงๆ เหล่ำนั้น ซึ่งเรียกว่ำ
อาการ ๓๒ จนเห็นว่ำ แต่ละอย่ำงล้วนเป็นสิ่งปฏิกูลน่ำเกลียด เหมือนหม้อใส่อุจจำระและ
สิ่งปฏิกูลต่ำงๆ ภำยนอกอำจดูสวยงำม แต่ภำยในเต็มไปด้วยสิ่งสกปรกโสโครกนำนัปกำร
๒. เมตตา
เมตตา หมำยถึง ควำมปรำรถนำจะให้ผู้อื่นเป็นสุข คือควำมมีจิตอันแผ่ไมตรี
และคิดทำประโยชน์แก่มนุษย์และสัตว์ทั่วหน้ำ ผู้เจริญเมตตำกัมมัฏฐำนนี้ เบื้องต้นควรนึกถึง
คนอื่นเทียบกับตนว่ำ “เรารักสุข เกลียดทุกข์ฉันใด คนอื่นก็รักสุข เกลียดทุกข์ฉันนั้น สิ่งที่
ชอบใจของเรา ย่อมเป็นของที่ชอบใจของคนอื่น สิ่งที่ไม่เป็นที่ชอบใจของเรา ย่อมไม่เป็นที่
ชอบใจของคนอื่นด้วยเหมือนกัน”
ผู้เจริญเมตตำ พึงแผ่โดยเจาะจงก่อน เริ่มต้นแต่คนที่ใกล้ชิดสนิทกัน เช่น
มำรดำบิดำ สำมีภรรยำ บุตรธิดำ ครูอำจำรย์เป็นต้น หลังจำกนั้น พึงแผ่โดยไม่เจาะจง คือ
สร้ำงควำมปรำรถนำดีในคนทั่วไป หรือเพื่อนมนุษย์ทั่วโลก ตลอดถึงสรรพสัตว์ การแผ่
เมตตาโดยเจาะจง ทำให้จิตมีพลังแรง แต่ขอบเขตแห่งควำมไม่มีภัยไม่มีเวรและควำมสำเร็จ
ประโยชน์แก่ผู้อื่นเป็นไปในวงแคบ ส่วนการแผ่เมตตาโดยไม่เจาะจง แม้ว่ำจิตจะมีพลังอ่อน
แต่เป็นไปในวงกว้ำง สำมำรถทำให้คนในสังคมมีควำมรักใคร่ปรองดองช่วยเหลือกัน และได้สุข
โดยทั่วถึงกัน ในกำรเจริญเมตตำกัมมัฏฐำนนิยมบริกรรมตำมบทบำลีว่ำ “สพฺเพ สตฺตา อเวรา
อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ” แปลว่ำ “ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง เป็นผู้ไม่มีเวร

ไม่มีความลาบาก ไม่มีทุกข์ จงมีสุข รักษาตนเถิด”บุคคลที่เจริญเมตตำย่อมได้รับอำนิสงส์ ๑๑ อย่ำง คือ (๑) หลับเป็นสุข (๒) ตื่น
เป็นสุข (๓) ไม่ฝันร้าย (๔) เป็นที่รักของมนุษย์ (๕) เป็นที่รักของอมนุษย์ (๖) เทวดารักษา
(๗) ไฟ ยาพิษ ศัสตราวุธ ไม่กล้ากราย (๘) จิตสงบเป็นสมาธิได้เร็ว (๙) สีหน้าผ่องใส (๑๐)
ตายอย่างมีสติ (๑๑) เมื่อยังไม่บรรลุธรรมชั้นสูง ย่อมเข้าถึงพรหมโลก
๓. พุทธานุสสติ
พุทธานุสสติ แปลว่ำ ความระลึกถึงพระพุทธเจ้า หมำยถึงกำรระลึกถึงพระพุทธองค์
โดยปรำรภถึงพระคุณควำมดีของพระองค์ ไม่ใช่ระลึกถึงเพรำะต้องกำรจะกล่ำวโทษ
โดยประกำรต่ำงๆ
ผู้เจริญพุทธำนุสสติ พึงบริกรรมระลึกถึงพระพุทธคุณ ๙ บท คือ อรหํ,
สมฺมาสมฺพุทฺโธ, วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน, สุคโต, โลกวิทู, อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ, สตฺถา
เทวมนุสฺสานํ, พุทฺโธ, ภควา โดยลำดับ หรือจะกำหนดเฉพำะพระคุณบทใดบทหนึ่งก็ได้
เช่น บทที่นิยมกันมำกคือบทว่ำ “อรหํ” หรือ “พุทฺโธ”
๔. กสิณ
กสิณ แปลว่ำ วัตถุอันจูงใจ หมำยถึงวัตถุอันจูงใจให้เข้ำไปผูกอยู่สำหรับเพ่ง
เพื่อให้จิตเป็นสมำธิ โดยกำหนดเอำวัตถุจูงใจ ๑๐ อย่ำงมำเพ่งเป็นอำรมณ์ คือ (๑) ปฐวี ดิน
(๒) อาโป น้ำ (๓) เตโช ไฟ (๔) วาโย ลม (๕) นีลํ สีเขียว (๖) ปีตํ สีเหลือง (๗) โลหิตํ สีแดง
(๘) โอทาตํ สีขำว (๙) อาโลโก แสงสว่ำง (๑๐) อากาโส ที่ว่ำง
ข้อ ๑ – ๔ เรียกรวมกันว่ำ ภูตกสิณ กสิณมหาภูตรูป ๔ คือ ดิน น้ำ ไฟ และลม
ส่วนข้อ ๕ – ๘ เรียกรวมกันว่ำ วัณณกสิณ กสิณสี ๔ คือ สีเขียว เหลือง แดง และขำว
๕. จตุธาตุววัตถาน
จตุธาตุววัตถาน แปลว่ำ การกาหนดธาตุ ๔ หมำยถึงกัมมัฏฐำนที่กำหนด
พิจำรณำให้เห็นว่ำ ร่ำงกำยของคนเรำ เป็นแต่เพียงธำตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม มำประชุม
รวมกันเท่ำนั้น ทั้งนี้เพื่อถ่ำยถอนควำมรู้สึกว่ำ เป็นสัตว์ บุคคล ตัวตน เรำเขำออกไปจำก
จิตใจเสียได้ เรียกอีกอย่ำงว่ำ ธาตุมนสิการ หรือ ธาตุกัมมัฏฐาน

กรรม ๑๒ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

หมวดที่ ๑ ให้ผลตามคราว
๑. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพนี้
๒. อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลต่อเมื่อเกิดแล้วในภพหน้า
๓. อปราปรเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพสืบๆ
๔. อโหสิกรรม กรรมให้ผลสำเร็จแล้ว
หมวดที่ ๒ ให้ผลตามกิจ
๕. ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด
๖. อุปัตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน
๗. อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น
๘. อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน
หมวดที่ ๓ ให้ผลตามลำดับ
๙. ครุกรรม กรรมหนัก
๑๐. พหุลกรรม กรรมชิน
๑๑. อาสันนกรรม กรรมเมื่อจวนเจียน
๑๒. กตัตตากรรม กรรมสักว่าทำ
กรรม แปลว่ำ การกระทา คำว่ำ กรรม เป็นคำกลำงๆ ถ้ำเป็นส่วนดี เรียกว่ำ
กุศลกรรม ส่วนไม่ดี เรียกว่ำ อกุศลกรรม กรรม เมื่อจำแนกตำมหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ
กำรให้ผลทั้งฝ่ำยกุศลและอกุศล พระอรรถกถำจำรย์ได้แสดงไว้เป็น ๓ หมวด หมวดละ

๔ ประเภท รวมเรียกว่ำ กรรม ๑๒
           กรรม ๑๒ นี้ แสดงให้รู้ว่ำ คนบำงคนทำกรรมชั่ว แต่ยังคงได้รับควำมสุขควำมเจริญ
อยู่ในปัจจุบัน ก็เพรำะกรรมดีที่เคยทำไว้ในอดีตกำลังให้ผล หรือเพรำะกรรมชั่วที่ทำใน
ปัจจุบันยังไม่ได้โอกำสให้ผล อนึ่ง พึงทรำบว่ำกรรม ๑๒ นี้ ไม่มีปรำกฏในพระไตรปิฎก แต่
พระอรรถกถำจำรย์ มีพระพุทธโฆสำจำรย์เป็นต้น ได้จัดรวบรวมไว้ในภำยหลัง ดังที่ปรำกฏใน

คัมภีร์วิสุทธิมรรค และคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ

คติ ๒ ธรรมศึกษา วิชา ธรรม ระดับอุดมศึกษา (ธศ 332) ชั้นเอก

สังสารวัฏ หมำยถึงการเวียนว่ายตายเกิด ได้แก่ลำดับกำรสืบต่อที่เป็นไปไม่ขำดสำย
แห่งขันธ์ ธำตุ และอำยตนะทั้งหลำย หรือกำรเวียนว่ำยตำยเกิดอยู่ในภพภูมิกำเนิดต่ำงๆ
คติ คือภูมิเป็นที่ไป หรือเป็นที่ถึงเบื้องหน้ำแต่ตำย มี ๒ อย่ำง คือ (๑) ทุคติ ภูมิ
เป็นที่ไปข้างชั่ว ได้แก่ สถำนที่ไปเกิดที่มีแต่ควำมทุกข์ร้อน (๒) สุคติ ภูมิเป็นที่ไปข้างดี ได้แก่
สถำนที่ไปเกิดที่มีควำมสุขสบำย คติทั้ง ๒ นั้น มีที่มำในพระสูตรต่ำงๆ แห่งพระไตรปิฎกดังนี้
๑. ทุคติ
ทุคติ ในบำงพระสูตรแจกเป็น ๒ คือ (๑) นิรยะ คือนรก โลกอันหำควำมเจริญมิได้
(๒) ติรัจฉานโยนิ กำเนิดสัตว์ดิรัจฉำน (สัตว์เจริญโดยขวำงหรือไปตำมยำว) บำงพระสูตร
เพิ่ม ปิตติวิสยะ แดนแห่งเปรต เข้ำไปเป็น ๓ ด้วยกัน อีกอย่ำงหนึ่งว่ำ อบาย โลกอัน
ปรำศจำกควำมเจริญ ทุคติ ภูมิเป็นที่ไปข้ำงชั่ว วินิบาต โลกที่ทำให้สัตว์ผู้ตกอยู่ไร้อำนำจ ใน
พระสูตรโดยมำกเพิ่ม นิรยะ ไว้ตอนท้ำย จึงรวมเป็น ๔
ในคัมภีร์อรรถกถำพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก ได้ให้คำจำกัดควำมทุคติ
ไว้ ๔ อย่ำง ดังนี้
อบาย หมำยถึงภูมิอันปรำศจำกควำมสุข ไร้ควำมเจริญ หรือสถำนที่ปรำศจำกบุญ
ที่เป็นเหตุให้ได้สมบัติ ๓ คือ มนุษย์ สวรรค์ นิพพำน
ทุคติ หมำยถึงภูมิอันมีแต่ควำมทุกข์ หรือสถำนที่สัตว์ไปเกิดเพรำะผลกรรมชั่วอัน
เนื่องจำกควำมเป็นคนเจ้ำโทสะ
วินิบาต หมำยถึงภูมิเป็นที่ตกแห่งสัตว์ผู้ไร้อำนำจ หรือตกไปมีแต่ควำมพินำศ
มีอวัยวะแตกกระจัดกระจำย
นิรยะ หรือ นรก หมำยถึงภูมิอันไม่มีควำมเจริญ มีแต่ควำมเร่ำร้อนกระวนกระวำย
ในคัมภีร์สุมังคลวิลำสินี คำว่ำ วินิบาต หมำยถึงสัตว์จำพวกที่ไม่นับเข้ำในสัตว์
ผู้บังเกิดในอบำยภูมิ ๔ ได้แก่ พวกเวมานิกเปรต คือเปรตที่แม้จะมีวิมำนอยู่ แต่ไม่รุ่งเรือง

เหมือนเทพอื่นๆ ได้เสวยสุขเพียงชั่วครู่แล้วเสวยทุกข์ทรมำนต่ำงๆ เป็นช่วงๆ สลับกันไป
๒. สุคติ
สุคติ คือ ภูมิอันเป็นที่เกิดของผู้ประกอบกุศลกรรม มี ๒ อย่ำง คือ
๑) มนุษยโลก โลกของมนุษย์ หมำยถึงภูมิที่อยู่ของสัตว์ที่มีจิตใจสูง เป็นผู้รู้จักใช้
เหตุผล
๒) เทวโลก โลกของเทวดาและพรหม หมำยถึงภูมิที่อยู่ของเทวดำในสวรรค์ชั้น
กำมำพจร ๖ และพรหมผู้สถิตอยู่ในพรหมโลก
สวรรค์ชั้นกามาพจร ได้แก่โลกสวรรค์อันเป็นที่อยู่ของเทวดำที่ยังข้องอยู่ในกำมคุณ ๕
เป็นภูมิที่มีแต่ควำมสุขสบำย สมบูรณ์ด้วยโภคสมบัติ หรือเรียกว่ำ สุคติโลกสวรรค์ มี ๖ ชั้น คือ
(๑) จาตุมหาราชิกา สวรรค์ที่ท้ำวมหำรำชทั้ง ๔ คือ ท้ำวธตรฐ ท้ำววิรุฬหก
ท้ำววิรูปักษ์ ท้ำวกุเวร เป็นผู้ปกครอง
(๒) ดาวดึงส์ สวรรค์เป็นที่อยู่ของเทวดำสหำย ๓๓ องค์ มีท้ำวสักกเทวรำชเป็น
ผู้ปกครอง
(๓) ยามา สวรรค์เป็นที่อยู่ของเทวดำผู้ปรำศจำกทุกข์
(๔) ดุสิต สวรรค์เป็นที่อยู่ของเทวดำผู้เอิบอิ่มด้วยทิพยสมบัติอันเป็นของเฉพำะตน
(๕) นิมมานรดี สวรรค์เป็นที่อยู่ของเทวดำผู้ยินดีในกำมสุขที่ตนเนรมิตขึ้น

(๖) ปรนิมมิตวสวัตดี สวรรค์เป็นที่อยู่ของเทวดำผู้ยินดีในกำมสุขที่ผู้อื่นเนรมิตให้
พรหมโลก ได้แก่ภูมิอันที่อยู่ของพรหมผู้ประเสริฐและบริสุทธิ์ คือผู้บำเพ็ญสมำธิจิต
แน่วแน่จนได้บรรลุฌำนสมำบัติหรือสำเร็จเป็นอริยบุคคลชั้นอนำคำมีในโลกมนุษย์ เมื่อสิ้นชีวิต

จึงไปบังเกิดในพรหมโลกตำมลำดับชั้นแห่งคุณธรรมที่ได้บรรลุ