วันพุธที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2564

วิชาพุทธประวัติ นักธรรมชันตรี 2557

ปัญหาและเฉลยวิชาพุทธประวัติ  นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันเสาร์ ที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๗


๑.     ชมพูทวีปแบ่งเป็น ๒ ส่วนใหญ่ ๆ คืออะไรบ้าง?
เฉลย คือมัชฌิมชนบท และ ปัจจันตชนบท ฯ
๒.    พระมหาบุรุษประสูติที่ไหน? เมื่อไร?
เฉลย ลุมพินีวัน ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์กับกรุงเทวทหะ ฯ วันเพ็ญ เดือน ๖ ก่อนพุทธศก ๘๐ ปี ฯ
๓.    อสิตดาบสกล่าวทำนายพระมหาบุรุษไว้ว่าอย่างไร?
เฉลย ว่ามีคติเป็น ๒ คือถ้าอยู่ครองฆราวาส จักได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ
ถ้าออกบวช จักได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ฯ
๔.     พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาแก่ใคร และบังเกิดผลเลิศอย่างไร?
เฉลย แก่พระปัญจวัคคีย์ ฯ บังเกิดผลเลิศ คือพระอัญญาโกณฑัญญะได้ดวงตาเห็นธรรมแล้วทูลขอบรรพชา ฯ
๕.     คำว่า “ที่นี่ไม่วุ่นวาย ที่นี่ไม่ขัดข้อง” เป็นวาจาของใคร? กล่าวกะใคร?
เฉลย ของพระพุทธเจ้า ฯ กะยสกุลบุตร ฯ
๖.     พระสารีบุตร พระโมคคัลลานะ ได้ดวงตาเห็นธรรมเพราะฟังธรรมจากใคร?
เฉลย พระสารีบุตรฟังธรรมจากพระอัสสชิ พระโมคคัลลานะฟังธรรมจากพระสารีบุตร ฯ
๗.    สังเวชนียสถาน ๔ ตำบล เป็นสถานที่ให้ระลึกถึงเหตุการณ์สำคัญอะไรบ้าง?
เฉลย เหตุการณ์ที่พระพุทธองค์
           ๑. ประสูติ
           ๒. ตรัสรู้
           ๓. ทรงแสดงธรรมจักกัปปวัตตนสูตรเป็นครั้งแรก
           ๔. เสด็จปรินิพพาน ฯ
๘.    ผู้ที่กล่าวสุนทรพจน์ระงับไม่ให้เกิดสงครามแย่งชิงพระบรมสารีริกธาตุ คือใคร?
เฉลย โทณพราหมณ์ ฯ
ศาสนพิธี
๙.     ศาสนพิธี คืออะไร? มีหมวดอะไรบ้าง?
เฉลย คือแบบอย่างหรือแบบแผนต่างๆ ที่พึงปฏิบัติในทางพระพุทธศาสนา ฯ มี
           ๑. หมวดกุศลพิธี             ๒. หมวดบุญพิธี
                ๓. หมวดทานพิธี             ๔. หมวดปณิณกะ ฯ
๑๐.          จงเขียนคำอาราธนาพระปริตรมาดู
เฉลย             วิปตฺติปฏิพาหาย             สพฺพสมฺปตฺติสิทฺธิยา
สพฺพทุกฺขวินาสาย              ปริตฺตํ พฺรูถ มงฺคลํ
วิปตฺติปฏิพาหาย             สพฺพสมฺปตฺติสิทฺธิยา
สพฺพภยวินาสาย                ปริตฺตํ พฺรูถ มงฺคลํ
วิปตฺติปฏิพาหาย             สพฺพสมฺปตฺติสิทฺธิยา
สพฺพโรควินาสาย                ปริตฺตํ พฺรูถ มงฺคลํ ฯ





 

วิชาพุทธประวัติ นักธรรมชันตรี 2558


ปัญหาและเฉลยวิช พุทธประวัตินักธรรมชันตรี้

สอบในสนามหลวง

วันศุกร์  ๒๓ที่ ตุลาคม          พ.ศ. ๒๕๕๘




๑.  พุทธประวัติ คืออะไร ?       มีความส าคัญอย่างไรจึงต้องเรียนรู ้ ?
เฉลย       คือเรื่องที่พรรณนาความเป็นไปของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ ้า ฯ            มีความส า

ในการศึกษาและปฏิบัติพระพุทธศาสนาเพราะแสดงพระพุทธจริยาให ้ปรากฏ ฯ

๒.   เจ้าชายสิทธัตถะทรงปรารภถึงอะไร จึงเสด็จออกบรรพชา ? และทรงบรรพชาได้กี่ปี จึงตรั เฉลย ทรงปรารภถึงความแก่ ความเจ็บ ความตาย และสมณะฯ ทรงบรรพชาได๖ปี้ ฯ

๓.  ผู้ประกาศตนเป็ นอุบาสกด้วยการถึงรัต๒เป็นครัะงแรก้ คือใคร ? ได้พบพระพุทธเจ้าที่ไหน ?
เฉลย       คือตปุสสะ และภัลลิกะ ฯ        ที่ใต ้ต ้นราชายตนะ ฯ

๔. พระพุทธเจ้าประสูติ ตรัสรู ้ ปรินิพพานที่ใต้ต้นไม้อะไร ?
เฉลย       ประสูติและปรินิพพาน  ใตต้นสาละ้ ฯ ตรัสรู้ ใตต้นโพธิ้์(อัสสัตถพฤกษ์) ฯ

๕.    ปัญจวัคคีย์ ได้แก่ใครบ้าง ?เหลท่าน้ัอุปสมบทด้วยวิธีอะไร ?

เฉลย ได ้แก่พระอัญญาโกณฑัญญะ พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และ พระอัสสชิ ฯ ด ้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา ฯ

๖.    อนุปุพพีกถา๕ ว่าด้วยเรืองอะไร่ ?   ทรงแสดงครังแรกแก่ใคร้ ?

เฉลย ว่าด ้วยทาน ศีล สวรรค์ โทษแห่งกาม และอานิสห่งการออกจากกามส์แ ฯ แก่ยสกุลบุตร ฯ
๗. สถานที่ถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ชื่อว่าอะไร ?     ตังอยู่ในเมืองอะไร้ ?

เฉลย       ชื่อว่า มกุฏพันธนเจดีย์ ฯ           เมืองกุสินารา ฯ

๘.   ใครถวายบิณฑบาตแด่พระพุทธองค์ก่อนตรัสรู ้ และก่อนปรินิพพาน ? เฉลย ก่อนตรัสรู ้ คือนางสุชาดาก่อนปรินิพพาน คือนายจุนทะ ฯ


ศาสนพิธี

๙.    การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ คืออะไร ?
เฉลย   คือการประกาศตนของผู ้แสดงว่า ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาประจ าชีวิตของตน

๑๐. วันส าคัญทางพระพุทธศาสนา ก าหนดไว้กี่วัน ?            มีวันอะไรบ้าง ?
เฉลย       ๔ วัน ฯ    มีวันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา และวันมาฆบูชา ฯ



*********




 

วิชาพุทธประวัติ นักธรรมชั้นตรี 2559

 


ปัญหาและเฉลยวิชาพุทธประวัติ นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง

                   วันพุธที่๑๒ ตุลาคมพุทธศักราช๒๕๕๙



๑.            การเรียนรู้พุทธประวัติได้ประโยชน์อย่างไร?
ตอบ ได้ประโยชน์๒ ประการ คือ

๑.        ในด้านการศึกษา ท าให้ทราบความเป็นมาของพระพุทธเจ้ เช่นเดียวกับการศึกษาต านานความเป็นมาของชาติตน ท าให้บุ ได้ทราบว่าชาติของตนเป็นมาอย่างไร มีความส าคัญอย่างไร เป็นต

๒.       ในด้านปฏิบัติ ท าให้บุคคลได้แนวในการด าเนินชีวิตตามพระพ อันเป็นปฏิปทาน าความสุขความเจริญมาให้แก่บุคคลตามสมคว การประพฤติปฏิบัติ ฯ

๒.           วรรณะทั้ง๔ มีหน้าที่ต่างกันอย่างไร?

ตอบ มีหน้าที่ต่างกันอย่างนี้ กษัตริย์ มีหน้าที่รักษาบ้านเมือง พราหมณ์ มีหน้าที่ฝึกสอนและท าพิธี แพศย์ มีหน้าที่ท านาค้าขาย ศูทร มีหน้าที่รับจ้างใช้แรงงาน ฯ
๓.     พระนามและนามต่อไปนี้ เกี่ยวข้องกับเจ้าชายสิทธัตถะอย่างไร?
๑. มหาปชาบดีโคตมี
๒. อสิตดาบส (กาฬเทวิลดาบส)
ตอบ ๑.  มหาปชาบดีโคตมี เป็นพระมาตุจฉา คือพระน้านางของเจ้าชายสิทธัต

๒.       อสิตดาบส (กาฬเทวิลดาบส) คือ ดาบสผู้เป็นที่คุ้นเคยของราช ได้เข้าเฝูาพระเจ้าสุทโธทนะ เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะประสูต และพยากรณ์ว่า พระราชกุมารจะได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิร หรือศาสดาเอกในโลก ฯ 
๔.           ถูปารหบุคคล มีกี่ประเภท?คือใครบ้าง?
ตอบ มี๔ ประเภท ฯ
คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า๑พระปัจเจกพุทธเจ้า๑
พระอรหันต์๑                      พระเจ้าจักรพรรดิ๑ฯ

๕.    พระพุทธเจ้าเสด็จออกบรรพชา ตรัสรู้ และปรินิพพาน เมื่อมีพระ เท่าไร? 

ตอบ เสด็จออกบรรพชา เมื่อมีพระชนมายุ๒๙ปี ตรัสรู้ เมื่อมีพระชนมายุ๓๕ปี ปรินิพพาน เมื่อมีพระชนมายุ๘๐ปี ฯ
๖.            พระอรหันตสาวก๕ รูปแรก คือใครบ้าง?
ตอบ คือ  ๑. พระอัญญาโกณฑัญญะ
๒.  พระวัปปะ

๓.  พระภัททิยะ ๔. พระมหานามะ ๕. พระอัสสชิ ฯ

๗.           หลังจากตรัสรู้แล้ว พระพุทธเจ้าทรงพระประสงค์จักแสดงธรรม แก่ใครก่อน?และสมพระประสงค์หรือไม่?เพราะเหตุไร?
ตอบ ทรงพระประสงค์จักแสดงแก่อาฬารดาบส กาลามโคตร
และอุทกดาบส     รามบุตร ฯ
ไม่สมพระประสงค์ ฯ
เพราะท่านทั้ง๒นั้นสิ้นชีพเสียแล้ว ฯ 
๘.     ค าพูดว่า“ที่นี่วุ่นวายหนอ ที่นี่ขัดข้องหนอ” เป็นค าพูดของใคร?
เพราะเหตุไรจึงพูดเช่นนั้น?
ตอบ ของยสกุลบุตร ฯ
เพราะเกิดความความเบื่อหน่าย ด้วยเห็นพวกบริวารนอนหลับ
มีอาการพิกลต่าง ๆ ฯ
ศาสนพิธี 
๙.      ศาสนพิธี คืออะไร?ผู้ที่ได้เรียนรู้แล้วได้รับประโยชน์อย่างไ?
ตอบ คือ แบบอย่าง หรือแบบแผนต่างๆ ที่พึงปฏิบัติในทางพระศาสนา ฯ

ย่อมได้รับประโยชน์เป็นผู้ฉลาดในพิธีกรรมที่เกี่ยวด้วยการบคือ าเพ การท าบุญ และการถวายทาน สามารถในการจัดพิธีต่างๆ ได้ถูกต้อง ระเบียบแบบแผน ชื่อว่าเป็นผู้รักษาขนบประเพณีอันงดง ของพระพุทธศาสนาไว้ได้ด้วย ฯ 

๑๐.    วันแรม๘ ค่ า เดือน๖เป็นวันอะไร?มีเหตุการณ์ส าคัญอะไรเกิดขึ้ ในวันนั้น? 

ตอบ เป็นวันอัฐมีบูชา ฯ เป็นวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ฯ





--------------------

ให้เวลา๓ ชั่วโมง