แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ วิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอกย้อนหลัง แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ วิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอกย้อนหลัง แสดงบทความทั้งหมด

วันพฤหัสบดีที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

วิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอก2557

ปัญหาและเฉลยวิชาวินัยบัญญัติ  นักธรรมชั้นเอก

สอบในสนามหลวง

วันอังคาที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗


๑.    ภิกษุผู้ปรารถนาความตั้งอยู่ยั่งยืนของพระธรรมวินัย ควรปฏิบัติตนอย่างไร?

เฉลย ควรตั้งอยู่ในสีลสามัญญตา ทิฏฐิสามัญญตา และลัชชีธรรม สำรวมในพระปาติโมกข์ ประกอบด้วยอาจาระและโคจระ เห็นภัยในโทษแม้เพียงเล็กน้อย สำเหนียกศึกษาในสิกขาบททั้งหลาย ฯ

๒.   อุโบสถกรรม อุปสมบทกรรม อปโลกนกรรม อัพภานกรรม อุกเขปนียกรรม ใช้สงฆ์จำนวนเท่าไรเป็นอย่างน้อยจึงจะถูกต้องตามพระวินัยบัญญัติ?

เฉลย      อุโบสถกรรม ใช้สงฆ์ ๔ รูป

              อุปสมบทกรรม ในปัจจันตชนบท ใช้สงฆ์ ๕ รูป ในมัชฌิมชนบทใช้สงฆ์ ๑๐ รูป

              อปโลกนกรรม ใช้สงฆ์ ๔ รูป

              อัพภานกรรม ใช้สงฆ์ ๒๐ รูป

              อุกเขปนียกรรม ใช้สงฆ์ ๔ รูป ฯ

๓.    จงอธิบายความหมายคำต่อไปนี้

ก. สัตตัพภันตรสีมา            ข. อุทกุกเขปสีมา

เฉลย ก. สัตตัพภันตรสีมา ได้แก่สีมาในป่าหาคนตั้งบ้านเรือนมิได้ กำหนดเขตแห่งสามัคคีในชั่ว ๗ อัพภันดรโดยรอบ นับแต่ที่สุดแนวแห่งสงฆ์ออกไป (๗ อัพภันดร คือ ๔๙ วา)

ข. อุทกุกเขปสีมา ได้แก่สีมามีกำหนดเขตสามัคคีด้วยชั่ววักน้ำสาดแห่งคนมีอายุและกำลังเป็นปานกลาง ฯ

๔.    ผ้าที่ไม่ทรงอนุญาตให้ใช้เป็นผ้ากฐิน ได้แก่ผ้าเช่นไรบ้าง?

เฉลย เช่นนี้ คือ

              ๑. ผ้าที่ไม่ได้เป็นสิทธิ เช่น ผ้าที่ขอยืมเขามา

              ๒. ผ้าที่ได้มาโดยอาการอันมิชอบ คือทำนิมิตได้มา พูดเลียบเคียงได้มาและผ้าเป็นนิสสัคคีย์

              ๓. ผ้าที่ได้มาโดยบริสุทธิ์ แต่เก็บค้างคืนไว้ ฯ

๕.    ภิกษุผู้กรานกฐินแล้ว ย่อมได้อานิสงส์อะไรบ้าง?

เฉลย      ๑. เที่ยวไปไม่ต้องบอกลาตามสิกขาบทที่ ๖ แห่งอเจลวรรค ในปาจิตติยกัณฑ์

              ๒. เที่ยวจาริกไปไม่ต้องถือเอาไตรจีวรไปครบสำรับ

              ๓. ฉันคณะโภชน์ได้

              ๔. เก็บอติเรกจีวรไว้ได้ตามปรารถนา

              ๕. จีวรอันเกิดขึ้นในที่นั้นเป็นของได้แก่พวกเธอ

ทั้งได้โอกาสขยายเขตจีวรกาลให้ยาวออกไปตลอด ๔ เดือนฤดูเหมันต์ด้วย ฯ

๖.    ท่านศึกษาพระวินัยในเรื่องการอุปสมบทดีแล้ว จงให้ความหมายของคำต่อไปนี้

ก. อภัพบุคคล           ข. อุปสัมปทาเปกขะ         ค. กรรมวาจา

ง. อนุสาวนา             จ. อนุศาสน์

เฉลย      ก. อภัพบุคคล คือบุคคลผู้ไม่ควรแก่การให้อุปสมบท ทรงห้ามไว้เป็นเด็ดขาด อุปสมบทไม่ขึ้น

           ข. อุปสัมปทาเปกขะ คือผู้ประสงค์จะอุปสมบทเป็นพระภิกษุ

              ค. กรรมวาจา คือวาจาที่สวดประกาศในการให้อุปสมบท

              ง. อนุสาวนา คือวาจาที่สวดประกาศความปรึกษาและตกลงสงฆ์

              จ. อนุศาสน์ คือกิจที่พึงทำภายหลังจากอุปสมบทเสร็จแล้ว มีการบอกนิสสัย ๔ บอกอกรณียกิจ ๔ เป็นต้น ฯ

๗.   ภิกษุทะเลาะกันเรื่องสรรพคุณของยา จัดเป็นวิวาทาธิกรณ์ได้หรือไม่? เพราะเหตุไร?

เฉลย ไม่ได้ ฯ เพราะวิวาทาธิกรณ์ มุ่งเฉพาะวิวาทปรารถพระธรรมวินัย ฯ

๘.   อุกเขปนียกรรม และ นิยสกรรม สงฆ์พึงลงแก่ภิกษุเช่นไร?

เฉลย      อุกเขปนียกรรม พึงลงแก่ภิกษุไม่เห็นอาบัติ ผู้ไม่ทำคืนอาบัติ หรือผู้ไม่สละทิฏฐิบาป

              นิยสกรรม พึงลงแก่ภิกษุผู้มีอาบัติมาก หรือคลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีอันไม่ควร ฯ

พระราชบัญญัติคณะสงฆ์

๙.   กรรมการมหาเถรสมาคมซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตั้ง จะพ้นจากตำแหน่งในกรณีใดบ้าง?

เฉลย ๑. ครบวาระ ๒ ปี          ๒. มรณภาพ            ๓. พ้นจากความเป็นพระภิกษุ

       ๔. ลาออก                    ๕. สมเด็จพระสังฆราชมีพระบัญชาให้ออก ฯ

๑๐.        การปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค จัดแบ่งเขตการปกครองไว้อย่างไร? จงอ้างมาตราประกอบ

เฉลย ๑. ภาค    ๒. จังหวัด     ๓. อำเภอ      ๔. ตำบล ฯ

ตามมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ฯ

วิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอก2558

 




ปัญหาวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชันเอก้

สอบในสนามหลวง


วันจันทร์ที่๓๐พฤศจิกายนพุทธศักราช๒๕๕๘ 


๑. สังฆกรรมย่อมวิบัติ          โดยอะไรบ้าง ?     สงฆ์ให้อุปสมบทแก่อภัพพบุคคล เป็ นสังฆ


วิบัติโดยอะไร ?

เฉลย       โดยวัตถุ สีมา ปริสะ และกรรมวาจา ฯ        วิบัติโดยวัตถุ ฯ


๒. สีมา มีกี่ประเภท ?       อะไรบ้าง ?    ประเภทไหนสมมติเป็ นติจีวราวิปปวาสไม่ได้ ?

เฉลย       มี๒ ประเภท ฯ     พัทธสีมา คือแดนที่ผูก           หมายถึงเขตอันสงฆ์ก าหนดเอาเอง

และอพัทธสีมา คือแดนที่ไม่ไดกหมายถึงเขตอันเขาก้ผู าหนดไว ้โดยปกติของ

บ้านเมือง  หรือเขตที่มีสัญญัติอย่างอื่นเป็นเครื่องก าหนด ฯ  ประเภทอพั


๓.   ภิกษุผู้ควรได้รับเลือกให้เป็ นเจ้าหน้าที่ท าการสงฆ์ พึงประกอบด้วยคุณสมบัต และจะปฏิบัติหน้าที่นั้นได้ตังแต่เมื้่อไร ?

เฉลย       ด ้วยคุณสมบัติเหล่านี้      คือ


๑.  ไม่ถึงความล าเอียงเพราะความชอบพอ

๒.  ไม่ถึงความล าเอียงเพราะเกลียดชัง

๓.  ไม่ถึงความล าเอียงเพราะงมงาย

๔.  ไม่ถึงความล าเอียงเพราะกลัว

๕.  เข ้าใจการท าหน้าที่อย่างนั้น ฯ


ตั้งแต่สงฆ์สวดสมมติด ้วยญัตติทุติยกรรมวาจาให ้เป็นเจ ้าหน้าที่นั้น



๔.   อานิสงส์กฐินจะ้สุดลง เพราะเหตุอะไรบ้าง ?


เฉลย เพราะปลิโพธ๒ ประการ คืออาวาสปลิโพธ ความกังวลในอาวาส และจีวรปลิโพธ ความกังวลในจีวร ขาดลง และสิ้นสุดเขตจีวรกาล ฯ


๕.    อภัพพบุคคลผู้กระท าผิดต่อพระศาสนา ถูกห้ามอุปสมบท มีกี่ประเภท ? อะไรบ้าง เฉลย มี๗ ประเภท คือ


๑. คนฆ่าพระอรหันต์


๒.   คนท าร ้ายภิกษุณี ได ้แก่ผู ้ข่มขืนภิกษุณีในอัชฌาจาร ๓. คนลักเพศ คือคนถือเพศเป็นภิกษุเอง ๔. ภิกษุไปเข ้ารีตเดียรถีย์ ๕. ภิกษุต ้องปาราชิกละเพศไปแล ้ว ๖. ภิกษุท าสังฆเภท



 ๗. คนท าร ้ายพระศาสดาจนถึงห ้อพระโลหิต ฯ


๖.    การโจทภิกษุอืนด้วยอาบัติ่ทาดวยกายก็ได้ ด้วยวาจาก็ได้ อยากทราบว่า การโจทด้วยกาย นั้นทาอย่างไร ?


เฉลย ท าโดยแสดงอาการไม่นับถือว่าเป็นภิกษุ มีการไม่อภิวาทเป็นต ้น การเขียนห โจท ก็จัดว่าเป็นการโจทด ้วยกาย ฯ


๗.  อธิกรณ์อันสงฆ์วินิจฉัยแล้ว ฝ่ายไม่ชอบใจ จักอุทธรณ์ต่อสงฆ์อื่นให้วินิจฉัยใหม่ได้ หรือไม่ ? จงอธิบายพอเข้าใจ


เฉลย ได ้ก็มี ไม่ได ้ก็มีตามสิกขาบทที่ฯ๓ แห่งสัปปาณวรรค ปาจิตติยกัณฑ์ โจทก์ ก็ดีจ าเลยก็ดีสงฆ์ก็ดีรู ้อยู่ว่าอธิกรณ์นั้นสงฆ์หมู่นั้นวินิจฉัยเป็นธรรมแล ้ ฟื้ นขึ้นเพื่อวินิจฉัยใหม่ต้องอาบัติปาจิตติยะเป็นอันอุทธรณ์ไม่ไดแต่ถ้ ้าเห็นว่า ไม่เป็นธรรมฟื้ นขึ้นไม่เป็นอาบัติเป็นอันอุทธรณ์ได ้ ฯ



๘.   รัตติเฉท คืออะไร ? รัตติเฉทของภิกษุผู้ประพฤติมานัต มีเท่าไร ? อะไรบ้าง ? เฉลย คือการขาดราตรี ฯ มี๔อย่าง ฯ คือ


๑.  สหวาโส อยู่ร่วม


๒. วิปฺปวาโส อยู่ปราศ ๓. อนาโรจนา ไม่บอก


๔.  อูเน คเณ จรณ  ประพฤติในคณะอันพร่อง ฯ




พระราชบัญญัติคณะสงฆ์


๙. ที่วัดและที่ซึ่งขึ้นต่อวัด ตามมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์  มีกี่อย่าง ?


อะไรบ้าง ?

เฉลย

มี๓ อย่าง ฯ   คือ



๑.

ที่วัด คือที่ซึ่งตั้งวัดตลอดจนเขตของวัดนั้น


๒.

ที่ธรณีสงฆ์

คือที่ซึ่งเป็นสมบัติของวัด


๓.

ที่กัลปนา คือที่ซึ่งมีผู ้อุทิศแต่ผลประโยชน์ให ้วัดหรือพระศาสนา ฯ

๑๐. พระราชบัญญัติคณะสงฆ์มาตรา๓๗ ระบุหน้าที่เจ้าอาวาสไว้กี่อย่าง ?   อะไรบ้าง ?

เฉลย

ระบุไว๔้ อย่าง ฯ

คือ


๑.

บ ารุงรักษาวัด  จัดกิจการและศาสนสมบัติของวัดให ้เป็นไปด ้วยดี


๒.

ปกครองและสอดส่องให ้บรรพชิตและคฤหัสถ์ที่มีที่อยู่หรือพ านักอาศั



วัดนั้นปฏิบัติตามพระธรรมวินัย  กฎมหาเถรสมาคม ข ้อบังคับระเบียบห



ค าสั่งของมหาเถรสมาคม


๓.

เป็นธุระในการศึกษาอบรมและสั่งสอนพระธรรมวินัยแก่บรรพชิตและคฤหัสถ


๔.

ให ้ความสะดวกตามสมควรในการบ าเพ็ญกุศล ฯ




*********

วิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอก 2559





 ปัญหาวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชันเอก

สอบในสนามหลวง


วันเสาร์ที๑๙ พฤศจิกายน พุทธศักราช๒๕๕๙


๑.            มูลเหตุที ทําให้เกิดสังฆกรรมมีกี?อะไรบ้าง อย่าง?

ตอบ   มี๒ อย่าง ฯ              คือ

๑. มีภิกษุบริษัทเพิ มจํานวนมากขึ น

๒.  มีพระพุทธประสงค์เพื อให้สงฆ์เป็นใหญ่ในการบริหารหมู่คณะ ฯ


๒.           ญัตติและอนุสาวนา หมายถึงอะไร? อนุสาวนามีใช้ในสังฆกรรมอะไรบ้าง? ตอบ ญัตติ หมายถึง คําเผดียงสงฆ์

อนุสาวนา หมายถึง คําประกาศคําปรึกษาและข ้อตกลงของสงฆ์ ฯ มีใช้ใน ๒ สังฆกรรม คือ


๑.  ญัตติทุติยกรรม

๒.  ญัตติจตุตถกรรม ฯ


๓.           การทักนิมิตในทิศทัง  ๘ นั น ทักทิศละหนถูกต้องหรือไม่? เพราะเหตุไร? จงเขียนคําทักนิมิตในทิศตะวันออกเฉียงเหนือมาดู?

ตอบ ๔.

ไม่ถูกต้อง ฯ

ที ถูกต้องนั นเมื อเริ มต้นทักนิมิตในทิศบูรพาแล ้วทักมาโดยลําดับจนถึงนิมิตสุด

ในทิศบูรพาซํ าอีก ฯ

คําทักนิมิตในทิศตะวันออกเฉียงเหนือว่าดังนี

อุตฺตราย อนุทิสาย กึ นิมิตฺตํ ฯ


คําว่า“เจ้าอธิการในพระวินัยหมายถึงใคร”?มีกี แผนก?อะไรบ้าง?



ตอบ   หมายถึงภิกษุที สงฆ์สมมติให้เป็นเจ้าหน้าที ทํากิจการของสงฆ์ ฯ

มี๕ แผนก ฯ            คือ


๑. เจ้าอธิการแห่งจีวร ๒. เจ้าอธิการแห่งอาหาร ๓. เจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ ๔. เจ้าอธิการแห่งอาราม ๕. เจ้าอธิการแห่งคลัง ฯ


๕.           กรานกฐิน ได้แก่การทําอย่า?จงเขียนคําอนุโมทนากฐินมาดูไร?


ตอบ   ได้แก่ เมื อมีผ้าเกิดขึ นแก่สงฆ์ในเดือนท้ายฤดูฝน พอจะทําเป็นไตรจีวรผืนใดผืนหนึ สงฆ์พร้อมใจกันยกให้แก่ภิกษุรูปหนึ งผูผู้เหมาะสมด้รับผ้านั้ไภิกษุ นนําไปทําเป็นจีวรผืนใดผืนหน ให้แล ้วเสร็จในวันนัแล้วมาบอกแก่ภิกษุผู น ้ยกผ้านั นให้เพื ออนุโมทนา ภิกษุเหล่านั นอนุ ทั งหมดนี  คือ กรานกฐิน ฯ

คําอนุโมทนากฐินว่า อตฺถตํ ภนฺเต ฐิสงฺฆสฺสนํธมฺมิโกฐินตฺถาโรก อนุโมทามิ ฯ


๖.            การบอกนิสสัย๔ และอกรณียะ๔ บอกในเวลาใด ? และใครเป็ นผู้บอก?


ตอบ   ท่านให้บอกในลําดับแห่งอุปสมบทแล ้ว ห้ามไม่ให้บอกก่อนหน้าอุปสมบท ฯ อุปัชฌายะบอกก็ได้ กรรมวาจาจารย์หรืออนุสาวนาจารย์บอกก็ได้ ฯ


๗.           อนุวาทาธิกรณ์ คืออะไร?เมื อเกิดขึ นใครต้องขวนขวายเพือระงับ  ? หากปล่อยไว้จะเกิดผลเสียอย่างไร?


ตอบ   คือการโจทกันด้วยอาบัตินั น ๆ ฯ

ภิกษุผู ้เป็นประธานสงฆ์ พึงขวนขวายรีบระงับ ฯ

หากไม่รีบระงับจะทําให้เสียสีลสามัญญตาและเสียสามัคคี เป็นทางแตกเป็นนานาสังวาส ฯ


๘.           ในทางพระวินัย การควํ าบาตร หมายถึงอะไร?แลจะหงายบาตรได้เมื อไร ? ตอบ หมายถึง การไม่ให้คบหาสมาคมด้วยลักษณะ๓ปรการ คือ


๑. ไม่รับบิณฑบาตของเขา ๒. ไม่รับนิมนต์ของเขา ๓. ไม่รับไทยธรรมของเขา ฯ


เมื อผู ้ถูกควํ าบาตรนั นเลิกกล่าวติเตียนพระพุทธ พระธรรมแลพระสงฆ์้ว เป็นต้นนั น กลับประพฤติดี พึงหงายบาตรแก่เขาได้ ฯ



พระราชบัญญ ัติ


๙.            องค์กรปกครองคณะสงฆ์สูงสุด เรียกว่าอะไร?มีกําหนดองค์ประกอบไว้อย่างไรบ้าง? ตอบ เรียกว่า มหาเถรสมาคม ฯ


มีกําหนดองค์ประกอบไว้ดังนี


สมเด็จพระสังฆราชทรงดํารงตําแหน่งประธานกรรมการ โดยตําแหน่ง สมเด็จพระราชาคณะทุกรูป เป็น กรรมการ โดยตําแหน่ง และพระราชาคณะซึ งสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตั งมีจํานวนไม่เกิน๑๒ รูป เป็นกรรมการ ฯ


๑๐.       ผู้ใด ส่ความคณะสงฆ์หรือคณะสงฆ์อืนอันอาจก่อให้เกิดความเสื อมเสียหรือความ  แตกแยก มีโทษอย่างไร?

ตอบ   ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึอปรับไม่เกินสองหมื งปีหรื นบาทหรือทั งจําทั งปรับ ฯ




ให้เวลา๓ ชั วโมง

วิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอก 2560

 


ปัญหาและเฉลยวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอก สอบในสนามหลวง

วันพุธ ที่๘พฤศจิกายน พุทธศักราช๒๕๖๐ 


๑.                                 สังฆกรรม๔ นั้น อย่างไหนต้องท าในสีมา อย่างไหนท านอกสีมาก?


ตอบ    ญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม และญัตติจตุตถกรรม ต้องท าในสีม ส่วนอปโลกนกรรม ท านอกสีมาได้ ฯ


๒.                               สีมา มีกี่ประเภท?อะไรบ้าง?


ตอบ มี๒ ประเภท ฯ คือ พัทธสีมา และ อพัทธสีมา ฯ


๓.                               พระทัพพมัลลบุตร มีความด าริอย่างไร ? พระศาสดาทรงทราบแล้

ทรงสาธุการตรัสให้สงฆ์สมมติให้ท่านรับหน้าที่อะไรบ้าง?


ตอบ    ท่านด าริว่า ท่านอยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ควรจะรับธุระของสงฆ์ จึงกราบทูลพระศาสดา ฯทรงสาธุการแล้วตรัสให้สงฆ์สมมติท่าน ให้เป็นภัตตุทเทสกะ และเสนาสนคาหาปกะ ฯ


๔.                                กฐิน มีชื่อมาจากอะไร?ผ้าที่เป็นกฐินได้มีอะไรบ้าง?


ตอบ มาจากชื่อไม้สะดึงที่ลาดหรือกางออกส าหรับขึงจีวรเพื่อเย็บ มี ๑. ผ้าใหม่



๒.         ผ้าเทียมใหม่คือผ้าฟอกสะอาดแล้ว ๓. ผ้าเก่า ๔. ผ้าบังสุกุล


๕. ผ้าที่ตกตามร้านตลาดซึ่งเขาน ามาถวายสงฆ์ ฯ


๕.                                อภัพพบุคคลในอุปสมบทกรรมได้แก่บุคคลเช่นไร?โดยวัตถุมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?

ตอบ  ได้แก่บุคคลที่ไม่สมควรแก่การอุปสมบท อุปสมบทไม่ขึ้น

อุปสมบทตลอดชีวิต ฯ

โดยวัตถุมี๓คือ

๑. พวกที่มีเพศบกพร่อง ไม่รู้ว่าเป็นชายหรือเป็นหญิง


๒.          พวกประพฤติผิดพระธรรมวินัย เช่น ฆ่าพระอรหันต์ เป็นต้น ๓. พวกประพฤติผิดต่อผู้ให้ก าเนิดของตน คือ ฆ่ามารดาบิดา ฯ


๖.                                 อนุวาทาธิกรณ์เช่นไร อันภิกษุจะพึงยกขึ้นพิจารณาตัดสินไ?

ตอบ  ต้องเป็นเรื่องมีมูล คือ

เรื่องที่ได้เห็นเอง๑


เรื่องที่ได้ยินเองหรือมีผู้บอกและเชื่อว่าเป็นจริง๑ เรื่องที่เว้นจาก๒สถานนั้นแต่รังเกียจโดยอาการ๑ฯ


๗.                                สัมมุขาวินัยมีองค์เท่าไร?อะไรบ้าง?

ตอบ  มีองค์๔ ฯ คือ


๑.            ในที่พร้อมหน้าสงฆ์


๒.          ในที่พร้อมหน้าธรรม ๓. ในที่พร้อมหน้าวินัย ๔. ในที่พร้อมหน้าบุคคล ฯ


๘.                                วุฏฐานวิธีหมายถึงอะไร?ในการท าวุฏฐานวิธีแต่ละอย่างนั ต้องการสงฆ์จ านวนเท่าไรเป็นอย่างน้อย?


ตอบ    หมายถึงระเบียบวิธีเป็นเครื่องออกจากอาบัติสังฆาทิเสสฯ อัพภาน ต้องการสงฆ์๒๐ รูปเป็นอย่างน้อย นอกนั้นต้องการ ตั้งแต่๔รูป ขึ้นไป ฯ


พระราชบัญญัติ


๙.                                  กรรมการมหาเถรสมาคมซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตั้ง พ้นจากต าแหน่งเมื่อใด?

ตอบ  พ้นเมื่อ

๑. มรณภาพ


๒.         พ้นจากความเป็นพระภิกษุ ๓. ลาออก


๔. สมเด็จพระสังฆราชมีพระบัญชาให้ออก ๕. อยู่ครบวาระ๒ ปี ฯ



๑๐.           จงให้ความหมายของค าต่อไปนี้ ก. ที่วัด


ข.           ที่ธรณีสงฆ์ ค. ที่กัลปนา


ตอบ    ก. ที่วัดคือที่ซึ่งตั้งวัดตลอดจนเขตของวัดนั้น ข. ที่ธรณีสงฆ์ คือที่ซึ่งเป็นสมบัติของวัด

ค.          ที่กัลปนา คือที่ซึ่งมีผู้อุทิศแต่ผลประโยชน์ให้วัด หรือ







ให้เวลา๓ ชั่วโมง





วิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอก 2561






ปัญหาและเฉลยวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอก

สอบในสนามหลวง

วันอังคาร ที่๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑




๑.                                  ญัตติและอนุสาวนา หมายถึงอะไร?ญัตติมีใช้ในสังฆกรรม

อะไรบ้าง?

ตอบ ญัตติ หมายถึง ค าเผดียงสงฆ์

อนุสาวนาหมายถึง การสวดประกาศค าปรึกษาและข้อตกลงของสงฆ์ ฯ

มีใช้ใน๓ สังฆกรรม คือ

๑. ญัตติกรรม


๒.           ญัตติทุติยกรรม ๓. ญัตติจตุตถกรรม ฯ


๒.                                สีมาสังกระ คืออะไร? สงฆ์จะท าสังฆกรรมในสีมาเช่นนั้นไ หรือไม่อย่างไร?

ตอบ คือสีมาที่สมมติคาบเกี่ยวกันระหว่างสีมาที่สมมติไว้เดิม

และสีมาที่สมมติขึ้นใหม่ ฯ

สงฆ์ท าสังฆกรรมในสีมาที่สมมติไว้เดิมได้ แต่ท าในสีมา

ที่สมมติขึ้นใหม่ไม่ได้ ฯ


๓.                                ภิกษุผู้ควรได้รับสมมติให้เป็นภัตตุทเทสกะ ต้องประ คุณสมบัติเช่นไร?


ตอบ ต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังนี้ คือ


๑. เว้นอคติ๔ คือ ฉันทาคติ โทสาคติ โมหาคติ ภยาคติ ๒. รู้จักภัตรที่ควรแจกหรือมิควรแจก ๓. รู้จักล าดับที่พึงแจก ฯ


๔.                                การกรานกฐิน คืออะไร?อธิบายพอเข้าใจ

ตอบ คือเมื่อมีผ้าเกิดขึ้นแก่สงฆ์ในเดือนท้ายฤดูฝนพอจะท าเป

ผืนใดผืนหนึ่งได้ สงฆ์พร้อมใจกันยกให้แก่ภิกษุรูปหนึ่ง

ภิกษุผู้ได้รับผ้านั้นน าไปทผืนใดผืนหนึ่งให้แล้วเสร็จาเป็นไตรจีวร

ในวันนั้น แล้วมาบอกแก่ภิกษุผู้ยกผ้านั้นให้เพื่ออนุโมท

ภิกษุเหล่านั้อนุโมทนา ทั้งหมดนี้ คือการกรานกฐิน ฯ


๕.                                ผู้จะเข้ามาอุปสมบทเป็นภิกษุในพระพุทธศาสนา ต้องประกอบด้วยคุณสมบัติอะไรบ้าง?

ตอบ ประกอบด้วยคุณสมบัติ๕ประการ คือ

๑. เป็นชาย

๒. มีอายุครบ๒๐ ปี


๓.           ไม่เป็นมนุษย์วิบัติถูกตอนเช่นหรือเป็นกะเทย เป็นต้น ๔. ไม่เคยท าอนันตริยกรรม


๕. ไม่เคยต้องปาราชิก หรือไม่เคยเข้ารีตเดียรถีย์ทั้งที่เ



๖.                                 ลักษณะการปกปิดอาบัตินั้น พระอรรถกถาจารย์แสดงไว้กี่ปร? อะไรบ้าง?

ตอบ แสดงไว้๑๐ ประการ ฯ

จัดเป็น๕ คู่ คือ


๑.             เป็นอาบัติและรู้ว่าเป็นอาบัติ ๒. เป็นปกตัตตะและรู้ว่าเป็นปกตัตตะ ๓. ไม่มีอันตรายและรู้ว่าไม่มีอันตราย


๔.           อาจอยู่ และรู้ว่าอาจอยู่ ๕. ใคร่จะปิด และปิดไว้ ฯ


๗.                                กิจจาธิกรณ์และนิคคหะคืออะไร?


ตอบ   กิจจาธิกรณ์ คือ กิจอันจะพึงท าด้วยประชุมสงฆ์ ต่างโดย เป็นอปโลกนกรรมญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม ญัตติจตุตถกรรม นิคคหะ คือ การข่ม เป็นกิจอย่างหนึ่งแห่งผู้ปกครองหมู่ ฯ


๘.                                นาสนา คืออะไร? บุคคลเช่นไรที่ทรงอนุญาตให้นาสนา?


ตอบ   คือการยังบุคคลผู้ไม่สมควรถือเพศภิกษุและสามเณรให้สละเพศเส บุคคลที่ทรงพระอนุญาตให้นาสนามี๓ประเภท คือ


๑.             ภิกษุต้องอันติมวัตถุแล้วยังปฏิญญาตนเป็นภิกษุ ๒. บุคคลผู้อุปสมบทไม่ขึ้น ได้รับอุปสมบทแต่สงฆ์ ๓. สามเณรผู้ประกอบด้วยองค์๑๐ข้อใดข้อหนึเช่นง เป็นผู้มักผลาญ

ชีวิตสัตว์ เป็นต้น ฯ




พระราชบัญญัติ


๙.                                  พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ คืออะไร?

ตอบ คือ กฏหมายฉบับหนึ่งว่าด้วยคณะสงฆ์ ฯ


๑๐.  เจ้าอาวาส ตามกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่๒๔ใครเป็นผู้แต่งตั้ง?

ตอบ สมเด็จพระสังฆราช ทรงมีพระบัญชาแต่งตั้งเจ้าอาวาสพระอาราม

หลวง ตามมติมหาเถรสมาคม

เจ้าคณะจังหวัด แต่งตั้งเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ฯ









ให้เวลา๓ ชั่วโมง



 

วิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอก 2562

 


ปัญหาและเฉลยวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอก สอบในสนามหลวง


วันเสาร์ ที่ ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๒ 


๑.                 สังฆกรรมมีอะไรบ้าง?สังฆกรรมอะไรที่สงฆ์จตุวรรคทำไม่ได้?

ตอบ     มี ๑. อปโลกนกรรม                  ๒. ญัตติกรรม

๓. ญัตติทุติยกรรม๔. ญัตติจตุตถกรรม ฯ

ปวารณา ให้ผ้ากฐิน อุปสมบท และอัพภาน สงฆ์จตุวรรคทำไม่ได้


๒.                สังฆกรรมย่อมวิบัติเพราะเหตุไรบ้าง?ภิกษุ รูป๓ ประชุมกัน ในสีมาสวดปาฏิโมกข์ชื่อว่าวิบัติเพราะเหตุไหน?

ตอบ     สังฆกรรมย่อมวิบัติ (คือใช้ไม่ได้ แม้ทำแล้วก็ไม่เป็นอั

เหตุ ๔ อย่างคือ เพราะวัตถุบ้าง เพราะสีมาบ้าง เพราะปริสะบ้

เพราะกรรมวาจาบ้าง ฯ

ชื่อว่าวิบัติเพราะปริสะ ฯ


๓.                สีมาคืออะไร?มีความสำคัญอย่างไร?

ตอบ     คือเขตประชุมของสงฆ์ผู้ทำสังฆกรรม ฯ

มีความสำคัญ เพื่อจะกำหนดรู้เขตประชุมแห่งสงฆ์ที่ประชุมก

ทำสังฆกรรมมีการให้อุปสมบทแก่กุลบุตร เป็นต้น ที่พระศาสด

อนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียง กันทำ ฯ


๔.                เจ้าอธิการตามพระวินัยหมายถึงใคร? สงฆ์พึงสวดสมมติ เจ้าอธิการด้วยกรรมวาจาประเภทใด?


ตอบ     หมายถึง ภิกษุผู้ได้รับสมมติจากสงฆ์ให้เป็นเจ้าหน้าที่ทำกา พึงสวดสมมติด้วยญัตติทุติยกรรม ฯ


๕.                การอปโลกน์ และ การสวดกรรมวาจาให้ผ้ากฐิน จัดเป็นสังฆกรร ประเภทใด ? อย่างไหนต้องทำในสีมอย่างไหนทำนอกสีมาก็ได้?


ตอบ     การอปโลกน์เพื่อให้ผ้ากฐิน จัดเป็นอปโลกนกรรม การสวดเพื่อให้ผ้ากฐิน จัดเป็นญัตติทุติยกรรม ฯ การอปโลกน์เพื่อให้ผ้ากฐิน ทำในสีมาหรือนอกสีมาก็ได้ การสวดกรรมวาจาให้ผ้ากฐินต้องทำในสีมาเท่านั้น ฯ


๖.                 ในอุปสมบทกรรม อภัพพบุคคลายถึงใครหม? จำแนกโดยประเภท มีเท่าไร?อะไรบ้าง?


ตอบ     หมายถึงบุคคลที่ทรงห้ามไม่ให้อุปสมบท ฯ มี ๓ ประเภท ฯ คือ

๑. เพศบกพร่อง

๒. คนทำผิดต่อพระศาสนา

๓.  ประพฤติผิดต่อกำเนิดของเขาเอง ฯ


๗.               ภิกษุผู้ก่อวิวาทาธิกรณ์ อย่างไรชื่อว่าปรารถนาดี อย่างไรชื่อว่าปรารถนาเลว ?

ตอบ     ผู้ก่อวิวาทาธิกรณ์เพราะเห็นแก่พระธรรมวินัย ปราศจากโลภะ โ

โมหะ ชื่อว่าทำด้วยปรารถนาดี

ผู้ก่อวิวาทาธิกรณ์ด้วยทิฏฐิมานะแม้รู้ว่าผิดก็ขืนทำ ประกอบด้วย

โลภะ โทสะ โมหะ ชื่อว่าทำด้วยปรารถนาเลว ฯ


๘.                วุฏฐานวิธี แปลว่าอะไร?ะกอบด้วยอะไรบ้าง ?


ตอบ แปลว่าระเบียบเป็นเครื่องออกจากอาบัติ ฯ ประกอบด้วยปริวาส มานัต ปฏิกัสสนา และอัพภาน ฯ


 พระราชบัญญัติคณะสงฆ์


๙.                เจ้าอาวาสหมายถึงใคร? ภิกษุผู้จะดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัด ที่ไม่ใช่พระอารามหลวง ต้องมีคุณสมบัติโดยเฉพาะอะไรบ้าง?


ตอบ     หมายถึง พระภิกษุผู้ได้รับแต่งตั้งตามกฎมหาเถรสมาคม ให้เป็นพระสังฆาธิการปกครองวัดใดวัดหนึ่ง ฯ คือ ๑. มีพรรษาพ้น ๕


๒.   เป็นผู้ทรงเกียรติคุณ เป็นที่เคารพนับถือของคฤหัสถ์ และบรรพชิตในถิ่นนั้น ฯ


๑๐. ที่วัด ที่ธรณีสงฆ์ และที่ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่สถานที? ตอบ ที่วัด ได้แก่ที่ซึ่งตั้งวัดตลอดจนเขตของวัดนั้น


ที่ธรณีสงฆ์ ได้แก่ที่ซึ่งเป็นสมบัติของวัดนอกจากที่ตั้ง ที่ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่ที่ซึ่งเป็นทรัพย์สินของพระศาสน ซึ่งมิใช่ของวัดใดวัดหนึ่ง ฯ




ให้เวลา ๓ ชั่วโมง