แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ วิชาธรรม นักธรรมชั้นเอกย้อนหลัง แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ วิชาธรรม นักธรรมชั้นเอกย้อนหลัง แสดงบทความทั้งหมด

วันพุธที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

วิชาธรรม นักธรรมชั้นเอก 2559




ปัญหาวิชาธรรม นักธรรมชันเอก

สอบในสนามหลวง

วันพฤหัสบดีที๑๗พฤศจิกายน  พุทธศักราช๒๕๕๙

๑.        อุทเทสว่า“ูทังหลายจงมาดูโลกนี” โลกในทีนีหมายถึงอะไร ?

คนมีลักษณะอย่างไรชื อว่าหมกอยู่ในโลก ?
ตอบ    หมายถึง โลก โดยตรงได้แก่แผ่นดินเป็นที อาศัย โดยอ้อมได้แก่หมู่สัตว์ผู ้อาศัย ฯ คนผู ร้วิจารณญาณไม่หยั้ไ งเห็นโดยถ่องแท้ เพลิดเพลินในสิห้โทษระเริงจนเกินพอดี งอันใ ในสิ งอัน อาจให ้โทษ ติดในสิ งอันเป็นอุปการะจนถอนตนไม่ออก คนมีลักษณะอย่างนี  ย่อมได้รับสุข้างทุกข์บ ้าง แม ้สุขก็เป็นเพียงสามิสสุข อันมีเหยืสุข อล่อใจ เป็นเหตุใดุจเหยื้ติด ออันเบ็ดเกียวไว้ฉะนั น ฯ

๒.           นิพพิทาคืออะไร?ปฏิปทาเครื องดําเนินให้ถึงนิพพิทานั นอย่างไร ? ตอบ นิพพิทา คือความหน่ายในทุกขขันธ์ ฯ

อย่างนี คือ พิจารณาเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั งหลายทั งปวงไม่เที ยง เป็นทุกข์ ธรรมทั งหลายทั งปวงเป็นอนัตตา ย่อมเกิดนิพพิทายในทุกขขันธ์เบื อหน่าไม่เพลิดเพลิน ยึดมั นหมกมุ่นอยู่ในสังขารอันยั  วยวนเสน่หา ฯ

๓.           วิราคะ ได้แก่อะไร?คําว่า“ฏฏฺปจฺเฉโทู ธรรมเข้าไปตัดเสียซึ งวัฏฏะ” มีอธิบายว่าอย่างไร?
ตอบ    ได้แก่ ความสิ นกําหนัด ฯ
อธิบายว่า วัฏฏะ หมายเอาความเวียนว่ายตายเกิดด้วยอํานาจกิเลสกรรมและวิบาก
วิราคะเขาไปตัดความเวียนว่ายตายเกิดนั้น จึงเรียกว่าวฏฏฺูปจฺเฉโท ธรรมเขาไปตัดเสีย้
ซึ งวัฏฏะ ฯ

  
๔.           ความหลุดพ้นอย่างไรเป็ นสมุจเฉทวิมุตติ?จัดเป็นโลกิยะหรือโลกุตตระ? ตอบ ความหลุดพ้นด้วยการตัดกิเลสได้เด็ดขาด ได้แก่อริยมรรค ฯ

จัดเป็นโลกุตตระ ฯ

๕.           ธรรมอะไรเป็ นยอดแห่งสังขตธรรม?เพราะเหตุไร? ตอบ อัฏฐังคิกมรรคเป็นยอดแห่งสังขตธรรม ฯ

เพราะองค์๘ แต่ละองค์ ๆ ของอัฏฐังคิกมรรค ก็เป็นธรรมดี ๆ รวมกันเข๘ย่อมเป็น้าทั ง ธรรมดียิ งนัก และเป็นทางเดียวนําไปถึงความดับทุกข์หรือถึงความหมดจดแห่งทัสสนะ ฯ

๖.            สันติความสงบ เกิดขึ นที ดใ ?  มีปฏิปทาที จะดําเนินอย่างไร?
ตอบ    เกิดขึ นที กาย วาจา ใจ ฯ
มีปฏิปทาที จะดําเนิน คือ ปฏิบัติกาย                       วาจา  ใจ     ให้สงบจากโทษเวรภัยด้วยการละโลกามิส
คือกามคุณ๕ ฯ

๗.           พระบาลีว่า“สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ธรรมเป็นที ละอุปธิทัสงปวง”
ในคํานี อุปธิเป็นชื อของอะไรได้บ้าง ? แต่ละอย่างมีอธิบายว่าอย่างไร?
ตอบ   เป็นชื อของกิเลสและปัญจขันธ์ ฯ
ที เป็นชื อของกิเลส มีอธิบายว่า เข ้าไปทรงคือเข ้าครอง ที เป็นชื อแห่งปัญจขันธ์ มีอธิบายว่า เข ้าไปทรงคือหอบไว้ซึ งทุกข์ ฯ

๘.           คติ คืออะไร? สัตวโลกที ตายไป มีคติเป็ นอย่างไรบ้าง? ตอบ คือ ภูมิหรือภพเป็นที ไปหลังจากตายแล ้ว ฯ

มีคติเป็น๒คือ

๑.  ทุคติ ภูมิเป็นที ไปข ้างชั ว ซึ งเกิดจากการประพฤติทุจริตทางกายวาจาใจ ๒. สุคติ ภูมิเป็นที ไปข ้างดี ซึ งเกิดจากการประพฤติสุจริตทางกายวาจาใจ ฯ

๙.            ในพระพุทธคุณ๙ ประการนั น ส่วนไหนเป็นเหตุส่วนไหนเป็นผล ? เพราะเหตุไร? ตอบ พระพุทธคุณ ส่วนอัตตสมบัติ เป็นเหตุ ส่วนปรหิตปฏิบัติ เป็นผล ฯ

เพราะทรงบริบูรณ์ด้วยพระพุทธคุณส่วนอัตตสมบัติก่อนแล ้วจึงทรงบําเพ็ญพุทธกิจ ให้สําเร็จประโยชน์แก่เวไนย ฯ


๑๐.    ในวิสุทธิ๗วิสุทธิข้อไหนบ้างเตุให้เกิดขึเป็ นและตังอยู่แห่งวิปัสสนา  ?
เพราะเหตุไร?  จงอธิบาย
ตอบ    ขอสีลวิสุทธิ้ความบริสุทธิแห่งศีล และจิตวิสุทธิความบริสุทธิแห่งจิตเป็นเหตุให้เกิดขึ นและตังอยู่แห่ง

วิปัสสนา ฯ
เพราะผู้มีศีลไม่บริสุทธิจิตย่อมไม่สงบ เมือจิตไม่สงบก็ยากที จะเจริญวิปัสสนา  ฯ





ให้เวลา๓ ชั วโมง


 

วิชาธรรม นักธรรมชั้นเอก 2560


ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นเอก สอบในสนามหลวง


วันจันทร์ที่๖ พฤศจิกายน พุทธศักราช๒๕๖๐ 


๑.                                  ลักษณะเช่นใดบ้าง เป็นเครื่องก าหนดให้รู้ว่าสังขารทั้งหลา?


จงอธิบาย


ตอบ ๑. ก าหนดรู้ในทางง่ายด้วยความเกิดขึ้นในเบื้องต้น และความสิ้น ในเบื้องปลาย


๒. ก าหนดรู้ในทางละเอียดกว่านั้น ด้วยความแปรในระหว่างเกิดแล ๓. ก าหนดรู้ในทางสุขุม ด้วยความแปรแห่งสังขารในชั่วขณะหนึ่ง ๆ


ไม่คงที่อยู่นาน เช่น ความรู้สึกสุขทุกข์ เป็นต้น ฯ


๒.                                ทุกขลักขณะ และ ทุกขานุปัสสนา เป็นอย่างเดียวกันหรือต่าง? จงอธิบาย



ตอบ  ต่างกันคือ

ทุกขลักขณะ ได้แก่ ลักษณะที่เป็นทุกข์แห่งสังขาร เพราะถูกบี

จากปัจจัยต่าง ๆ

ทุกขานุปัสสนา ได้แก่ ปัญญาพิจารณาเห็นสังขารว่าเป็นทุกข์ ฯ



๓.                               ตัณหา เมื่อเกิดขึ้นย่อมเกิดที่ไหนและเมื่อดับย่อมดับที?

ตัณหานั้นย่อมสิ้นไปเพราะธรรมอะไร?


ตอบ    เมื่อเกิดขึ้นย่อมเกิดในสิ่งเป็นที่รักที่ยินดีในโลก เมื่ ในสิ่งเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ฯ เพราะวิราคะ คือพระนิพพาน ฯ





๔.                               พระบาลีว่า“ปญฺ าย ปริสุชฺฌติ บุคคลย่อมหมดจดด้วยปัญญา” มีอธิบายอย่างไร?


ตอบ    มีอธิบายว่า ผู้พิจารณาเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารไม่เที่ยง เป็ อนัตตา เกิดความเบื่อหน่ายแล้ววางเฉยในสังขารนั้น ไม่ยินดีไม่ ได้บรรลุอริยมรรคอริยผล ความหมดจดย่อมเกิดด้วยปัญญาอย่างนี้ ฯ


๕.                               ในวิมุตติ๕วิมุตติใดจัดเป็น อริยมรรค อริยผล? นิพพาน ตอบ สมุจเฉทวิมุตติ จัดเป็น อริยมรรค


ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ จัดเป็น อริยผล นิสสรณวิมุตติ จัดเป็น นิพพาน ฯ


๖.                                จงจัดมรรค๘ เข้าในวิสุทธิ๗มาดู


ตอบ    สัมมาวาจาสัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ จัดเข้าในสีลวิสุทธิ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ จัดเข้าในจิตตวิสุทธิ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ จัดเข้าในทิฏฐิวิสุทธิ กังขาวิต มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ญาณท



๗.                                สันติแปลว่าอะไร?เป็นโลกิยะ หรือโลกุตตระ?


ตอบ สันติ แปลว่า ความสงบ ฯ เป็นได้ทั้งโลกิยะ และโลกุตตระ ฯ


๘.                                ในส่วนสังสารวัฏฏ์ สัตวโลกตายแล้วมีคติเป็นอย่างไร? มีอุทเทสบาลีแสดงไว้อย่างไร?

ตอบ  สัตวโลกตายแล้วมีคติเป็น๒คือ สุคติ และทุคติ ฯ

มีอุทเทสบาลีแสดงว่า


จิตฺเต สงฺกิลิฏทุคฺเคติ ปาฏิกงฺขา เมื่อจิตเศร้าหมองแล้ว

ทุคติเป็นอันต้องหวัง



จิตฺเต อสงฺกิลิฏฺเสุคติ ปาฏิกงฺขา เมื่อจิตไม่เศร้าหมองแล้ว สุคติเป็นอันหวังได้ ฯ


๙.                                  เจริญมรณัสสติอย่างไรจึงจะแยบคาย?


ตอบ เจริญพร้อมด้วยองค์๓คือ สติ ระลึกถึงความตาย๑ ญาณ รู้ว่าความตายจักมีแก่ตน๑


เกิดสังเวชสลดใจ๑ เจริญอย่างนี้ จึงจะแยบคาย ฯ



๑๐.     สมถะ กับ วิปัสสนา ให้ผลต่างกันอย่างไร?

ตอบ  ให้ผลต่างกันดังนี้


สมถะ ให้ผลคือทให้ใจสงบระงับจากนิวรณ์ทั้งา๕ ส่วนวิปัสสนา ให้ผลคือทให้ได้ปัญญาเห็นสภาวธรรม ตามความเป็นจริงฯ








ให้เวลา๓ ชั่วโมง





 

วิชาธรรม นักธรรมชั้นเอก 2561




ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอาทิตย์ ๒๕ที่พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑



๑.                                       พระบรมศาสดาทรงชักชวนให้มาดูโลกนี้โดยมีพระประสงค์
อย่างไร?

ตอบ     มีพระประสงค์เพื่อให้รู้จักสิ่งที่เป็นจริงอันมีอยู่ในโ จักได้ละสิ่งที่เป็นโทษ และ ไม่ข้องติดอยู่ในสิ่งที่เป็น

๒.                                     ค าว่า มาร และ บ่วงแห่งมาร หมายถึงอะไร?

ตอบ     ค าว่า มาร หมายถึงกิเลสกาม อันท าจิตให้เศร้าหมอง ได้แก่ ตัณหา ราคะ และอรติ เป็นต้น

ค             าว่า บ่วงแห่งมาร หมายถึงวัตถุกาม ได้แก่ รูป เสียง กลิ่ และโผฏฐัพพะ ฯ

๓.         ค าว่า มทนิมฺมทโน ธรรมยังความเมาให้สร่าง หมายถึงความเมาในอะไร?

ตอบ     หมายถึงความเมาในอารมณ์อันยั่วยวนให้เกิดความเมาทุกประก เช่น ชาติ สกุล อิสริยะ บริวาร ก็ดี ลาภ ยศ สรรเสริญขก็ดี สุ ความเยาว์วัย ความไม่มีโรค และชีวิต ก็ดี นับเข้าในอา ประเภทนี้ ฯ

๔.         บาลีอุทเทสว่า วิมุตฺตสฺมึ วิมุตฺตมิติ ญาณ โหติ แป เมื่อหลุดพ้นแล้วญาณว่าหลุดพ้นแล้ว ย่อมมี อะไรหลุดพ้น? และหลุดพ้นจากอะไร?
ตอบ     จิตหลุดพ้น ฯ
จากอาสวะ ๓ ฯ

๕.                                     โลกามิสคืออะไร?ที่ได้ชื่ออย่างนั้นเพราะเหตุไร?
ตอบ     คือกามคุณ๕ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันน่าปราร
น่าใคร่น่าชอบใจ ฯ
เพราะเป็นเครื่องล่อใจให้ติดอยู่ในโลกดุจเหยื่ออันเบ็ดเกี่

๖.           ข้อความว่า ปลงภาระอันหนักเสียแล้วอเอาภาระอันอื่นไม่ถื ดังนี้ มีอธิบายอย่างไร?

ตอบ     อธิบายว่า ภาระ หมายถึงเบญจขันธ์ การปลงภาระ หมายถึง การถอนอุปาทานการไม่ถือเอาภาระอื่น หมายถึงการไม่ถือ เบญจขันธ์อื่นด้วยอุปาทาน ฯ

๗.                                     ในพระบาลีว่า"จิตฺเต สงฺกิลิฏฺเฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา เมื่อใจเศร้าหมอง ต้องประสบทุคติ" ทุคติ คืออะไร? มีอะไรบ้าง?

ตอบ     คือ ภูมิเป็นที่ไปข้างชั่ว ฯ

มี อบาย ทุคติ วินิบาต(ตามนัยอรรถกถานรก มี๔ คือ นรก สัตว์เดรัจฉาน เปรต อสุรกาย) ฯ


๘.                                     คนวิตกจริตมีนิสัยอย่างไร?คนปะเภทนี้ควรเจริญกัมมัฏฐาน บทใด ?

ตอบ     ชอบคิดมาก ฟุ้งซ่าน ฯ ควรเจริญอานาปานัสสติกัมมัฏฐาน ฯ

๙.                                       วิปัลลาสคืออะไร?วัตถุที่วิปัลลาส มีอะไรบ้าง?

ตอบ     คือ กิริยาที่ถือเอาโดยอาการอันผิดจากความจริง ฯ มี๔ อย่าง คือ
๑.            วิปัลลาสในของที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง

๒. วิปัลลาสในของที่เป็นทุกข์ว่าเป็นสุข ๓. วิปัลลาสในของที่ไม่ใช่ตนว่าเป็นตน ๔. วิปัลลาสในของที่ไม่งามว่างาม ฯ

๑๐.      ผู้เจริญมหาสติปัฏฐาน ต้องประกอบด้วยธรรมใดบ้าง จึงจะก าจัดอภิชฌาและโทมนัสได้?
ตอบ     ต้องประกอบด้วยธรรม๓ คือ

๑.           อาตาปี มีความเพียรเผากิเลสให้เร่าร้อน ๒. สัมปชาโน รู้ทั่วพร้อม ๓. สติมา มีสติ ฯ










ให้เวลา๓ ชั่วโมง